เอ่ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง เปล่งเสียงพูด, เริ่มพูด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําออกเสียงใช้ในความเพื่อให้ทาย เช่น นกอะไรเอ่ย. | เอ่ย ๒ ก. เปล่งเสียงพูด, เริ่มพูด. ว. คําออกเสียงใช้ในความเพื่อให้ทาย เช่น นกอะไรเอ่ย. |
เอ๊ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการว่าพูดผิดไปเป็นต้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําลงท้ายชื่อหรือถ้อยคําเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู, เอ๋ย ก็ว่า. | เอ๊ย อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการว่าพูดผิดไปเป็นต้น. ว. คําลงท้ายชื่อหรือถ้อยคําเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู, เอ๋ย ก็ว่า. |
เอ๋ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําลงท้ายชื่อหรือถ้อยคําเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู, เอ๊ย ก็ว่า; คําที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคํากลอนหรือบทดอกสร้อย เช่น กาเอ๋ยกาดํา รถเอ๋ยรถทรง. | เอ๋ย ว. คําลงท้ายชื่อหรือถ้อยคําเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู, เอ๊ย ก็ว่า; คําที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคํากลอนหรือบทดอกสร้อย เช่น กาเอ๋ยกาดํา รถเอ๋ยรถทรง. |
เอร็ดอร่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | [อะเหฺร็ดอะหฺร่อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อร่อยเหลือเกิน, อร่อยจนติดใจ. | เอร็ดอร่อย [อะเหฺร็ดอะหฺร่อย] ว. อร่อยเหลือเกิน, อร่อยจนติดใจ. |
เอราวัณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน | เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เอราวณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน และมาจากภาษาสันสกฤต ไอราวณ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน. | เอราวัณ น. ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. (ป. เอราวณ; ส. ไอราวณ). |
เอลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [ลา]ดู กระวาน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ (๑). | เอลา [ลา] ดู กระวาน ๑ (๑). |
เอลาฬุก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | [ลาลุก] เป็นคำนาม หมายถึง ฟักทอง, ฟักเหลือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เอลาฬุก [ลาลุก] น. ฟักทอง, ฟักเหลือง. (ป.). |
เอว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนกลางของร่างกายระหว่างชายโครงกับกระดูกตะโพกทั้ง ๒ ข้าง, กะเอว บั้นเอว หรือ สะเอว ก็ว่า; โดยปริยายหมายถึงส่วนกลางของสิ่งอื่น ๆ ตรงที่คอดเข้าไป เช่น เอวว่าวจุฬา เอวพาน. | เอว น. ส่วนกลางของร่างกายระหว่างชายโครงกับกระดูกตะโพกทั้ง ๒ ข้าง, กะเอว บั้นเอว หรือ สะเอว ก็ว่า; โดยปริยายหมายถึงส่วนกลางของสิ่งอื่น ๆ ตรงที่คอดเข้าไป เช่น เอวว่าวจุฬา เอวพาน. |
เอวบาง, เอวบางร่างน้อย, เอวเล็กเอวบาง เอวบาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-งอ-งู เอวบางร่างน้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เอวเล็กเอวบาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผู้ที่มีรูปร่างอ้อนแอ้นสะโอดสะอง. | เอวบาง, เอวบางร่างน้อย, เอวเล็กเอวบาง น. เรียกผู้ที่มีรูปร่างอ้อนแอ้นสะโอดสะอง. |
เอ๊ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-วอ-แหวน | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเพื่อเยาะให้เก้อ, เฮ้ว ก็ว่า. | เอ๊ว อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อเยาะให้เก้อ, เฮ้ว ก็ว่า. |
เอวัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง จบ, หมดสิ้น. | เอวัง (ปาก) ก. จบ, หมดสิ้น. |
เอฬกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [เอละกะ] เป็นคำนาม หมายถึง แกะ, แพะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เอฑก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ทอ-มน-โท-กอ-ไก่. | เอฬกะ [เอละกะ] น. แกะ, แพะ. (ป.; ส. เอฑก). |
เอฬา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ลาลา เขียนว่า ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา. | เอฬา น. นํ้าลาย. (ป.; ส. ลาลา). |
เออ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเพื่อบอกรับหรืออนุญาต, มักเป็นคําที่ผู้ใหญ่ใช้กับผู้น้อย หรือระหว่างเพื่อนที่สนิทสนมกัน, คําที่เปล่งออกมาแสดงว่านึกเรื่องที่จะถามหรือจะพูดขึ้นได้. | เออ อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อบอกรับหรืออนุญาต, มักเป็นคําที่ผู้ใหญ่ใช้กับผู้น้อย หรือระหว่างเพื่อนที่สนิทสนมกัน, คําที่เปล่งออกมาแสดงว่านึกเรื่องที่จะถามหรือจะพูดขึ้นได้. |
เออ ๆ คะ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง ไม้-ยะ-มก คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำกริยา หมายถึง รับฟังโดยไม่ขัดคอ, รับฟังไปตามเรื่องตามราวโดยไม่แสดงความคิดเห็น, เช่น ฉันก็เออ ๆ คะ ๆ ไปอย่างนั้นแหละ. | เออ ๆ คะ ๆ ก. รับฟังโดยไม่ขัดคอ, รับฟังไปตามเรื่องตามราวโดยไม่แสดงความคิดเห็น, เช่น ฉันก็เออ ๆ คะ ๆ ไปอย่างนั้นแหละ. |
เออน่ะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเพื่อเน้นแสดงคํารับอย่างรู้สึกรําคาญ. | เออน่ะ อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อเน้นแสดงคํารับอย่างรู้สึกรําคาญ. |
เออแน่ะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงว่า ไม่น่าจะเป็นอย่างนั้น. | เออแน่ะ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงว่า ไม่น่าจะเป็นอย่างนั้น. |
เอออวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง พลอยเห็นตามไปด้วย, เห็นดีด้วย. | เอออวย ก. พลอยเห็นตามไปด้วย, เห็นดีด้วย. |
เออออ, เออออห่อหมก เออออ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง เออออห่อหมก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-มอ-ม้า-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง เห็นด้วย, พลอยเห็นตามไปด้วย, เช่น เขาก็เออออห่อหมกด้วย. | เออออ, เออออห่อหมก ก. เห็นด้วย, พลอยเห็นตามไปด้วย, เช่น เขาก็เออออห่อหมกด้วย. |
เอ่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เริ่มไหลขึ้น, มีระดับสูงขึ้น, (ใช้แก่นํ้าในแม่นํ้าลําคลองเป็นต้น). | เอ่อ ว. เริ่มไหลขึ้น, มีระดับสูงขึ้น, (ใช้แก่นํ้าในแม่นํ้าลําคลองเป็นต้น). |
เออร์เบียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖๘ สัญลักษณ์ Er เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งเป็นเงาวาว เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๑๔๙๗°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ erbium เขียนว่า อี-อา-บี-ไอ-ยู-เอ็ม. | เออร์เบียม น. ธาตุลําดับที่ ๖๘ สัญลักษณ์ Er เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งเป็นเงาวาว เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๑๔๙๗°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. erbium). |
เอ้อระเหย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปล่อยอารมณ์ตามสบาย. เป็นคำนาม หมายถึง คําขึ้นต้นเพลงพวงมาลัย. | เอ้อระเหย ว. ปล่อยอารมณ์ตามสบาย. น. คําขึ้นต้นเพลงพวงมาลัย. |
เอ้อเร้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากจนล้น (ใช้แก่กริยากิน), เอ้อเร้อเอ้อเต่อ ก็ว่า; มากเกินไปอย่างไม่เป็นระเบียบ. | เอ้อเร้อ ว. มากจนล้น (ใช้แก่กริยากิน), เอ้อเร้อเอ้อเต่อ ก็ว่า; มากเกินไปอย่างไม่เป็นระเบียบ. |
เอ้อเร้อเอ้อเต่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปล่อยอารมณ์ตามสบาย, ยืดยาด เช่น มัวแต่เอ้อเร้อเอ้อเต่ออยู่นั่นแหละ จะทําอะไรก็ไม่ทําเสียที; มากจนล้น (ใช้แก่กริยากิน), เอ้อเร้อ ก็ว่า. | เอ้อเร้อเอ้อเต่อ ว. ปล่อยอารมณ์ตามสบาย, ยืดยาด เช่น มัวแต่เอ้อเร้อเอ้อเต่ออยู่นั่นแหละ จะทําอะไรก็ไม่ทําเสียที; มากจนล้น (ใช้แก่กริยากิน), เอ้อเร้อ ก็ว่า. |
เอ้อเฮอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงหรือประหลาดใจเป็นต้น. | เอ้อเฮอ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความพิศวงหรือประหลาดใจเป็นต้น. |
เอ้แอ่น, เอ้ ๆ แอ่น ๆ เอ้แอ่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู เอ้ ๆ แอ่น ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เสียเวลา, ทําชักช้า, ทําจริตกิริยาโอ้เอ้; อาการที่ยืนโอนไปโอนมา เอนไปเอนมา หรือ เดินถอยหน้าถอยหลัง. | เอ้แอ่น, เอ้ ๆ แอ่น ๆ ก. ทําให้เสียเวลา, ทําชักช้า, ทําจริตกิริยาโอ้เอ้; อาการที่ยืนโอนไปโอนมา เอนไปเอนมา หรือ เดินถอยหน้าถอยหลัง. |
เอ๊ะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความฉงน ไม่เข้าใจ หรือไม่พอใจ เป็นต้น. | เอ๊ะ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความฉงน ไม่เข้าใจ หรือไม่พอใจ เป็นต้น. |
เอะใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง เฉลียวใจ, ฉุกคิด, สะดุดใจ. | เอะใจ ก. เฉลียวใจ, ฉุกคิด, สะดุดใจ. |
เอะอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง อึกทึก, ทําเสียงดังโวยวาย; ทันทีทันใด, ปุบปับ, ไม่ทันไตร่ตรอง, ไม่บอกกล่าวเล่าแจ้ง, เช่น เอะอะก็ไป เอะอะก็ด่า, อึกอัก ก็ว่า. | เอะอะ ก. อึกทึก, ทําเสียงดังโวยวาย; ทันทีทันใด, ปุบปับ, ไม่ทันไตร่ตรอง, ไม่บอกกล่าวเล่าแจ้ง, เช่น เอะอะก็ไป เอะอะก็ด่า, อึกอัก ก็ว่า. |
เอะอะมะเทิ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งเสียงดัง, เอ็ดตะโรโดยไม่เกรงใจผู้อื่น. | เอะอะมะเทิ่ง (ปาก) ก. ส่งเสียงดัง, เอ็ดตะโรโดยไม่เกรงใจผู้อื่น. |
เอา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ยึด เช่น เอาไว้อยู่; รับไว้ เช่น เขาให้ก็เอา; พา, นํา, เช่น เอาตัวมา; ต้องการ เช่น ทําเอาชื่อ ทำงานเอาหน้า; ถือเป็นสําคัญ เช่น เจรจาเอาถ้อยคํา เอาพี่เอาน้อง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คําใช้แทนกริยาอื่น ๆ บางคําได้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เมื่อใช้ลงท้ายกริยา เป็นการเน้นกริยาแสดงถึงการตั้งหน้าตั้งตาทําต่อเนื่องกัน เช่น กินเอา ๆ. | เอา ๑ ก. ยึด เช่น เอาไว้อยู่; รับไว้ เช่น เขาให้ก็เอา; พา, นํา, เช่น เอาตัวมา; ต้องการ เช่น ทําเอาชื่อ ทำงานเอาหน้า; ถือเป็นสําคัญ เช่น เจรจาเอาถ้อยคํา เอาพี่เอาน้อง; (ปาก) คําใช้แทนกริยาอื่น ๆ บางคําได้. ว. เมื่อใช้ลงท้ายกริยา เป็นการเน้นกริยาแสดงถึงการตั้งหน้าตั้งตาทําต่อเนื่องกัน เช่น กินเอา ๆ. |
เอาการ ๑, เอาการเอางาน เอาการ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เอาการเอางาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตั้งใจทําการงานด้วยความขยันขันแข็ง. | เอาการ ๑, เอาการเอางาน ว. ตั้งใจทําการงานด้วยความขยันขันแข็ง. |
เอาการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่งกว่าธรรมดา เช่น สูงเอาการ. | เอาการ ๒ ว. ยิ่งกว่าธรรมดา เช่น สูงเอาการ. |
เอากุ้งฝอยไปตกปลากะพง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ลงทุนน้อยหวังผลกําไรมาก. | เอากุ้งฝอยไปตกปลากะพง (สำ) ก. ลงทุนน้อยหวังผลกําไรมาก. |
เอาข้างเข้าถู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ใช้เหตุผล, ดื้อดันจะเอาชนะให้ได้, เอาสีข้างเข้าถู ก็ว่า. | เอาข้างเข้าถู (สำ) ว. ไม่ใช้เหตุผล, ดื้อดันจะเอาชนะให้ได้, เอาสีข้างเข้าถู ก็ว่า. |
เอางาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความเคารพเจ้านายชั้นสูงโดยแบมือเอาสันมือลงแล้วกระดกมือขึ้นน้อย ๆ ก่อนรับของ (ใช้แก่การรับของจากเจ้านายชั้นสูงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม). | เอางาน ก. แสดงความเคารพเจ้านายชั้นสูงโดยแบมือเอาสันมือลงแล้วกระดกมือขึ้นน้อย ๆ ก่อนรับของ (ใช้แก่การรับของจากเจ้านายชั้นสูงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม). |
เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ ยืมจมูกคนอื่นหายใจ ก็ว่า. | เอาจมูกผู้อื่นมาหายใจ (สำ) ก. อาศัยผู้อื่นมักไม่สะดวก, พึ่งจมูกคนอื่นหายใจ หรือ ยืมจมูกคนอื่นหายใจ ก็ว่า. |
เอาจริง ๑, เอาจริงเอาจัง เอาจริง ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เอาจริงเอาจัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตั้งใจทําอย่างจริงจัง, ถือเอาเป็นแน่นอน. | เอาจริง ๑, เอาจริงเอาจัง ว. ตั้งใจทําอย่างจริงจัง, ถือเอาเป็นแน่นอน. |
เอาจริง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอาแน่, ไม่ล้อเล่น. | เอาจริง ๒ ว. เอาแน่, ไม่ล้อเล่น. |
เอาใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง คอยปฏิบัติให้ถูกใจ, ตามใจ. | เอาใจ ก. คอยปฏิบัติให้ถูกใจ, ตามใจ. |
เอาใจเขามาใส่ใจเรา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ให้รู้จักเห็นใจผู้อื่น. | เอาใจเขามาใส่ใจเรา (สำ) ก. ให้รู้จักเห็นใจผู้อื่น. |
เอาใจช่วย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง อยากให้สมปรารถนา, ช่วยเป็นกําลังใจให้. | เอาใจช่วย ก. อยากให้สมปรารถนา, ช่วยเป็นกําลังใจให้. |
เอาใจดูหูใส่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ใฝ่ใจ, ตั้งใจ. | เอาใจดูหูใส่ (ปาก) ก. ใฝ่ใจ, ตั้งใจ. |
เอาใจใส่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง ใฝ่ใจ, ตั้งใจ. | เอาใจใส่ ก. ใฝ่ใจ, ตั้งใจ. |
เอาใจออกหาก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ห่างเหินไปไม่ร่วมมือร่วมใจเหมือนเดิม, ตีตนจากไป, ปลีกตัวออกไป, ตีตัวออกหาก ก็ว่า. | เอาใจออกหาก ก. ห่างเหินไปไม่ร่วมมือร่วมใจเหมือนเดิม, ตีตนจากไป, ปลีกตัวออกไป, ตีตัวออกหาก ก็ว่า. |
เอาชนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้อีกฝ่ายหนึ่งแพ้. | เอาชนะ ก. ทําให้อีกฝ่ายหนึ่งแพ้. |
เอาชั้นเอาเชิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง รอดูชั้นเชิง. | เอาชั้นเอาเชิง ก. รอดูชั้นเชิง. |
เอาชัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มุ่งให้ได้ชัยชนะฝ่ายตรงข้าม, มุ่งความเจริญ. | เอาชัย ว. มุ่งให้ได้ชัยชนะฝ่ายตรงข้าม, มุ่งความเจริญ. |
เอาชีวิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่า, ทําให้ถึงตาย. | เอาชีวิต ก. ฆ่า, ทําให้ถึงตาย. |
เอาชื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มุ่งให้ได้ชื่อเสียง เช่น ทำงานเอาชื่อ. | เอาชื่อ ว. มุ่งให้ได้ชื่อเสียง เช่น ทำงานเอาชื่อ. |
เอาเชิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง สงวนท่าทีหรือชั้นเชิงของตนไว้เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเกรงขาม. | เอาเชิง ก. สงวนท่าทีหรือชั้นเชิงของตนไว้เพื่อให้อีกฝ่ายหนึ่งเกรงขาม. |
เอาใช้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง ขอให้ทดแทนสิ่งที่เสียไป. | เอาใช้ ก. ขอให้ทดแทนสิ่งที่เสียไป. |
เอาดีเอาเด่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พยายามทําตัวให้คนเห็นว่าตนดีเด่นกว่าเพื่อน. | เอาดีเอาเด่น ก. พยายามทําตัวให้คนเห็นว่าตนดีเด่นกว่าเพื่อน. |
เอาตัวรอด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง รักษาตัวให้พ้นจากความยากลำบาก, หลบหลีกปัญหายุ่งยากไปได้. | เอาตัวรอด ก. รักษาตัวให้พ้นจากความยากลำบาก, หลบหลีกปัญหายุ่งยากไปได้. |
เอาตาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทํารุนแรงมาก. | เอาตาย ว. ทํารุนแรงมาก. |
เอาแต่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มุ่งเฉพาะอย่างเดียวเท่านั้น เช่น เอาแต่เรียน เอาแต่งาน เอาแต่กิน เอาแต่เล่น. | เอาแต่ ว. มุ่งเฉพาะอย่างเดียวเท่านั้น เช่น เอาแต่เรียน เอาแต่งาน เอาแต่กิน เอาแต่เล่น. |
เอาแต่ใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถือใจตนเป็นใหญ่. | เอาแต่ใจ ว. ถือใจตนเป็นใหญ่. |
เอาถ่าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้การได้, เอาการเอางาน, รักดี, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่เอาถ่าน. | เอาถ่าน ว. ใช้การได้, เอาการเอางาน, รักดี, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่เอาถ่าน. |
เอาเถอะ, เอาเถอะ ๆ, เอาเถิด ๑, เอาเถิด ๆ เอาเถอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เอาเถอะ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ ไม้-ยะ-มก เอาเถิด ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เอาเถิด ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำนาม หมายถึง คำพูดแสดงความยินยอมหรือแสดงความประนีประนอม. | เอาเถอะ, เอาเถอะ ๆ, เอาเถิด ๑, เอาเถิด ๆ น. คำพูดแสดงความยินยอมหรือแสดงความประนีประนอม. |
เอาเถิด ๒, เอาเถิดเจ้าล่อ ๑ เอาเถิด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เอาเถิดเจ้าล่อ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นของเด็กชนิดหนึ่งไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น โดยจะต้องมีคนหนึ่งอยู่โยง ณ หลักที่กำหนดไว้ มีหน้าที่ไล่จับผู้อื่นให้ได้ ถ้าจับใครไม่ได้เลยก็ต้องอยู่โยงต่อ ถ้าจับผู้ใดได้ผู้นั้นต้องอยู่โยงแทน มีบทร้องประกอบว่า เอาเถิดเจ้าล่อ ข้าวเหนียวสองห่อ ไม่พอกันกิน. | เอาเถิด ๒, เอาเถิดเจ้าล่อ ๑ น. ชื่อการเล่นของเด็กชนิดหนึ่งไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น โดยจะต้องมีคนหนึ่งอยู่โยง ณ หลักที่กำหนดไว้ มีหน้าที่ไล่จับผู้อื่นให้ได้ ถ้าจับใครไม่ได้เลยก็ต้องอยู่โยงต่อ ถ้าจับผู้ใดได้ผู้นั้นต้องอยู่โยงแทน มีบทร้องประกอบว่า เอาเถิดเจ้าล่อ ข้าวเหนียวสองห่อ ไม่พอกันกิน. |
เอาเถิดเจ้าล่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ตามจับหรือตามหาผู้ที่หลบหรือเลี่ยงกันไปมา เช่น ตำรวจเอาเถิดเจ้าล่อกับผู้ร้าย. | เอาเถิดเจ้าล่อ ๒ ก. อาการที่ตามจับหรือตามหาผู้ที่หลบหรือเลี่ยงกันไปมา เช่น ตำรวจเอาเถิดเจ้าล่อกับผู้ร้าย. |
เอาทองไปรู่กระเบื้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลหรือคนที่มีฐานะตํ่ากว่า เป็นการไม่สมควร, เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ ก็ว่า. | เอาทองไปรู่กระเบื้อง (สำ) ก. โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลหรือคนที่มีฐานะตํ่ากว่า เป็นการไม่สมควร, เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ ก็ว่า. |
เอาน้ำเย็นเข้าลูบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้คําพูดอ่อนหวานหว่านล้อม. | เอาน้ำเย็นเข้าลูบ (สำ) ก. ใช้คําพูดอ่อนหวานหว่านล้อม. |
เอาน้ำลูบท้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง อดทนในยามยากโดยกินน้ำแทนข้าว. | เอาน้ำลูบท้อง (สำ) ก. อดทนในยามยากโดยกินน้ำแทนข้าว. |
เอาเนื้อหนูไปปะเนื้อช้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาทรัพย์หรือสิ่งของจากคนที่มีน้อยไปให้แก่ผู้ที่มีมากกว่า. | เอาเนื้อหนูไปปะเนื้อช้าง (สำ) ก. เอาทรัพย์หรือสิ่งของจากคนที่มีน้อยไปให้แก่ผู้ที่มีมากกว่า. |
เอาบุญเอาคุณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวังให้เขาตอบแทนบุญคุณ. | เอาบุญเอาคุณ ว. หวังให้เขาตอบแทนบุญคุณ. |
เอาปูนหมายหัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกอาฆาตไว้, คาดโทษไว้, เชื่อแน่ว่าจะเป็นไปตามที่คาดหมายไว้, ประมาทหน้าว่าไม่มีทางจะเอาดีได้. | เอาปูนหมายหัว (สำ) ก. ผูกอาฆาตไว้, คาดโทษไว้, เชื่อแน่ว่าจะเป็นไปตามที่คาดหมายไว้, ประมาทหน้าว่าไม่มีทางจะเอาดีได้. |
เอาเป็นธุระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถือเป็นเรื่องที่ตนควรทําให้, เป็นธุระ ก็ว่า. | เอาเป็นธุระ ว. ถือเป็นเรื่องที่ตนควรทําให้, เป็นธุระ ก็ว่า. |
เอาเป็นว่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลงว่า, สรุปว่า. | เอาเป็นว่า ก. ตกลงว่า, สรุปว่า. |
เอาเป็นเอาตาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตั้งใจทําอย่างจริงจังโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อยหรือความยากลําบาก เช่น ทำงานอย่างเอาเป็นเอาตาย; เอาจริงเอาจังอย่างรุนแรง เช่น เรื่องเล็ก ๆ แค่นี้ เถียงกันเอาเป็นเอาตายไปได้. | เอาเป็นเอาตาย ว. ตั้งใจทําอย่างจริงจังโดยไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อยหรือความยากลําบาก เช่น ทำงานอย่างเอาเป็นเอาตาย; เอาจริงเอาจังอย่างรุนแรง เช่น เรื่องเล็ก ๆ แค่นี้ เถียงกันเอาเป็นเอาตายไปได้. |
เอาเปรียบ, เอารัดเอาเปรียบ เอาเปรียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เอารัดเอาเปรียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้มาก, พยายามให้ได้ประโยชน์มากกว่า. | เอาเปรียบ, เอารัดเอาเปรียบ ว. รู้มาก, พยายามให้ได้ประโยชน์มากกว่า. |
เอาผิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือว่าเป็นความผิด. | เอาผิด ก. ถือว่าเป็นความผิด. |
เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลหรือคนที่มีฐานะต่ำกว่า เป็นการไม่สมควร, บางทีใช้เข้าคู่กับ เอาเนื้อไปแลกกับหนัง ว่า เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ เอาเนื้อไปแลกกับหนัง, เอาทองไปรู่กระเบื้อง ก็ว่า. | เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ (สำ) ก. โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลหรือคนที่มีฐานะต่ำกว่า เป็นการไม่สมควร, บางทีใช้เข้าคู่กับ เอาเนื้อไปแลกกับหนัง ว่า เอาพิมเสนไปแลกกับเกลือ เอาเนื้อไปแลกกับหนัง, เอาทองไปรู่กระเบื้อง ก็ว่า. |
เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความรู้หรืออวดรู้กับผู้ที่รู้เรื่องดีกว่า. | เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน (สำ) ก. แสดงความรู้หรืออวดรู้กับผู้ที่รู้เรื่องดีกว่า. |
เอามือซุกหีบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หาเรื่องเดือดร้อนหรือความลําบากใส่ตัวโดยใช่ที่. | เอามือซุกหีบ (สำ) ก. หาเรื่องเดือดร้อนหรือความลําบากใส่ตัวโดยใช่ที่. |
เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง คัดค้านผู้ใหญ่ ผู้มีฐานะสูงกว่า หรือผู้มีอำนาจมากกว่าย่อมไม่สําเร็จ และอาจได้รับผลร้ายแก่ตัวอีกด้วย. | เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง (สำ) ก. คัดค้านผู้ใหญ่ ผู้มีฐานะสูงกว่า หรือผู้มีอำนาจมากกว่าย่อมไม่สําเร็จ และอาจได้รับผลร้ายแก่ตัวอีกด้วย. |
เอาไม้สั้นไปรันขี้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลมีแต่ทางเสีย. | เอาไม้สั้นไปรันขี้ (สำ) ก. โต้ตอบหรือทะเลาะกับคนพาลมีแต่ทางเสีย. |
เอาไม่อยู่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง ปกครองไม่ได้, ควบคุมไม่ได้, เช่น เด็กคนนี้ซนมากจนพ่อแม่เอาไม่อยู่, ควบคุมให้อยู่ในอำนาจไม่ได้ เช่น ม้าตัวนี้พยศมากจนเจ้าของเอาไม่อยู่, เหลือความสามารถที่จะเยียวยาได้ เช่น โรคของเขาอาการหนักมากแพทย์คงจะเอาไม่อยู่. | เอาไม่อยู่ ก. ปกครองไม่ได้, ควบคุมไม่ได้, เช่น เด็กคนนี้ซนมากจนพ่อแม่เอาไม่อยู่, ควบคุมให้อยู่ในอำนาจไม่ได้ เช่น ม้าตัวนี้พยศมากจนเจ้าของเอาไม่อยู่, เหลือความสามารถที่จะเยียวยาได้ เช่น โรคของเขาอาการหนักมากแพทย์คงจะเอาไม่อยู่. |
เอาเยี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำตามเฉพาะที่เห็นว่าดีหรือเป็นประโยชน์. | เอาเยี่ยง ก. ทำตามเฉพาะที่เห็นว่าดีหรือเป็นประโยชน์. |
เอาเรื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือเป็นเรื่องเป็นราว เช่น เจ้าของเขาจะเอาเรื่อง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่งกว่าธรรมดา, มาก, เช่น เผ็ดเอาเรื่อง; เอาจริง เอาจริงเอาจัง เช่น เขาเป็นคนเอาเรื่อง. | เอาเรื่อง ก. ถือเป็นเรื่องเป็นราว เช่น เจ้าของเขาจะเอาเรื่อง. ว. ยิ่งกว่าธรรมดา, มาก, เช่น เผ็ดเอาเรื่อง; เอาจริง เอาจริงเอาจัง เช่น เขาเป็นคนเอาเรื่อง. |
เอาแรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ช่วยผู้อื่นทำงานเพื่อต่อไปเขาจะได้มาช่วยตนทำงานในลักษณะเดียวกันบ้าง เช่น เกี่ยวข้าวเอาแรงกัน. | เอาแรง ๑ ก. ช่วยผู้อื่นทำงานเพื่อต่อไปเขาจะได้มาช่วยตนทำงานในลักษณะเดียวกันบ้าง เช่น เกี่ยวข้าวเอาแรงกัน. |
เอาแรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง พักเหนื่อย. | เอาแรง ๒ ก. พักเหนื่อย. |
เอาฤกษ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ประเดิม เช่น สอนเอาฤกษ์. | เอาฤกษ์ (ปาก) ก. ประเดิม เช่น สอนเอาฤกษ์. |
เอาฤกษ์เอาชัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่มุ่งให้เกิดความสุขความเจริญหรือได้ชัยชนะฝ่ายตรงข้าม เช่น โห่เอาฤกษ์เอาชัย. | เอาฤกษ์เอาชัย ว. ที่มุ่งให้เกิดความสุขความเจริญหรือได้ชัยชนะฝ่ายตรงข้าม เช่น โห่เอาฤกษ์เอาชัย. |
เอาละ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลง; พอแล้ว; พร้อมแล้ว. | เอาละ ก. ตกลง; พอแล้ว; พร้อมแล้ว. |
เอาลูกเขามาเลี้ยงเอาเมี่ยงเขามาอม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เอาลูกของคนอื่นมาเลี้ยงเป็นลูก เป็นภาระรับผิดชอบที่หวังผลตอบแทนแน่นอนไม่ได้. | เอาลูกเขามาเลี้ยงเอาเมี่ยงเขามาอม (สำ) ก. เอาลูกของคนอื่นมาเลี้ยงเป็นลูก เป็นภาระรับผิดชอบที่หวังผลตอบแทนแน่นอนไม่ได้. |
เอาเลย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ยินยอม ท้าทาย หรือยุให้ทำ. | เอาเลย ก. ยินยอม ท้าทาย หรือยุให้ทำ. |
เอาเลือดกับปู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เคี่ยวเข็ญหรือบีบบังคับเอากับผู้ที่ไม่มีจะให้, รีดเลือดกับปู หรือ หาเลือดกับปู ก็ว่า. | เอาเลือดกับปู (สำ) ก. เคี่ยวเข็ญหรือบีบบังคับเอากับผู้ที่ไม่มีจะให้, รีดเลือดกับปู หรือ หาเลือดกับปู ก็ว่า. |
เอาสีข้างเข้าถู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ใช้เหตุผล, ดื้อดันจะเอาชนะให้ได้, เอาข้างเข้าถู ก็ว่า. | เอาสีข้างเข้าถู (สำ) ว. ไม่ใช้เหตุผล, ดื้อดันจะเอาชนะให้ได้, เอาข้างเข้าถู ก็ว่า. |
เอาหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง อยากให้คนยกย่องสรรเสริญ เช่น ทำบุญเอาหน้าหรืออยากได้บุญคุณ เช่น เขามาเอาหน้ากับฉันว่าเป็นคนเสนอชื่อฉันให้ได้รับรางวัล; เรียกการทํางานเฉพาะงานที่ผู้ใหญ่รู้เห็นเพื่อหวังประโยชน์ว่า ทํางานเอาหน้า. | เอาหน้า ก. อยากให้คนยกย่องสรรเสริญ เช่น ทำบุญเอาหน้าหรืออยากได้บุญคุณ เช่น เขามาเอาหน้ากับฉันว่าเป็นคนเสนอชื่อฉันให้ได้รับรางวัล; เรียกการทํางานเฉพาะงานที่ผู้ใหญ่รู้เห็นเพื่อหวังประโยชน์ว่า ทํางานเอาหน้า. |
เอาหัวเดินต่างตีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำในสิ่งที่ทำได้ยากยิ่งจนไม่น่าเชื่อว่าจะทำได้ทำนองเดียวกับที่จะเอาหัวเดินต่างเท้า. | เอาหัวเดินต่างตีน (สำ) ก. ทำในสิ่งที่ทำได้ยากยิ่งจนไม่น่าเชื่อว่าจะทำได้ทำนองเดียวกับที่จะเอาหัวเดินต่างเท้า. |
เอาหัวเป็นประกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง รับรองด้วยความมั่นอกมั่นใจ. | เอาหัวเป็นประกัน (สำ) ก. รับรองด้วยความมั่นอกมั่นใจ. |
เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง แสร้งทําเป็นไม่รู้ไม่เห็นไม่สนใจ. | เอาหูไปนา เอาตาไปไร่ (สำ) ก. แสร้งทําเป็นไม่รู้ไม่เห็นไม่สนใจ. |
เอาใหญ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง กําเริบ เช่น เดี๋ยวนี้เขาชักจะเอาใหญ่แล้ว. | เอาใหญ่ ก. กําเริบ เช่น เดี๋ยวนี้เขาชักจะเอาใหญ่แล้ว. |
เอาใหญ่เอาโต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง วางตัวเป็นคนใหญ่คนโตให้ผู้อื่นนอบน้อมหรือแสดงท่าทางว่าเป็นคนมีอำนาจ. | เอาใหญ่เอาโต ก. วางตัวเป็นคนใหญ่คนโตให้ผู้อื่นนอบน้อมหรือแสดงท่าทางว่าเป็นคนมีอำนาจ. |
เอาอกเอาใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง คอยปฏิบัติให้ถูกใจ. | เอาอกเอาใจ ก. คอยปฏิบัติให้ถูกใจ. |
เอาอย่าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เลียนแบบ, ทําตาม. | เอาอย่าง ก. เลียนแบบ, ทําตาม. |
เอาอยู่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอาการ, เอาเรื่อง, เช่น ระยะทางไกลเอาอยู่, ถ้าใช้ในลักษณะปรารภเชิงขอความเห็นหรือแสดงความหนักใจเป็นต้น มักใช้ว่า เอาอยู่นะ เช่น ปัญหานี้ยากเอาอยู่นะ. เป็นคำกริยา หมายถึง ปกครองได้, ควบคุมได้, เช่น เด็กคนนี้เกเรมาก คิดว่าจะเอาอยู่ไหม. | เอาอยู่ ว. เอาการ, เอาเรื่อง, เช่น ระยะทางไกลเอาอยู่, ถ้าใช้ในลักษณะปรารภเชิงขอความเห็นหรือแสดงความหนักใจเป็นต้น มักใช้ว่า เอาอยู่นะ เช่น ปัญหานี้ยากเอาอยู่นะ. ก. ปกครองได้, ควบคุมได้, เช่น เด็กคนนี้เกเรมาก คิดว่าจะเอาอยู่ไหม. |
เอา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกหญิงคนที่ ๙ ว่า ลูกเอา, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๙ ว่า ลูกเจา. (กฎ.). | เอา ๒ (โบ) น. เรียกลูกหญิงคนที่ ๙ ว่า ลูกเอา, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๙ ว่า ลูกเจา. (กฎ.). |
เอาทาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [ทาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูง, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่งใหญ่; ซื่อตรง, มีความจริงใจ; สุภาพ; ถูกต้อง. (แผลงมาจาก อุทาร). | เอาทาร [ทาน] ว. สูง, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่งใหญ่; ซื่อตรง, มีความจริงใจ; สุภาพ; ถูกต้อง. (แผลงมาจาก อุทาร). |
เอาทารย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ทาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความมีใจโอบอ้อม, ความเป็นคนใจบุญ, ความเผื่อแผ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เอาทารฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | เอาทารย์ [ทาน] น. ความมีใจโอบอ้อม, ความเป็นคนใจบุญ, ความเผื่อแผ่. (ส. เอาทารฺย). |
เอารส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ | [รด] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกของตนเอง. (แผลงมาจาก โอรส). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เอารส [รด] น. ลูกของตนเอง. (แผลงมาจาก โอรส). (ส.). |
เอาฬาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [ลาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิ่งใหญ่, เลิศล้น; ประเสริฐ, ดี; แผลงมาจาก อุฬาร, โอฬาร ก็ใช้. | เอาฬาร [ลาน] ว. ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิ่งใหญ่, เลิศล้น; ประเสริฐ, ดี; แผลงมาจาก อุฬาร, โอฬาร ก็ใช้. |
เอาฬาริก, เอาฬารึก เอาฬาริก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เอาฬารึก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่, โต. (แผลงมาจาก โอฬาริก, โอฬารึก). | เอาฬาริก, เอาฬารึก ว. ใหญ่, โต. (แผลงมาจาก โอฬาริก, โอฬารึก). |
เอาฬาริก, เอาฬารึก เอาฬาริก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เอาฬารึก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | ดู เอาฬาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | เอาฬาริก, เอาฬารึก ดู เอาฬาร. |
เอาะลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ดู กระดาดดํา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา ที่ กระดาด, กระดาดขาว กระดาด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก กระดาดขาว เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน . | เอาะลาย ดู กระดาดดํา ที่ กระดาด, กระดาดขาว. |
เอิก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อึง, อื้อฉาว. | เอิก ว. อึง, อื้อฉาว. |
เอิกเกริก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [เอิกกะเหฺริก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อื้ออึง; ครึกครื้น, สนุกสนาน; แพร่หลายรู้กันทั่ว. | เอิกเกริก [เอิกกะเหฺริก] ว. อื้ออึง; ครึกครื้น, สนุกสนาน; แพร่หลายรู้กันทั่ว. |
เอิ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคํา, อื้น หรือ เอื้อน ก็ว่า. | เอิ้น ก. พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคํา, อื้น หรือ เอื้อน ก็ว่า. |
เอิบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง ซึมเข้าไป, ซาบเข้าไป. | เอิบ ก. ซึมเข้าไป, ซาบเข้าไป. |
เอิบอาบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาบไปทั่ว, ซึมซาบ; ซาบซ่าน; อาบเอิบ ก็ว่า. | เอิบอาบ ก. อาบไปทั่ว, ซึมซาบ; ซาบซ่าน; อาบเอิบ ก็ว่า. |
เอียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของสิ่งที่เอนไปข้างหนึ่ง เช่น คอเอียง, อาการของสิ่งที่เสียระดับ ไม่ว่าจะในแนวนอนหรือแนวยืนก็ตาม เช่น เรือเอียง เรือนเอียง. เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนระดับไม่ว่าจะในแนวนอนหรือแนวยืนก็ตาม เช่น เครื่องบินกำลังเอียงปีกเพื่อร่อนลง เขาเอียงคอดู. | เอียง ว. อาการของสิ่งที่เอนไปข้างหนึ่ง เช่น คอเอียง, อาการของสิ่งที่เสียระดับ ไม่ว่าจะในแนวนอนหรือแนวยืนก็ตาม เช่น เรือเอียง เรือนเอียง. ก. เปลี่ยนระดับไม่ว่าจะในแนวนอนหรือแนวยืนก็ตาม เช่น เครื่องบินกำลังเอียงปีกเพื่อร่อนลง เขาเอียงคอดู. |
เอียงอาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสดงท่าขวยเขินโดยก้มหน้าน้อย ๆ. | เอียงอาย ว. แสดงท่าขวยเขินโดยก้มหน้าน้อย ๆ. |
เอียงเอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โน้มเอียง, ไม่เที่ยงตรง, เอนเอียง ก็ว่า. | เอียงเอน ว. โน้มเอียง, ไม่เที่ยงตรง, เอนเอียง ก็ว่า. |
เอี้ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Sturnidae รูปร่างอ้วนป้อม หางสั้น กินแมลงและผลไม้ อยู่รวมกันเป็นฝูง มีหลายชนิด เช่น เอี้ยงสาริกา หรือ สาลิกา (Acridotheres tristis) เอี้ยงหงอน (A. javanicus) เอี้ยงหัวสีทอง (Ampeliceps coronatus) เอี้ยงดําปักษ์ใต้ (Aplonis panayensis). | เอี้ยง น. ชื่อนกในวงศ์ Sturnidae รูปร่างอ้วนป้อม หางสั้น กินแมลงและผลไม้ อยู่รวมกันเป็นฝูง มีหลายชนิด เช่น เอี้ยงสาริกา หรือ สาลิกา (Acridotheres tristis) เอี้ยงหงอน (A. javanicus) เอี้ยงหัวสีทอง (Ampeliceps coronatus) เอี้ยงดําปักษ์ใต้ (Aplonis panayensis). |
เอี้ยงคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง นกขุนทอง. ในวงเล็บ ดู ขุนทอง เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู. | เอี้ยงคำ (ถิ่นพายัพ) น. นกขุนทอง. (ดู ขุนทอง). |
เอียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก. | เอียด ๑ ว. เล็ก. |
เอียด ๒, เอี๊ยด เอียด ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เอี๊ยด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น. | เอียด ๒, เอี๊ยด ว. เสียงดังเช่นนั้น. |
เอียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชวนให้คลื่นไส้ (มักใช้แก่รสหวาน). เป็นคำกริยา หมายถึง เบื่อมาก เช่น ฉันเอียนหน้าเขาเต็มทีแล้ว. | เอียน ๑ ว. ชวนให้คลื่นไส้ (มักใช้แก่รสหวาน). ก. เบื่อมาก เช่น ฉันเอียนหน้าเขาเต็มทีแล้ว. |
เอียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ปลาไหล. ในวงเล็บ ดู ไหล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑. | เอียน ๒ (ถิ่นพายัพ, อีสาน) น. ปลาไหล. (ดู ไหล ๑). |
เอี่ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ปลาไหล. ในวงเล็บ ดู ไหล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑. | เอี่ยน (ถิ่นพายัพ, อีสาน) น. ปลาไหล. (ดู ไหล ๑). |
เอี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่ได้ใช้ เช่น ใหม่เอี่ยม, เรี่ยม เช่น แต่งตัวเอี่ยม หน้าตาเอี่ยม. | เอี่ยม ว. ยังไม่ได้ใช้ เช่น ใหม่เอี่ยม, เรี่ยม เช่น แต่งตัวเอี่ยม หน้าตาเอี่ยม. |
เอี่ยมอ่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหม่ผุดผ่อง เช่น เสื้อผ้าเอี่ยมอ่อง; สะอาดสดใส, ไม่หมองมัว, เช่น หน้าตาเอี่ยมอ่อง. | เอี่ยมอ่อง ว. ใหม่ผุดผ่อง เช่น เสื้อผ้าเอี่ยมอ่อง; สะอาดสดใส, ไม่หมองมัว, เช่น หน้าตาเอี่ยมอ่อง. |
เอี๊ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นผ้าสําหรับคาดหน้าอกเด็กเล็ก ๆ, เต่า ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู เต่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . (รูปภาพ เอี๊ยม). | เอี๊ยม น. แผ่นผ้าสําหรับคาดหน้าอกเด็กเล็ก ๆ, เต่า ก็ว่า. (ดู เต่า ๒). (จ.). (รูปภาพ เอี๊ยม). |
เอี้ยมจุ๊น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-ตรี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือขนาดใหญ่ ต่อด้วยไม้ ท้องเรือเป็นสัน สําหรับขนถ่ายและบรรทุกสินค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | เอี้ยมจุ๊น น. ชื่อเรือขนาดใหญ่ ต่อด้วยไม้ ท้องเรือเป็นสัน สําหรับขนถ่ายและบรรทุกสินค้า. (จ.). |
เอี้ยมเฟี้ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นั่งเก็บมือเก็บเท้าอย่างเรียบร้อย, อาการที่หมอบเฝ้าหรือหมอบคอยรับใช้อย่างเรียบร้อย. | เอี้ยมเฟี้ยม ว. อาการที่นั่งเก็บมือเก็บเท้าอย่างเรียบร้อย, อาการที่หมอบเฝ้าหรือหมอบคอยรับใช้อย่างเรียบร้อย. |
เอี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนึ่ง, แต้ม ๑ ของลูกเต๋า, เรียกลําดับชุดที่ ๑ ของไพ่ตองว่า เอี่ยว เช่น เอี่ยวเกือก เอี่ยวชี เอี่ยวยาว. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง หุ้น, ส่วนร่วม. เป็นคำกริยา หมายถึง มีส่วนร่วม เช่น เรื่องนี้ขอเอี่ยวด้วยคน. | เอี่ยว ว. หนึ่ง, แต้ม ๑ ของลูกเต๋า, เรียกลําดับชุดที่ ๑ ของไพ่ตองว่า เอี่ยว เช่น เอี่ยวเกือก เอี่ยวชี เอี่ยวยาว. (ปาก) น. หุ้น, ส่วนร่วม. ก. มีส่วนร่วม เช่น เรื่องนี้ขอเอี่ยวด้วยคน. |
เอี่ยวลม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง หุ้นลม. | เอี่ยวลม (ปาก) น. หุ้นลม. |
เอี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง บิดไป, หันไป, เช่น เอี้ยวคอ เอี้ยวตัว, เบี่ยง เช่น ถนนสายนี้ไม่ตรง เอี้ยวไปทางขวาเล็กน้อย. | เอี้ยว ก. บิดไป, หันไป, เช่น เอี้ยวคอ เอี้ยวตัว, เบี่ยง เช่น ถนนสายนี้ไม่ตรง เอี้ยวไปทางขวาเล็กน้อย. |
เอื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาใจใส่, มีนํ้าใจ, เช่น เอื้อแก่กัน, เห็นแก่ เช่น ทำกับข้าวเผ็ดไม่เอื้อเด็ก ๆ. | เอื้อ ก. เอาใจใส่, มีนํ้าใจ, เช่น เอื้อแก่กัน, เห็นแก่ เช่น ทำกับข้าวเผ็ดไม่เอื้อเด็ก ๆ. |
เอื้อเฟื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง อุดหนุน, เจือจาน, แสดงนํ้าใจดีต่อผู้อื่น, บางทีใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เอื้อเฟื้อเกื้อกูล เอื้อเฟื้อเกื้อหนุน. | เอื้อเฟื้อ ก. อุดหนุน, เจือจาน, แสดงนํ้าใจดีต่อผู้อื่น, บางทีใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เอื้อเฟื้อเกื้อกูล เอื้อเฟื้อเกื้อหนุน. |
เอื้ออำนวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ส่งเสริมให้, เปิดโอกาสให้. | เอื้ออำนวย ว. ส่งเสริมให้, เปิดโอกาสให้. |
เอื๊อก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังในคออย่างเสียงดื่มน้ำแรง ๆ เช่น กลืนน้ำลายดังเอื๊อก. | เอื๊อก ว. เสียงดังในคออย่างเสียงดื่มน้ำแรง ๆ เช่น กลืนน้ำลายดังเอื๊อก. |
เอื้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกล้วยไม้. ในวงเล็บ ดู กล้วยไม้ เขียนว่า กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ๑. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกหญิงสาวทางภาคพายัพว่า เอื้องเหนือ. | เอื้อง ๑ (ถิ่นพายัพ) น. ต้นกล้วยไม้. (ดู กล้วยไม้ ๑). (ปาก) เรียกหญิงสาวทางภาคพายัพว่า เอื้องเหนือ. |
เอื้องครั่ง, เอื้องน้ำครั่ง เอื้องครั่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เอื้องน้ำครั่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้ชนิด Dendrobium parishii Rchb.f. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกสีเหลือง. | เอื้องครั่ง, เอื้องน้ำครั่ง (ถิ่นพายัพ) น. ชื่อกล้วยไม้ชนิด Dendrobium parishii Rchb.f. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกสีเหลือง. |
เอื้องศรีเที่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู | ดู กระเจี้ยง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู. | เอื้องศรีเที่ยง ดู กระเจี้ยง. |
เอื้องหนวดพราหมณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | ดู หนวดพราหมณ์ เขียนว่า หอ-หีบ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๑ (๒). | เอื้องหนวดพราหมณ์ ดู หนวดพราหมณ์ ๑ (๒). |
เอื้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง หญ้าและใบไม้เป็นต้นที่สัตว์บางจําพวกเช่นวัวควายกินเข้าไปในกระเพาะทีหนึ่งแล้วสํารอกออกมาเคี้ยวอีกให้ละเอียด ในคำว่า บดเอื้อง หรือ เคี้ยวเอื้อง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการที่สัตว์บางจำพวกเช่นวัวควายสํารอกอาหารออกมาเคี้ยวอีกให้ละเอียดว่า บดเอื้อง หรือ เคี้ยวเอื้อง; โดยปริยายหมายความว่า ทําอะไรช้า ๆ. | เอื้อง ๒ น. หญ้าและใบไม้เป็นต้นที่สัตว์บางจําพวกเช่นวัวควายกินเข้าไปในกระเพาะทีหนึ่งแล้วสํารอกออกมาเคี้ยวอีกให้ละเอียด ในคำว่า บดเอื้อง หรือ เคี้ยวเอื้อง. ว. เรียกอาการที่สัตว์บางจำพวกเช่นวัวควายสํารอกอาหารออกมาเคี้ยวอีกให้ละเอียดว่า บดเอื้อง หรือ เคี้ยวเอื้อง; โดยปริยายหมายความว่า ทําอะไรช้า ๆ. |
เอือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชื้น เช่น เกลือเอือด ผ้าเอือด. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ดินที่มีธาตุเกลือปนอยู่และขึ้นเป็นขุยขาวที่หน้าดิน. | เอือด ว. ชื้น เช่น เกลือเอือด ผ้าเอือด. (ถิ่นอีสาน) น. ดินที่มีธาตุเกลือปนอยู่และขึ้นเป็นขุยขาวที่หน้าดิน. |
เอือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พยาธิในท้องชนิดหนึ่ง เช่น ลางคาบมีตืดมีเอือนในท้องนั้น. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑. | เอือน ๑ (โบ) น. พยาธิในท้องชนิดหนึ่ง เช่น ลางคาบมีตืดมีเอือนในท้องนั้น. (ไตรภูมิ). |
เอือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของเนื้อมะพร้าวแก่ที่บาง ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด มีรสออกหวานไม่มัน เรียกว่า มะพร้าวเป็นเอือน หรือ มะพร้าวเอือนกิน. | เอือน ๒ น. ลักษณะของเนื้อมะพร้าวแก่ที่บาง ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด มีรสออกหวานไม่มัน เรียกว่า มะพร้าวเป็นเอือน หรือ มะพร้าวเอือนกิน. |
เอือนกิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกลักษณะมะพร้าวเป็นเอือนว่า มะพร้าวเอือนกิน. | เอือนกิน ว. เรียกลักษณะมะพร้าวเป็นเอือนว่า มะพร้าวเอือนกิน. |
เอื้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคำ, อึ้น หรือ เอิ้น ก็ว่า. | เอื้อน ๑ ก. พูด, เรียก, เรียกร้อง, กล่าวถ้อยคำ, อึ้น หรือ เอิ้น ก็ว่า. |
เอื้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ออกเสียงขับร้องให้เลื่อนไหลกลมกลืนไปตามทำนองตอนที่ไม่มีเนื้อร้อง, ยืดหรือลากเสียงออกไปให้เข้ากับจังหวะของทํานองเพลง. | เอื้อน ๒ ก. ออกเสียงขับร้องให้เลื่อนไหลกลมกลืนไปตามทำนองตอนที่ไม่มีเนื้อร้อง, ยืดหรือลากเสียงออกไปให้เข้ากับจังหวะของทํานองเพลง. |
เอื้อนวาจา, เอื้อนโอฐ ๑ เอื้อนวาจา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา เอื้อนโอฐ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ถอ-ถาน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้ในความหมายเชิงประชดประชัน เช่น กว่าจะเอื้อนโอฐออกมาได้เหมือนกลัวดอกพิกุลจะร่วง. | เอื้อนวาจา, เอื้อนโอฐ ๑ (ปาก) ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้ในความหมายเชิงประชดประชัน เช่น กว่าจะเอื้อนโอฐออกมาได้เหมือนกลัวดอกพิกุลจะร่วง. |
เอื้อนอรรถ, เอื้อนเอ่ย, เอื้อนโอฐ ๒ เอื้อนอรรถ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง เอื้อนเอ่ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เอื้อนโอฐ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ถอ-ถาน | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้แก่กิริยาที่ทำทีอิดเอื้อนไม่ใคร่พูดออกมาง่าย ๆ. | เอื้อนอรรถ, เอื้อนเอ่ย, เอื้อนโอฐ ๒ (กลอน) ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้แก่กิริยาที่ทำทีอิดเอื้อนไม่ใคร่พูดออกมาง่าย ๆ. |
เอือม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบื่อหน่ายในสิ่งที่ซํ้า ๆ ซาก ๆ มากเกินไป. | เอือม ว. เบื่อหน่ายในสิ่งที่ซํ้า ๆ ซาก ๆ มากเกินไป. |
เอื้อม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นมือไปเพื่อหยิบของในที่ไกลมือ; โดยปริยายหมายความว่า ใฝ่สูง. | เอื้อม ก. ยื่นมือไปเพื่อหยิบของในที่ไกลมือ; โดยปริยายหมายความว่า ใฝ่สูง. |
เอื้อมอาจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง บังอาจ, ล่วงเกินไม่รู้จักที่สูงที่ตํ่า, อาจเอื้อม ก็ว่า. | เอื้อมอาจ ก. บังอาจ, ล่วงเกินไม่รู้จักที่สูงที่ตํ่า, อาจเอื้อม ก็ว่า. |
เอื่อย, เอื่อย ๆ เอื่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เอื่อย ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรื่อย ๆ, เฉื่อย ๆ, เช่น ลมพัดเอื่อย นํ้าไหลเอื่อย ๆ, ตามสบายไม่รีบร้อน เช่น เดินเอื่อย ๆ. | เอื่อย, เอื่อย ๆ ว. เรื่อย ๆ, เฉื่อย ๆ, เช่น ลมพัดเอื่อย นํ้าไหลเอื่อย ๆ, ตามสบายไม่รีบร้อน เช่น เดินเอื่อย ๆ. |
เอื้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกสาวคนที่ ๑ ว่า ลูกเอื้อย. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง; เรียกพี่สาวคนโตว่า พี่เอื้อย, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกผู้ที่หมู่คณะยกย่องให้เป็นหัวหน้าว่า พี่เอื้อย. | เอื้อย (โบ) น. เรียกลูกสาวคนที่ ๑ ว่า ลูกเอื้อย. (สามดวง); เรียกพี่สาวคนโตว่า พี่เอื้อย, (ปาก) เรียกผู้ที่หมู่คณะยกย่องให้เป็นหัวหน้าว่า พี่เอื้อย. |
แอ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก, อ่อน. | แอ ว. เล็ก, อ่อน. |
แอ้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แสดงว่าหนักมาก เช่น หนักแอ้ หนักจนหลังแอ้. | แอ้ ว. อาการที่แสดงว่าหนักมาก เช่น หนักแอ้ หนักจนหลังแอ้. |
แอ๋ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-จัด-ตะ-วา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เมาเหล้ามากจนพูดลิ้นไก่สั้นหรือทรงตัวไม่อยู่ เรียกว่า เมาแอ๋. | แอ๋ ว. อาการที่เมาเหล้ามากจนพูดลิ้นไก่สั้นหรือทรงตัวไม่อยู่ เรียกว่า เมาแอ๋. |
แอก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้วางขวางบนคอวัวหรือควายใช้ไถนา คราดนา หรือเทียมเกวียน เป็นต้น; โดยปริยายหมายถึงการถูกกดขี่ ในคำว่า ปลดแอก. | แอก น. ไม้วางขวางบนคอวัวหรือควายใช้ไถนา คราดนา หรือเทียมเกวียน เป็นต้น; โดยปริยายหมายถึงการถูกกดขี่ ในคำว่า ปลดแอก. |
แอกน้อย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่ผูกติดกับคันชักไถ. | แอกน้อย น. ไม้ที่ผูกติดกับคันชักไถ. |
แอกทิเนียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๘๙ สัญลักษณ์ Ac เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายเงิน หลอมละลายที่ ๑๐๕๐°ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ actinium เขียนว่า เอ-ซี-ที-ไอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม. | แอกทิเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๘๙ สัญลักษณ์ Ac เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาวคล้ายเงิน หลอมละลายที่ ๑๐๕๐°ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ. (อ. actinium). |
แอ่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งลาดลึกลงไปพอนํ้าขังได้. | แอ่ง น. ที่ซึ่งลาดลึกลงไปพอนํ้าขังได้. |
แอ้งแม้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-โท-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นอนนิ่งอยู่กับที่เพราะหมดกําลังเป็นต้น ในคำว่า นอนแอ้งแม้ง. | แอ้งแม้ง (ปาก) ว. อาการที่นอนนิ่งอยู่กับที่เพราะหมดกําลังเป็นต้น ในคำว่า นอนแอ้งแม้ง. |
แอด, แอด ๆ, แอ๊ด, แอ๊ด ๆ แอด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก แอด ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก แอ๊ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก แอ๊ด ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเปิดหรือปิดประตูฝืด ๆ. | แอด, แอด ๆ, แอ๊ด, แอ๊ด ๆ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเปิดหรือปิดประตูฝืด ๆ. |
แอ้ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจิ้งหรีดขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Gryllidae ลำตัวยาวไม่เกิน ๒.๕ เซนติเมตร ส่วนใหญ่ปีกคู่หลังยาวกว่าปีกคู่หน้า เวลาพับปีกจะเห็นเป็นชายห้อยไปคล้ายมีหางคู่ โดยทั่วไปสีดำตลอดทั้งตัว เรียกว่า อ้ายแอ้ด ชนิดที่พบเป็นสามัญ ได้แก่ ชนิด Acheta confermata, จิ้งหรีดผี ก็เรียก. | แอ้ด ๑ น. ชื่อจิ้งหรีดขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Gryllidae ลำตัวยาวไม่เกิน ๒.๕ เซนติเมตร ส่วนใหญ่ปีกคู่หลังยาวกว่าปีกคู่หน้า เวลาพับปีกจะเห็นเป็นชายห้อยไปคล้ายมีหางคู่ โดยทั่วไปสีดำตลอดทั้งตัว เรียกว่า อ้ายแอ้ด ชนิดที่พบเป็นสามัญ ได้แก่ ชนิด Acheta confermata, จิ้งหรีดผี ก็เรียก. |
แอ้ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกของบางอย่างที่มีขนาดเล็กกว่าปรกติ เช่น รถถังอ้ายแอ้ด. | แอ้ด ๒ น. เรียกของบางอย่างที่มีขนาดเล็กกว่าปรกติ เช่น รถถังอ้ายแอ้ด. |
แอ้ด ๓, แอ้ด ๆ แอ้ด ความหมายที่ ๓ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ดอ-เด็ก แอ้ด ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการที่หนักเต็มกําลังว่า หนักเต็มแอ้ด; เรียกอาการจุกจนพูดไม่ออกว่า จุกแอ้ด ๆ. | แอ้ด ๓, แอ้ด ๆ ว. เรียกอาการที่หนักเต็มกําลังว่า หนักเต็มแอ้ด; เรียกอาการจุกจนพูดไม่ออกว่า จุกแอ้ด ๆ. |
แอ่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้โค้งหรือนูนจากแนวหรือระดับ เช่น แอ่นอก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของสิ่งที่โค้งหรือนูนจากแนวหรือระดับ เช่น อกแอ่น สะพานแอ่น. | แอ่น ก. ทําให้โค้งหรือนูนจากแนวหรือระดับ เช่น แอ่นอก. ว. ลักษณะของสิ่งที่โค้งหรือนูนจากแนวหรือระดับ เช่น อกแอ่น สะพานแอ่น. |
แอนติเจน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สารที่สามารถกระตุ้นให้เกิดแอนติบอดีขึ้นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ antigen เขียนว่า เอ-เอ็น-ที-ไอ-จี-อี-เอ็น. | แอนติเจน น. สารที่สามารถกระตุ้นให้เกิดแอนติบอดีขึ้นได้. (อ. antigen). |
แอนติบอดี เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง สารที่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ชั้นสูงอื่น ๆ สร้างขึ้น เมื่อได้รับการกระตุ้นโดยสารที่แปลกปลอมซึ่งเรียกว่า แอนติเจน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ antibody เขียนว่า เอ-เอ็น-ที-ไอ-บี-โอ-ดี-วาย. | แอนติบอดี น. สารที่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์ชั้นสูงอื่น ๆ สร้างขึ้น เมื่อได้รับการกระตุ้นโดยสารที่แปลกปลอมซึ่งเรียกว่า แอนติเจน. (อ. antibody). |
แอนติอิเล็กตรอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง โพซิตรอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ antielectron เขียนว่า เอ-เอ็น-ที-ไอ-อี-แอล-อี-ซี-ที-อา-โอ-เอ็น. | แอนติอิเล็กตรอน น. โพซิตรอน. (อ. antielectron). |
แอ่นลม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | ดู อีแอ่น เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-นอ-หนู. | แอ่นลม ดู อีแอ่น. |
แอโนด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นหรือแท่งตัวนําที่โยงต่อกับขั้วบวกของเครื่องกําเนิดไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ anode เขียนว่า เอ-เอ็น-โอ-ดี-อี. | แอโนด น. แผ่นหรือแท่งตัวนําที่โยงต่อกับขั้วบวกของเครื่องกําเนิดไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่. (อ. anode). |
แอบ, แอบ ๆ แอบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ แอบ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําโดยไม่ให้ผู้อื่นรู้เห็นโดยอาการต่าง ๆ เช่น แอบทำ; เข้าไปชิด เช่น รถพยาบาลมาให้รถอื่นแอบเข้าข้างทาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ยืน เดิน หรือวางสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้นไม่ให้เกะกะหรือกีดขวางทาง เช่น เดินแอบข้างทาง วางของแอบ ๆ หน่อย. | แอบ, แอบ ๆ ก. ทําโดยไม่ให้ผู้อื่นรู้เห็นโดยอาการต่าง ๆ เช่น แอบทำ; เข้าไปชิด เช่น รถพยาบาลมาให้รถอื่นแอบเข้าข้างทาง. ว. อาการที่ยืน เดิน หรือวางสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้นไม่ให้เกะกะหรือกีดขวางทาง เช่น เดินแอบข้างทาง วางของแอบ ๆ หน่อย. |
แอบแฝง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่อนเร้น. | แอบแฝง ก. ซ่อนเร้น. |
แอบอ้าง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไปอ้างโดยเจ้าตัวไม่รู้. | แอบอ้าง ก. เอาไปอ้างโดยเจ้าตัวไม่รู้. |
แอบอิง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แนบชิด, อิงแอบ ก็ว่า. | แอบอิง ก. แนบชิด, อิงแอบ ก็ว่า. |
แอม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง กระแอม. | แอม ก. กระแอม. |
แอ้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กิน เช่น แอ้มขนมหรือยัง, ได้สมประสงค์ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ได้แอ้ม. | แอ้ม (ปาก) ก. กิน เช่น แอ้มขนมหรือยัง, ได้สมประสงค์ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ได้แอ้ม. |
แอมแปร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ๑ แอมแปร์ คือ กระแสไฟฟ้าที่มีอัตราการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้วินาทีละประมาณ ๖ x ๑๐๑๘ อิเล็กตรอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ampere เขียนว่า เอ-เอ็ม-พี-อี-อา-อี. | แอมแปร์ น. หน่วยวัดกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ๑ แอมแปร์ คือ กระแสไฟฟ้าที่มีอัตราการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนได้วินาทีละประมาณ ๖ x ๑๐๑๘ อิเล็กตรอน. (อ. ampere). |
แอมมิเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือที่ใช้สําหรับวัดค่าของกระแสไฟฟ้าเป็นแอมแปร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ammeter เขียนว่า เอ-เอ็ม-เอ็ม-อี-ที-อี-อา. | แอมมิเตอร์ น. เครื่องมือที่ใช้สําหรับวัดค่าของกระแสไฟฟ้าเป็นแอมแปร์. (อ. ammeter). |
แอมโมเนีย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร NH3 ลักษณะเป็นแก๊สไม่มีสี กลิ่นฉุน ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทําปุ๋ย กรดไนตริก ใยสังเคราะห์ เป็นตัวทําความเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ammonia เขียนว่า เอ-เอ็ม-เอ็ม-โอ-เอ็น-ไอ-เอ. | แอมโมเนีย น. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร NH3 ลักษณะเป็นแก๊สไม่มีสี กลิ่นฉุน ละลายนํ้าได้ดี ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทําปุ๋ย กรดไนตริก ใยสังเคราะห์ เป็นตัวทําความเย็น. (อ. ammonia). |
แอร่ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | [อะแหฺร่ม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพรวพราว, ผ่องใส, สดใส, เช่น งามแอร่ม หน้าตาแอร่ม. | แอร่ม [อะแหฺร่ม] ว. แพรวพราว, ผ่องใส, สดใส, เช่น งามแอร่ม หน้าตาแอร่ม. |
แอลกอฮอล์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นของเหลวใส กลิ่นฉุน ระเหยง่าย มีขีดเดือด ๗๘.๕°ซ. ชื่อเต็มคือ เอทิลแอลกอฮอล์ แต่มักเรียกกันสั้น ๆ ว่า แอลกอฮอล์ โดยปรกติเกิดขึ้นจากการหมักสารประเภทแป้งหรือนํ้าตาลผสมยีสต์ ซึ่งมักเรียกกันว่า แป้งเชื้อหรือเชื้อหมัก เป็นองค์ประกอบสําคัญของสุราและเมรัยทุกชนิด เมื่อดื่มเข้าไปจะออกฤทธิ์ทําให้มีอาการมึนเมา ใช้ประโยชน์เป็นตัวทําละลาย และเป็นเชื้อเพลิง เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ alcohol เขียนว่า เอ-แอล-ซี-โอ-เอช-โอ-แอล ethyl เขียนว่า อี-ที-เอช-วาย-แอล alcohol เขียนว่า เอ-แอล-ซี-โอ-เอช-โอ-แอล . | แอลกอฮอล์ น. สารอินทรีย์ชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นของเหลวใส กลิ่นฉุน ระเหยง่าย มีขีดเดือด ๗๘.๕°ซ. ชื่อเต็มคือ เอทิลแอลกอฮอล์ แต่มักเรียกกันสั้น ๆ ว่า แอลกอฮอล์ โดยปรกติเกิดขึ้นจากการหมักสารประเภทแป้งหรือนํ้าตาลผสมยีสต์ ซึ่งมักเรียกกันว่า แป้งเชื้อหรือเชื้อหมัก เป็นองค์ประกอบสําคัญของสุราและเมรัยทุกชนิด เมื่อดื่มเข้าไปจะออกฤทธิ์ทําให้มีอาการมึนเมา ใช้ประโยชน์เป็นตัวทําละลาย และเป็นเชื้อเพลิง เป็นต้น. (อ. alcohol, ethyl alcohol). |
แอลฟา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม มักเรียกกระแสอนุภาคแอลฟาว่า รังสีแอลฟา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๐,๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอํานาจในการเจาะทะลุได้น้อย เมื่อกระทบกับฉากเรืองแสงจะทําให้เกิดแสงเรืองขึ้นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ alpha เขียนว่า เอ-แอล-พี-เอช-เอ rays เขียนว่า อา-เอ-วาย-เอส . | แอลฟา (ฟิสิกส์) น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม มักเรียกกระแสอนุภาคแอลฟาว่า รังสีแอลฟา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๐,๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอํานาจในการเจาะทะลุได้น้อย เมื่อกระทบกับฉากเรืองแสงจะทําให้เกิดแสงเรืองขึ้นได้. (อ. alpha rays). |
แอว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลองยาวขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ทําด้วยลําท่อนไม้ขุดไส้ในออกให้กลวงแล้วขึงด้วยหนังสัตว์ทางด้านปากกลองเพียงด้านเดียว จากด้านปากกลองมีลักษณะสอบเข้าคล้ายเอว ตอนปลายบานผายออกคล้ายดอกลำโพง. (พายัพ แอว ว่า เอว). | แอว (ถิ่นพายัพ) น. ชื่อกลองยาวขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ทําด้วยลําท่อนไม้ขุดไส้ในออกให้กลวงแล้วขึงด้วยหนังสัตว์ทางด้านปากกลองเพียงด้านเดียว จากด้านปากกลองมีลักษณะสอบเข้าคล้ายเอว ตอนปลายบานผายออกคล้ายดอกลำโพง. (พายัพ แอว ว่า เอว). |
แอ่ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง พูดคุย (ใช้แก่หนุ่มสาว); ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง เที่ยว, ถ้าไปเที่ยวเกี้ยวผู้หญิง เรียกว่า แอ่วสาว. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า แอ่ว เช่น แอ่วลาว แอ่วเคล้าซอ. | แอ่ว (ถิ่นอีสาน) ก. พูดคุย (ใช้แก่หนุ่มสาว); (ถิ่นพายัพ) เที่ยว, ถ้าไปเที่ยวเกี้ยวผู้หญิง เรียกว่า แอ่วสาว. น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า แอ่ว เช่น แอ่วลาว แอ่วเคล้าซอ. |
แอ้วแซ่ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นอนนิ่งอยู่กับที่เคลื่อนไหวไปไหนไม่ได้ในลักษณะที่หมดกําลังหรือเจ็บป่วยเป็นต้น ในคําว่า นอนแอ้วแซ่ว, แซ่ว ก็ว่า. | แอ้วแซ่ว ว. อาการที่นอนนิ่งอยู่กับที่เคลื่อนไหวไปไหนไม่ได้ในลักษณะที่หมดกําลังหรือเจ็บป่วยเป็นต้น ในคําว่า นอนแอ้วแซ่ว, แซ่ว ก็ว่า. |
แอสทาทีน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๘๕ สัญลักษณ์ At เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ astatine เขียนว่า เอ-เอส-ที-เอ-ที-ไอ-เอ็น-อี. | แอสทาทีน น. ธาตุลําดับที่ ๘๕ สัญลักษณ์ At เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ. (อ. astatine). |
แอสไพริน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร CH3COO·C6H4·COOH ชื่อทางเคมี คือ acetylsalicylic acid ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๓๓°ซ. ใช้ในทางการแพทย์เป็นยาลดไข้และระงับปวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ aspirin เขียนว่า เอ-เอส-พี-ไอ-อา-ไอ-เอ็น. | แอสไพริน น. สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร CH3COO·C6H4·COOH ชื่อทางเคมี คือ acetylsalicylic acid ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๓๓°ซ. ใช้ในทางการแพทย์เป็นยาลดไข้และระงับปวด. (อ. aspirin). |
แอสฟัลต์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ยางมะตอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ asphalt เขียนว่า เอ-เอส-พี-เอช-เอ-แอล-ที. | แอสฟัลต์ น. ยางมะตอย. (อ. asphalt). |
แอหนัง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง นางชี. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | แอหนัง น. นางชี. (ช.). |
แออวย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ละห้อยไห้. | แออวย (โบ) ก. ละห้อยไห้. |
แออัด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ ก็ว่า. | แออัด ว. ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ ก็ว่า. |
โอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ส้มโอ. ในวงเล็บ ดู ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑. (๒) ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู จัน เขียนว่า จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู. | โอ ๑ น. (๑) ส้มโอ. (ดู ส้ม ๑). (๒) ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง. (ดู จัน). |
โอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูงห่างฝั่ง รูปร่างเพรียวคล้ายกระสวย บริเวณฐานครีบหูมีกลุ่มเกล็ดเล็ก ๆ ครีบหางเว้าลึก เช่น โอหม้อ หรือ โอดํา (Thunnus tonggol) โอลาย (Euthynnus affinis). | โอ ๒ น. ชื่อปลาทะเลขนาดใหญ่หลายชนิดในวงศ์ Thunnidae อยู่เป็นฝูงห่างฝั่ง รูปร่างเพรียวคล้ายกระสวย บริเวณฐานครีบหูมีกลุ่มเกล็ดเล็ก ๆ ครีบหางเว้าลึก เช่น โอหม้อ หรือ โอดํา (Thunnus tonggol) โอลาย (Euthynnus affinis). |
โอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสําหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาดต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูงว่า ขันโอ. | โอ ๓ น. ภาชนะเครื่องเขินอย่างหนึ่งสําหรับใส่ของ รูปคล้ายขัน มีขนาดต่าง ๆ, ต่อมาได้อนุโลมเรียกขันเคลือบทรงสูงว่า ขันโอ. |
โอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๔ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการว่านึกอะไรขึ้นมาได้ หรือแสดงว่าสลดใจเป็นต้น. | โอ ๔ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการว่านึกอะไรขึ้นมาได้ หรือแสดงว่าสลดใจเป็นต้น. |
โอ่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชํานาญจึงจะพายได้. | โอ่ ๑ น. ชื่อเรือต่อชนิดหนึ่ง คล้ายเรือสำปั้น แต่มีขนาดเล็กและเพรียวกว่า ล่มง่าย ผู้ชํานาญจึงจะพายได้. |
โอ่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง อวด, ชอบแต่งตัวอวด. | โอ่ ๒ ก. อวด, ชอบแต่งตัวอวด. |
โอ่โถง, โอ้โถง โอ่โถง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู โอ้โถง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ภาคภูมิมีสง่า, ภูมิฐาน. | โอ่โถง, โอ้โถง ว. ภาคภูมิมีสง่า, ภูมิฐาน. |
โอ่อวด, โอ้อวด โอ่อวด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก โอ้อวด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง อวด, พูดยกตัว, พูดอวดความรู้ความสามารถหรือความมั่งมีเป็นต้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขี้อวด, ชอบพูดยกตัว, ชอบพูดอวดความรู้ความสามารถหรือความมั่งมีเป็นต้น. | โอ่อวด, โอ้อวด ก. อวด, พูดยกตัว, พูดอวดความรู้ความสามารถหรือความมั่งมีเป็นต้น. ว. ขี้อวด, ชอบพูดยกตัว, ชอบพูดอวดความรู้ความสามารถหรือความมั่งมีเป็นต้น. |
โอ่อ่า เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะสวยอย่างมีสง่า เช่น แต่งตัวโอ่อ่า, ใหญ่โตหรูหรามาก เช่น บ้านช่องโอ่อ่า. | โอ่อ่า ว. สะสวยอย่างมีสง่า เช่น แต่งตัวโอ่อ่า, ใหญ่โตหรูหรามาก เช่น บ้านช่องโอ่อ่า. |
โอ่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก ความหมายที่ ๓ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นอาหารที่ใกล้จะบูด. | โอ่ ๓ ว. กลิ่นเหม็นอย่างกลิ่นอาหารที่ใกล้จะบูด. |
โอ้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำอุทาน หมายถึง คําในคําประพันธ์ ใช้ในความรําพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคยเลยจะห่างเหเสนหา. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑, โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า โอ้ เช่น โอ้ปี่ โอ้ร่าย โอ้โลม. | โอ้ ๑ (กลอน) อ. คําในคําประพันธ์ ใช้ในความรําพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคยเลยจะห่างเหเสนหา. (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต. (อิเหนา). น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า โอ้ เช่น โอ้ปี่ โอ้ร่าย โอ้โลม. |
โอ้โลม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ปลอบโยน, เอาใจ. | โอ้โลม ก. ปลอบโยน, เอาใจ. |
โอ้โลมปฏิโลม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเอาอกเอาใจ, พูดเกลี้ยกล่อม. | โอ้โลมปฏิโลม (ปาก) ก. พูดเอาอกเอาใจ, พูดเกลี้ยกล่อม. |
โอ้ว่า เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ดู โอ้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท ความหมายที่ ๑. | โอ้ว่า ดู โอ้ ๑. |
โอ้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดัง, เปิดเผย, (ใช้แก่กริยาคุย). | โอ้ ๒ ว. เสียงดัง, เปิดเผย, (ใช้แก่กริยาคุย). |
โอ๋ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-จัด-ตะ-วา | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเช่นนั้นเพื่อปลอบเด็ก. เป็นคำกริยา หมายถึง ตามใจ, เอาอกเอาใจ. | โอ๋ อ. คําที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเช่นนั้นเพื่อปลอบเด็ก. ก. ตามใจ, เอาอกเอาใจ. |
โอก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ออก. | โอก (โบ) ก. ออก. |
โอ้ก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาเจียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงอาเจียน. | โอ้ก ก. อาเจียน. ว. เสียงอย่างเสียงอาเจียน. |
โอ้กอ้าก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงอาเจียนติดต่อกัน, โดยปริยายหมายถึงอาการของผู้หญิงที่แพ้ท้องหรืออาการของผู้ที่จะเป็นลม. | โอ้กอ้าก ว. เสียงอย่างเสียงอาเจียนติดต่อกัน, โดยปริยายหมายถึงอาการของผู้หญิงที่แพ้ท้องหรืออาการของผู้ที่จะเป็นลม. |
โอ๊ก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงไก่ร้อง; อาการที่แสดงว่าเหลืออดเหลือทน เช่น ของแพงจนคนร้องโอ๊ก. | โอ๊ก ๑ ว. เสียงอย่างเสียงไก่ร้อง; อาการที่แสดงว่าเหลืออดเหลือทน เช่น ของแพงจนคนร้องโอ๊ก. |
โอ๊ก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Quercus วงศ์ Fagaceae เนื้อไม้ใช้ทําเครื่องเรือน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ oak เขียนว่า โอ-เอ-เค. | โอ๊ก ๒ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Quercus วงศ์ Fagaceae เนื้อไม้ใช้ทําเครื่องเรือน. (อ. oak). |
โอกะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า; ที่อยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอกะ น. นํ้า; ที่อยู่. (ป.). |
โอกาส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | [กาด] เป็นคำนาม หมายถึง ช่อง, ทาง; เวลาที่เหมาะ, จังหวะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อวกาศ เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา. | โอกาส [กาด] น. ช่อง, ทาง; เวลาที่เหมาะ, จังหวะ. (ป.; ส. อวกาศ). |
โอฆ, โอฆะ โอฆ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-คอ-ระ-คัง โอฆะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อะ | [โอคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ห้วงนํ้า; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โอฆ, โอฆะ [โอคะ] น. ห้วงนํ้า; ในพระพุทธศาสนาหมายถึงกิเลสที่ท่วมทับจิตใจของหมู่สัตว์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. กาโมฆะ = โอฆะ คือ กาม ๒. ภโวฆะ = โอฆะ คือ ภพ ๓. ทิฏโฐฆะ = โอฆะ คือ ทิฐิ ๔. อวิชโชฆะ = โอฆะ คือ อวิชชา. (ป., ส.). |
โอฆชล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-คอ-ระ-คัง-ชอ-ช้าง-ลอ-ลิง | [ชน] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าในห้วงลึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอฆชล [ชน] น. นํ้าในห้วงลึก. (ป.). |
โอฆสงสาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-คอ-ระ-คัง-สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนเกิดเวียนตายในห้วงของกิเลส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอฆสงสาร น. การเวียนเกิดเวียนตายในห้วงของกิเลส. (ป.). |
โอ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับขังนํ้า ก้นสอบเล็กน้อย ปากกว้าง มีขนาดต่าง ๆ กัน, บางทีก็เรียกว่า ตุ่ม. | โอ่ง น. ภาชนะสําหรับขังนํ้า ก้นสอบเล็กน้อย ปากกว้าง มีขนาดต่าง ๆ กัน, บางทีก็เรียกว่า ตุ่ม. |
โอ่งมังกร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง โอ่งดินเผาเคลือบ มีสีนํ้าตาลปนเหลือง มักมีลายเป็นรูปมังกร. | โอ่งมังกร น. โอ่งดินเผาเคลือบ มีสีนํ้าตาลปนเหลือง มักมีลายเป็นรูปมังกร. |
โองการ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง คําศักดิ์สิทธิ์ เช่น โองการแช่งน้ำ, ถ้าเป็นคําศักดิ์สิทธิ์มาจากพระดํารัสสั่งของพระเจ้าแผ่นดิน เรียกว่า พระราชโองการ หรือ พระบรมราชโองการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โอํการ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นิก-คะ-หิด-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ = อักษรโอม หมายถึง พระเป็นเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ . | โองการ น. คําศักดิ์สิทธิ์ เช่น โองการแช่งน้ำ, ถ้าเป็นคําศักดิ์สิทธิ์มาจากพระดํารัสสั่งของพระเจ้าแผ่นดิน เรียกว่า พระราชโองการ หรือ พระบรมราชโองการ. (ป.; ส. โอํการ = อักษรโอม หมายถึง พระเป็นเจ้าทั้ง ๓ คือ พระพรหม พระวิษณุ และพระศิวะ). |
โองโขดง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก-งอ-งู | [ขะโดง] เป็นคำนาม หมายถึง ทรงผมของหญิงไทยสมัยโบราณ ซึ่งรวบขึ้นไปเกล้าไว้บนขม่อมเป็นห่วงยาว ๆ โดยมากมีเกี้ยวหรือพวงมาลัยสวม, โซงโขดง ก็ว่า. | โองโขดง [ขะโดง] น. ทรงผมของหญิงไทยสมัยโบราณ ซึ่งรวบขึ้นไปเกล้าไว้บนขม่อมเป็นห่วงยาว ๆ โดยมากมีเกี้ยวหรือพวงมาลัยสวม, โซงโขดง ก็ว่า. |
โอชะ, โอชา โอชะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ โอชา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรสดี, อร่อย. เป็นคำนาม หมายถึง รสที่ซึมซาบ, เครื่องหรือสิ่งบํารุงเลี้ยงให้เกิดความเจริญงอกงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอชะ, โอชา ว. มีรสดี, อร่อย. น. รสที่ซึมซาบ, เครื่องหรือสิ่งบํารุงเลี้ยงให้เกิดความเจริญงอกงาม. (ป.). |
โอโซน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สชนิดหนึ่ง สีนํ้าเงิน กลิ่นฉุน เป็นอัญรูปของธาตุออกซิเจน มีสูตร O3 ใช้ประโยชน์ฆ่าเชื้อโรคในนํ้าเพื่อใช้เป็นนํ้าดื่ม ใช้ฟอกจางสีของสารอินทรีย์บางอย่างเช่นเส้นใยที่ใช้ทอผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ozone เขียนว่า โอ-แซด-โอ-เอ็น-อี. | โอโซน น. แก๊สชนิดหนึ่ง สีนํ้าเงิน กลิ่นฉุน เป็นอัญรูปของธาตุออกซิเจน มีสูตร O3 ใช้ประโยชน์ฆ่าเชื้อโรคในนํ้าเพื่อใช้เป็นนํ้าดื่ม ใช้ฟอกจางสีของสารอินทรีย์บางอย่างเช่นเส้นใยที่ใช้ทอผ้า. (อ. ozone). |
โอฐ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ถอ-ถาน | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง โอษฐ์, ริมฝีปาก; ปาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอฏฺ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน และมาจากภาษาสันสกฤต โอษฺ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน. | โอฐ (โบ) น. โอษฐ์, ริมฝีปาก; ปาก. (ป. โอฏฺ; ส. โอษฺ). |
โอด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงสำหรับใช้เป็นหน้าพาทย์บรรเลงประกอบกิริยาร้องไห้ สลบหรือตาย; วิธีดำเนินทำนองเพลงไทยอย่างหนึ่ง ซึ่งดำเนินไปโดยแช่มช้าโหยหวน และโศกซึ้ง. เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้. | โอด น. ชื่อเพลงสำหรับใช้เป็นหน้าพาทย์บรรเลงประกอบกิริยาร้องไห้ สลบหรือตาย; วิธีดำเนินทำนองเพลงไทยอย่างหนึ่ง ซึ่งดำเนินไปโดยแช่มช้าโหยหวน และโศกซึ้ง. ก. ร้องไห้. |
โอดกาเหว่า เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้ครํ่าครวญ. | โอดกาเหว่า (ปาก) ก. ร้องไห้ครํ่าครวญ. |
โอดครวญ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-หยิง | เป็นคำกริยา หมายถึง รํ่าไห้, ครํ่าครวญ; รํ่ารําพัน. | โอดครวญ ก. รํ่าไห้, ครํ่าครวญ; รํ่ารําพัน. |
โอดโอย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องเพราะความเจ็บปวด, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ร้องเรียนว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมเป็นต้น. | โอดโอย ก. ร้องเพราะความเจ็บปวด, (ปาก) ร้องเรียนว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมเป็นต้น. |
โอ๊ต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวโอ๊ต. ในวงเล็บ ดู ข้าวโอ๊ต เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-ตอ-เต่า ที่ ข้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | โอ๊ต น. ข้าวโอ๊ต. (ดู ข้าวโอ๊ต ที่ ข้าว). |
โอตตัปปะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ | [โอด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเกรงกลัวบาป, มักใช้เข้าคู่กับคำ หิริ เป็น หิริโอตตัปปะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอตตัปปะ [โอด] น. ความเกรงกลัวบาป, มักใช้เข้าคู่กับคำ หิริ เป็น หิริโอตตัปปะ. (ป.). |
โอทน, โอทนะ โอทน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู โอทนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [โอทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวสุก, ข้าวสวย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอทน, โอทนะ [โอทะนะ] น. ข้าวสุก, ข้าวสวย. (ป.). |
โอน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง น้อมลง, โน้ม; ยกไปไว้อีกที่หนึ่ง เช่น โอนบัญชี; ยอมมอบให้; ย้ายสังกัด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทําให้สิทธิตกไปเป็นของบุคคลอื่น เช่น โอนกรรมสิทธิ์. | โอน ก. น้อมลง, โน้ม; ยกไปไว้อีกที่หนึ่ง เช่น โอนบัญชี; ยอมมอบให้; ย้ายสังกัด; (กฎ) ทําให้สิทธิตกไปเป็นของบุคคลอื่น เช่น โอนกรรมสิทธิ์. |
โอนกรรมสิทธิ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง โอนสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินให้แก่บุคคลอื่น. | โอนกรรมสิทธิ์ (กฎ) ก. โอนสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินให้แก่บุคคลอื่น. |
โอนชาติ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง แปลงสัญชาติ. | โอนชาติ (ปาก) ก. แปลงสัญชาติ. |
โอนอ่อน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่อนตาม, ยอมตาม. | โอนอ่อน ก. ผ่อนตาม, ยอมตาม. |
โอนเอน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอนไปเอนมา, ไม่มั่นคง, ไม่แน่นอน. | โอนเอน ว. เอนไปเอนมา, ไม่มั่นคง, ไม่แน่นอน. |
โอบ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาแขนอ้อมไว้ เช่น โอบไหล่, เอาแขนทั้ง ๒ อ้อมไว้ เช่น โอบต้นไม้ โอบกอด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รากไทรโอบรอบเจดีย์เก่า; ตีวงล้อม เช่น เคลื่อนพลเข้าไปโอบกองทัพข้าศึก. | โอบ ก. เอาแขนอ้อมไว้ เช่น โอบไหล่, เอาแขนทั้ง ๒ อ้อมไว้ เช่น โอบต้นไม้ โอบกอด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รากไทรโอบรอบเจดีย์เก่า; ตีวงล้อม เช่น เคลื่อนพลเข้าไปโอบกองทัพข้าศึก. |
โอบอ้อมอารี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงนํ้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น. | โอบอ้อมอารี ก. แสดงนํ้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น. |
โอบอุ้ม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง อุ้มชู, อุดหนุน, ชุบเลี้ยง. | โอบอุ้ม ก. อุ้มชู, อุดหนุน, ชุบเลี้ยง. |
โอบเอื้อ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อเฟื้อ, เกื้อหนุน. | โอบเอื้อ ก. เอื้อเฟื้อ, เกื้อหนุน. |
โอปปาติกะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [โอปะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, อุปปาติกะ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอปปาติกะ [โอปะ] น. ผู้เกิดผุดขึ้นโดยไม่ต้องอาศัยพ่อแม่ อาศัยอดีตกรรม ได้แก่เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย, อุปปาติกะ ก็เรียก. (ป.). |
โอภา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ทักทายด้วยวาจาสุภาพ. | โอภา ก. ทักทายด้วยวาจาสุภาพ. |
โอภาปราศรัย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [ปฺราไส] เป็นคำกริยา หมายถึง ทักทายด้วยความสนิทสนมเป็นกันเอง. | โอภาปราศรัย [ปฺราไส] ก. ทักทายด้วยความสนิทสนมเป็นกันเอง. |
โอภาส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | [พาด] เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่าง; ความสุกใส, ความเปล่งปลั่ง. เป็นคำกริยา หมายถึง ส่องแสง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอภาส [พาด] น. แสงสว่าง; ความสุกใส, ความเปล่งปลั่ง. ก. ส่องแสง. (ป.). |
โอม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง คำที่ประกอบด้วยเสียง ๓ เสียง คือ อ อุ ม [อ่านว่า อะ อุ มะ] รวมกัน ข้างฝ่ายฮินดูหมายถึง พระเจ้าทั้ง ๓ คือ อ = พระศิวะ อุ = พระวิษณุ ม = พระพรหม; ข้างพระพุทธศาสนาเลียนเอามาใช้หมายถึง พระรัตนตรัย คือ อ = อรหํ (พระพุทธเจ้า) อุ = อุตฺตมธมฺม (พระธรรมอันสูงสุด) ม = มหาสงฺฆ (พระสงฆ์) นับถือเป็นคําศักดิ์สิทธิ์, เป็นคำขึ้นต้นของการกล่าวมนตร์. เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวคําขึ้นต้นของมนตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | โอม น. คำที่ประกอบด้วยเสียง ๓ เสียง คือ อ อุ ม [อ่านว่า อะ อุ มะ] รวมกัน ข้างฝ่ายฮินดูหมายถึง พระเจ้าทั้ง ๓ คือ อ = พระศิวะ อุ = พระวิษณุ ม = พระพรหม; ข้างพระพุทธศาสนาเลียนเอามาใช้หมายถึง พระรัตนตรัย คือ อ = อรหํ (พระพุทธเจ้า) อุ = อุตฺตมธมฺม (พระธรรมอันสูงสุด) ม = มหาสงฺฆ (พระสงฆ์) นับถือเป็นคําศักดิ์สิทธิ์, เป็นคำขึ้นต้นของการกล่าวมนตร์. ก. กล่าวคําขึ้นต้นของมนตร์. (ส.). |
โอย ๑, โอ๊ย โอย ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก โอ๊ย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความรู้สึกเจ็บปวด หรือรู้สึกว่ามากยิ่ง แปลก เป็นต้น. | โอย ๑, โอ๊ย อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความรู้สึกเจ็บปวด หรือรู้สึกว่ามากยิ่ง แปลก เป็นต้น. |
โอย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง อวย, ให้, เช่น คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ ๑ ด้านที่ ๒). | โอย ๒ (โบ) ก. อวย, ให้, เช่น คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ ๑ ด้านที่ ๒). |
โอร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ | [ระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตํ่า, ใต้; รอง; หลัง; ฝั่งนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อวร เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-รอ-เรือ. | โอร [ระ] ว. ตํ่า, ใต้; รอง; หลัง; ฝั่งนี้. (ป.; ส. อวร). |
โอรส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สอ-เสือ | [รด] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกชาย (ใช้แก่เจ้านาย). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอรส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สอ-เสือ ว่า ผู้เกิดแต่อก . | โอรส [รด] น. ลูกชาย (ใช้แก่เจ้านาย). (ป. โอรส ว่า ผู้เกิดแต่อก). |
โอละพ่อ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลับตรงกันข้าม อย่างกลับหน้ามือเป็นหลังมือ. เป็นคำนาม หมายถึง คําขึ้นต้นที่พวกระเบ็งร้องและรําในการมหรสพของหลวงเช่นพระราชพิธีโสกันต์. | โอละพ่อ ว. กลับตรงกันข้าม อย่างกลับหน้ามือเป็นหลังมือ. น. คําขึ้นต้นที่พวกระเบ็งร้องและรําในการมหรสพของหลวงเช่นพระราชพิธีโสกันต์. |
โอลิมปิก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศซึ่งจัดให้มีขึ้นทุก ๆ ๔ ปีในประเทศต่าง ๆ ตามแต่จะตกลงกันว่า กีฬาโอลิมปิก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Olympic เขียนว่า โอ-แอล-วาย-เอ็ม-พี-ไอ-ซี games เขียนว่า จี-เอ-เอ็ม-อี-เอส . | โอลิมปิก น. เรียกการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศซึ่งจัดให้มีขึ้นทุก ๆ ๔ ปีในประเทศต่าง ๆ ตามแต่จะตกลงกันว่า กีฬาโอลิมปิก. (อ. Olympic games). |
โอวาท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | [วาด] เป็นคำนาม หมายถึง คําแนะนํา, คําตักเตือน, คํากล่าวสอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอวาท [วาด] น. คําแนะนํา, คําตักเตือน, คํากล่าวสอน. (ป.). |
โอษฐ, โอษฐ์ โอษฐ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน โอษฐ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด | [โอดถะ, โอด] เป็นคำนาม หมายถึง ริมฝีปาก ในคำว่า โอษฐชะ; ปาก เช่น เอื้อนโอษฐ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โอฏฺ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน. | โอษฐ, โอษฐ์ [โอดถะ, โอด] น. ริมฝีปาก ในคำว่า โอษฐชะ; ปาก เช่น เอื้อนโอษฐ์. (ส.; ป. โอฏฺ). |
โอษฐชะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากริมฝีปาก ได้แก่พยัญชนะวรรค ป คือ ป ผ พ ภ ม และอักษร ว กับสระอุ อู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอฏฺช เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต โอษฺฺฺย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-พิน-ทุ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | โอษฐชะ (ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากริมฝีปาก ได้แก่พยัญชนะวรรค ป คือ ป ผ พ ภ ม และอักษร ว กับสระอุ อู. (ป. โอฏฺช; ส. โอษฺฺฺย). |
โอษฐภัย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ภัยที่เกิดจากคําพูด. | โอษฐภัย น. ภัยที่เกิดจากคําพูด. |
โอสถ, โอสถ โอสถ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ถอ-ถุง โอสถ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ถอ-ถุง | [โอสด, โอสดถะ] เป็นคำนาม หมายถึง ยาแก้โรค, ยารักษาโรค; เครื่องยา; ในราชาศัพท์ใช้ตลอดจนถึงยาสูบและบุหรี่ เช่น พระโอสถเส้น พระโอสถมวน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอสถ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ถอ-ถุง โอสธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ทอ-ทง และมาจากภาษาสันสกฤต เอาษธ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ทอ-ทง. | โอสถ, โอสถ [โอสด, โอสดถะ] น. ยาแก้โรค, ยารักษาโรค; เครื่องยา; ในราชาศัพท์ใช้ตลอดจนถึงยาสูบและบุหรี่ เช่น พระโอสถเส้น พระโอสถมวน. (ป. โอสถ, โอสธ; ส. เอาษธ). |
โอสถกรรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การแพทย์แผนกใช้ยา, การรักษาไข้ด้วยวิธีใช้ยา. | โอสถกรรม น. การแพทย์แผนกใช้ยา, การรักษาไข้ด้วยวิธีใช้ยา. |
โอสาน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง อวสาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอสาน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู อวสาน เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต อวสาน เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | โอสาน น. อวสาน. (ป. โอสาน, อวสาน; ส. อวสาน). |
โอหนอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงความรําพึงในเวลาดีใจหรือเสียใจ. | โอหนอ (กลอน) อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงความรําพึงในเวลาดีใจหรือเสียใจ. |
โอห์ม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดความต้านทาน ใช้สัญลักษณ์ Ω ความต้านทาน ๑ โอห์ม คือ ความต้านทานระหว่างจุด ๒ จุดบนตัวนํา ซึ่งเมื่อจุดคู่นี้มีความต่างศักย์ไฟฟ้า ๑ โวลต์แล้ว จะทําให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ๑ แอมแปร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ohm เขียนว่า โอ-เอช-เอ็ม. | โอห์ม (ไฟฟ้า) น. หน่วยวัดความต้านทาน ใช้สัญลักษณ์ Ω ความต้านทาน ๑ โอห์ม คือ ความต้านทานระหว่างจุด ๒ จุดบนตัวนํา ซึ่งเมื่อจุดคู่นี้มีความต่างศักย์ไฟฟ้า ๑ โวลต์แล้ว จะทําให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ๑ แอมแปร์. (อ. ohm). |
โอห์มมิเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือไฟฟ้าที่ใช้สําหรับวัดค่าของความต้านทานเป็นโอห์ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ohmmeter เขียนว่า โอ-เอช-เอ็ม-เอ็ม-อี-ที-อี-อา. | โอห์มมิเตอร์ น. เครื่องมือไฟฟ้าที่ใช้สําหรับวัดค่าของความต้านทานเป็นโอห์ม. (อ. ohmmeter). |
โอหัง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาวาจาหยิ่งยโส. | โอหัง ก. แสดงกิริยาวาจาหยิ่งยโส. |
โอฬาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [ลาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิ่งใหญ่, เลิศล้น; ประเสริฐ, ดี, เอาฬาร ก็ใช้. (แผลงมาจาก อุฬาร). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โอฬาร [ลาน] ว. ใหญ่โต, โอ่โถง, กว้างขวาง; ยิ่งใหญ่, เลิศล้น; ประเสริฐ, ดี, เอาฬาร ก็ใช้. (แผลงมาจาก อุฬาร). (ป.). |
โอฬาริก, โอฬารึก โอฬาริก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ โอฬารึก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่, โต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โอฬาริก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต เอาทาริก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่. | โอฬาริก, โอฬารึก ว. ใหญ่, โต. (ป. โอฬาริก; ส. เอาทาริก). |
โอฬาริก, โอฬารึก โอฬาริก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ โอฬารึก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | ดู โอฬาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | โอฬาริก, โอฬารึก ดู โอฬาร. |
โอ้เอ้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการสวดกาพย์ลํานําเป็นทํานองอย่างที่นักเรียนสวดตามศาลารายวัดพระศรีรัตนศาสดารามในวันเข้าพรรษา วันกลางพรรษา และวันออกพรรษา ว่า สวดโอ้เอ้วิหารราย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชักช้า. | โอ้เอ้ น. เรียกการสวดกาพย์ลํานําเป็นทํานองอย่างที่นักเรียนสวดตามศาลารายวัดพระศรีรัตนศาสดารามในวันเข้าพรรษา วันกลางพรรษา และวันออกพรรษา ว่า สวดโอ้เอ้วิหารราย. ว. ชักช้า. |
โอเอซิส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่ชุ่มชื้นในทะเลทราย ซึ่งมีนํ้าพอที่สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ oasis เขียนว่า โอ-เอ-เอส-ไอ-เอส. | โอเอซิส น. บริเวณที่ชุ่มชื้นในทะเลทราย ซึ่งมีนํ้าพอที่สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยู่ได้. (อ. oasis). |
โอ้โฮ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความตกใจหรือประหลาดใจเป็นต้น. | โอ้โฮ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความตกใจหรือประหลาดใจเป็นต้น. |
ไอ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะอย่างควัน ลอยออกมาจากของที่ถูกความร้อนทําให้ระเหย. | ไอ ๑ น. สิ่งที่มีลักษณะอย่างควัน ลอยออกมาจากของที่ถูกความร้อนทําให้ระเหย. |
ไอแดด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ความร้อนจากแสงแดดที่เข้ามาถึงในที่ร่ม. | ไอแดด น. ความร้อนจากแสงแดดที่เข้ามาถึงในที่ร่ม. |
ไอตัว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ความร้อนที่ระเหยจากร่างกาย. | ไอตัว น. ความร้อนที่ระเหยจากร่างกาย. |
ไอพ่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องยนต์ชนิดหนึ่งซึ่งเผาเชื้อเพลิงให้เป็นแก๊สพุ่งออกมาตามท่อด้วยความดันสูงมาก ทําให้เกิดพลังขับเคลื่อนได้, เรียกเครื่องบินที่ใช้กําลังด้วยเครื่องยนต์เช่นนั้นว่า เครื่องบินไอพ่น. | ไอพ่น น. ชื่อเครื่องยนต์ชนิดหนึ่งซึ่งเผาเชื้อเพลิงให้เป็นแก๊สพุ่งออกมาตามท่อด้วยความดันสูงมาก ทําให้เกิดพลังขับเคลื่อนได้, เรียกเครื่องบินที่ใช้กําลังด้วยเครื่องยนต์เช่นนั้นว่า เครื่องบินไอพ่น. |
ไอพิษ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี | เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สหรือไอที่มีสมบัติเป็นพิษอย่างร้ายแรง ใช้ในการสู้รบ. | ไอพิษ น. แก๊สหรือไอที่มีสมบัติเป็นพิษอย่างร้ายแรง ใช้ในการสู้รบ. |
ไอเสีย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ไอที่เกิดจากการเผาไหม้ของนํ้ามันเครื่องยนต์ที่ขับถ่ายออกทางท่อ, เรียกท่อที่ขับถ่ายไอเสียออกว่า ท่อไอเสีย. | ไอเสีย น. ไอที่เกิดจากการเผาไหม้ของนํ้ามันเครื่องยนต์ที่ขับถ่ายออกทางท่อ, เรียกท่อที่ขับถ่ายไอเสียออกว่า ท่อไอเสีย. |
ไอ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลมพุ่งขึ้นมาจากปอดโดยแรง เพื่อขับสิ่งที่อาจเป็นอันตรายออกมา ทําให้เกิดเสียงพิเศษจากลําคอ. | ไอ ๒ ก. อาการที่ลมพุ่งขึ้นมาจากปอดโดยแรง เพื่อขับสิ่งที่อาจเป็นอันตรายออกมา ทําให้เกิดเสียงพิเศษจากลําคอ. |
ไอกรน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง โรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่ง พบในเด็กที่มีไข้ ไอมาก และมักมีเสียงเกิดจากการหายใจที่ลําบากตามหลังอาการไอ. | ไอกรน น. โรคติดเชื้อจากแบคทีเรียชนิดหนึ่ง พบในเด็กที่มีไข้ ไอมาก และมักมีเสียงเกิดจากการหายใจที่ลําบากตามหลังอาการไอ. |
ไอ้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง คําประกอบคําอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศชายหรือสัตว์ตัวผู้ เช่น ไอ้หนุ่ม ไอ้ด่าง, คําประกอบหน้าชื่อผู้ชายที่มีฐานะตํ่ากว่า อย่างนายเรียกคนใช้, คําประกอบหน้าชื่อเพื่อนฝูงแสดงว่ามีความสนิทสนมมาก มักใช้กันในหมู่เด็กผู้ชาย; คําใช้ประกอบหน้าชื่อผู้ชายแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คําประกอบคําบางคําที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้ชายหรือผู้ชายที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น ไอ้หนู ไอ้น้องชาย; คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้น เช่น ไอ้เราก็ไม่ดี ไอ้จะไปก็ไม่มีที่ไป ไอ้จะอยู่หรือก็คับใจ, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น ไอ้ทึ่ม ไอ้โง่ ไอ้ควาย, คําใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น ไอ้นั่น ไอ้นี่, เขียนเป็น อ้าย ก็มี. | ไอ้ น. คําประกอบคําอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศชายหรือสัตว์ตัวผู้ เช่น ไอ้หนุ่ม ไอ้ด่าง, คําประกอบหน้าชื่อผู้ชายที่มีฐานะตํ่ากว่า อย่างนายเรียกคนใช้, คําประกอบหน้าชื่อเพื่อนฝูงแสดงว่ามีความสนิทสนมมาก มักใช้กันในหมู่เด็กผู้ชาย; คําใช้ประกอบหน้าชื่อผู้ชายแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คําประกอบคําบางคําที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้ชายหรือผู้ชายที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น ไอ้หนู ไอ้น้องชาย; คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้น เช่น ไอ้เราก็ไม่ดี ไอ้จะไปก็ไม่มีที่ไป ไอ้จะอยู่หรือก็คับใจ, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น ไอ้ทึ่ม ไอ้โง่ ไอ้ควาย, คําใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น ไอ้นั่น ไอ้นี่, เขียนเป็น อ้าย ก็มี. |
ไอโซโทป เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง อะตอมของธาตุเดียวกัน แต่มีจํานวนนิวตรอนที่นิวเคลียสต่างกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ isotope เขียนว่า ไอ-เอส-โอ-ที-โอ-พี-อี. | ไอโซโทป น. อะตอมของธาตุเดียวกัน แต่มีจํานวนนิวตรอนที่นิวเคลียสต่างกัน. (อ. isotope). |
ไอน์สไตเนียม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๙๙ สัญลักษณ์ Es เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ einsteinium เขียนว่า อี-ไอ-เอ็น-เอส-ที-อี-ไอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม. | ไอน์สไตเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๙๙ สัญลักษณ์ Es เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. (อ. einsteinium). |
ไอยรา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [ยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. | ไอยรา [ยะ] (กลอน) น. ช้าง. |
ไอยเรศ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา | [ยะเรด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | ไอยเรศ [ยะเรด] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
ไอราพต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไอราวต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี เอราวณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน. | ไอราพต น. ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. (ส. ไอราวต; ป. เอราวณ). |
ไอราวัณ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน | เป็นคำนาม หมายถึง เอราวัณ, ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไอราวณ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี เอราวณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน. | ไอราวัณ น. เอราวัณ, ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. (ส. ไอราวณ; ป. เอราวณ). |
ไอราวัต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไอราวต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี เอราวณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน. | ไอราวัต น. ช้าง ๓๓ เศียรเป็นพาหนะของพระอินทร์. (ส. ไอราวต; ป. เอราวณ). |
ไอศกรีม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ของกินทําด้วยนํ้าหวาน กะทิ หรือนม เป็นต้น ทําให้ข้นด้วยความเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ icecream เขียนว่า ไอ-ซี-อี-ซี-อา-อี-เอ-เอ็ม. | ไอศกรีม น. ของกินทําด้วยนํ้าหวาน กะทิ หรือนม เป็นต้น ทําให้ข้นด้วยความเย็น. (อ. icecream). |
ไอศวรรย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ไอสะหฺวัน] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน; อํานาจ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง สมบัติแห่งพระราชาธิบดี, ใช้ว่า ไอศุริย หรือ ไอศูรย์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไอศฺวรฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี อิสฺสริย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก. | ไอศวรรย์ [ไอสะหฺวัน] น. ความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, ความเป็นพระเจ้าแผ่นดิน; อํานาจ; (กลอน) สมบัติแห่งพระราชาธิบดี, ใช้ว่า ไอศุริย หรือ ไอศูรย์ ก็มี. (ส. ไอศฺวรฺย; ป. อิสฺสริย). |
ไอศุริย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก | [ริยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ไอศวรรย์. | ไอศุริย [ริยะ] น. ไอศวรรย์. |
ไอศุริยสมบัติ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง สมบัติแห่งพระราชาธิบดี. | ไอศุริยสมบัติ น. สมบัติแห่งพระราชาธิบดี. |
ไอศูรย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [สูน] เป็นคำนาม หมายถึง ไอศวรรย์. | ไอศูรย์ [สูน] น. ไอศวรรย์. |
ไอออน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง อะตอมหรือหมู่ของอะตอมที่ไม่เป็นกลาง มี ๒ ชนิด คือ ชนิดที่แสดงอํานาจไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าบวก เรียกว่า ไอออนบวก หรือ แคตไอออน (cation) ชนิดที่แสดงอํานาจไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าลบ เรียกว่า ไอออนลบ หรือ แอนไอออน (anion). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ion เขียนว่า ไอ-โอ-เอ็น. | ไอออน น. อะตอมหรือหมู่ของอะตอมที่ไม่เป็นกลาง มี ๒ ชนิด คือ ชนิดที่แสดงอํานาจไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าบวก เรียกว่า ไอออนบวก หรือ แคตไอออน (cation) ชนิดที่แสดงอํานาจไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าลบ เรียกว่า ไอออนลบ หรือ แอนไอออน (anion). (อ. ion). |
ไอโอดีน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๕๓ สัญลักษณ์ I เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาดําเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔°ซ. เมื่อระเหิดเป็นไอให้ไอสีม่วง เป็นธาตุสําคัญมากสําหรับต่อมไทรอยด์ หากขาดธาตุนี้จะทําให้เป็นโรคคอพอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ iodine เขียนว่า ไอ-โอ-ดี-ไอ-เอ็น-อี. | ไอโอดีน น. ธาตุลําดับที่ ๕๓ สัญลักษณ์ I เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาดําเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔°ซ. เมื่อระเหิดเป็นไอให้ไอสีม่วง เป็นธาตุสําคัญมากสําหรับต่อมไทรอยด์ หากขาดธาตุนี้จะทําให้เป็นโรคคอพอก. (อ. iodine). |
ฮ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก | พยัญชนะตัวที่ ๔๔ เป็นตัวสุดท้ายของพยัญชนะไทย เป็นพวกอักษรตํ่า. | ฮ พยัญชนะตัวที่ ๔๔ เป็นตัวสุดท้ายของพยัญชนะไทย เป็นพวกอักษรตํ่า. |
ฮกเกี้ยน เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชาวจีนในมณฑลฮกเกี้ยนของประเทศจีน, ชาวจีนที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในมณฑลฮกเกี้ยน. | ฮกเกี้ยน น. ชาวจีนในมณฑลฮกเกี้ยนของประเทศจีน, ชาวจีนที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ในมณฑลฮกเกี้ยน. |
ฮด เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำกริยา หมายถึง รด, รดนํ้าให้; พิธีรดนํ้าเนื่องในการแต่งตั้งพระ. | ฮด (ถิ่น) ก. รด, รดนํ้าให้; พิธีรดนํ้าเนื่องในการแต่งตั้งพระ. |
ฮวงซุ้ย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-วอ-แหวน-งอ-งู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ฝังศพของชาวจีน, ฮวงจุ้ย ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ฮวงซุ้ย น. ที่ฝังศพของชาวจีน, ฮวงจุ้ย ก็ว่า. (จ.). |
ฮวน เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คําที่จีนใช้เรียกคนต่างชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ฮวน น. คําที่จีนใช้เรียกคนต่างชาติ. (จ.). |
ฮ้วนหมู เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู | ดู กระทุงหมาบ้า เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา. | ฮ้วนหมู ดู กระทุงหมาบ้า. |
ฮวบ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างรวดเร็ว (มักใช้แก่กริยาลงหรือทรุด) เช่น ลงฮวบ ทรุดฮวบ. | ฮวบ ว. อย่างรวดเร็ว (มักใช้แก่กริยาลงหรือทรุด) เช่น ลงฮวบ ทรุดฮวบ. |
ฮวบฮาบ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ขึ้น ลงหรือลดอย่างรวดเร็ว. | ฮวบฮาบ ว. อาการที่ขึ้น ลงหรือลดอย่างรวดเร็ว. |
ฮ่อ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง จีนพวกหนึ่งที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน มีมณฑลยูนนานเป็นต้น, จีนฮ่อ ก็เรียก; ลายเส้นที่เขียนเป็นไพรคิ้ว ไพรปาก บนหน้าโขน ประกอบด้วยเส้นสีแดง ดินแดง และสีทอง เรียกว่า ลายฮ่อ หรือ เส้นฮ่อ; ลายที่เขียนเป็นอย่างแถบผ้าสะบัดกลับไปมา ใช้เขียนเพื่อแบ่งภาพเป็นตอน ๆ ในงานจิตรกรรมฝาผนังหรือจิตรกรรมภาพพระบฏ เรียกว่า ลายฮ่อ. | ฮ่อ น. จีนพวกหนึ่งที่มีถิ่นฐานเดิมอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน มีมณฑลยูนนานเป็นต้น, จีนฮ่อ ก็เรียก; ลายเส้นที่เขียนเป็นไพรคิ้ว ไพรปาก บนหน้าโขน ประกอบด้วยเส้นสีแดง ดินแดง และสีทอง เรียกว่า ลายฮ่อ หรือ เส้นฮ่อ; ลายที่เขียนเป็นอย่างแถบผ้าสะบัดกลับไปมา ใช้เขียนเพื่อแบ่งภาพเป็นตอน ๆ ในงานจิตรกรรมฝาผนังหรือจิตรกรรมภาพพระบฏ เรียกว่า ลายฮ่อ. |
ฮ้อ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ฮ้อ (ปาก) ว. ดี. (จ.). |
ฮอกกี้ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง กีฬากลางแจ้งชนิดหนึ่ง เล่นในสนามหรือบนลานนํ้าแข็งก็ได้ ผู้เล่นแบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๑๑ คน ทั้ง ๒ ฝ่ายพยายามใช้ไม้ตีลูกให้เข้าไปในประตูของฝ่ายตรงข้าม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hockey เขียนว่า เอช-โอ-ซี-เค-อี-วาย. | ฮอกกี้ น. กีฬากลางแจ้งชนิดหนึ่ง เล่นในสนามหรือบนลานนํ้าแข็งก็ได้ ผู้เล่นแบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๑๑ คน ทั้ง ๒ ฝ่ายพยายามใช้ไม้ตีลูกให้เข้าไปในประตูของฝ่ายตรงข้าม. (อ. hockey). |
ฮอด เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน และภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง รอด, พ้น, ถึง. | ฮอด (ถิ่นอีสาน, พายัพ) ก. รอด, พ้น, ถึง. |
ฮ่อม, ฮ่อมเมือง ฮ่อม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ฮ่อมเมือง เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นคราม. ในวงเล็บ ดู คราม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓ (๒). | ฮ่อม, ฮ่อมเมือง (ถิ่นพายัพ) น. ต้นคราม. [ดู คราม ๓ (๒)]. |
ฮ่อมดง เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Dichroa febrifuga Lour. ในวงศ์ Hydrangeaceae ดอกสีม่วงนํ้าเงิน ใช้ทํายาได้. | ฮ่อมดง น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Dichroa febrifuga Lour. ในวงศ์ Hydrangeaceae ดอกสีม่วงนํ้าเงิน ใช้ทํายาได้. |
ฮ่อยจ๊อ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-จอ-จาน-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อปู มันหมูแข็งต้มสุก ผสมกับแป้งมันและเครื่องปรุงรส บดหรือโขลกจนเหนียวแล้วห่อด้วยฟองเต้าหู้เป็นท่อน กลม ๆ ยาว ๆ มัดเป็นเปลาะ ๆ นึ่งแล้วทอดให้สุก กินกับน้ำจิ้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ฮ่อยจ๊อ น. ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อปู มันหมูแข็งต้มสุก ผสมกับแป้งมันและเครื่องปรุงรส บดหรือโขลกจนเหนียวแล้วห่อด้วยฟองเต้าหู้เป็นท่อน กลม ๆ ยาว ๆ มัดเป็นเปลาะ ๆ นึ่งแล้วทอดให้สุก กินกับน้ำจิ้ม. (จ.). |
ฮอร์โมน เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สารที่สร้างขึ้นโดยต่อมไร้ท่อของมนุษย์และสัตว์ชั้นสูงอื่น ๆ แล้วหลั่งเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงเพื่อนําไปยังส่วนต่าง ๆ มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของร่างกาย มีหลายชนิด บางชนิดเป็นโปรตีน เช่น อินซูลินบางชนิดเป็นสารเคมีธรรมดา เช่น อะดรีนาลีน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hormone เขียนว่า เอช-โอ-อา-เอ็ม-โอ-เอ็น-อี. | ฮอร์โมน น. สารที่สร้างขึ้นโดยต่อมไร้ท่อของมนุษย์และสัตว์ชั้นสูงอื่น ๆ แล้วหลั่งเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงเพื่อนําไปยังส่วนต่าง ๆ มีหน้าที่ควบคุมการทํางานของร่างกาย มีหลายชนิด บางชนิดเป็นโปรตีน เช่น อินซูลินบางชนิดเป็นสารเคมีธรรมดา เช่น อะดรีนาลีน. (อ. hormone). |
ฮอลแลนด์ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของประเทศเนเธอร์แลนด์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Holland เขียนว่า เอช-โอ-แอล-แอล-เอ-เอ็น-ดี. | ฮอลแลนด์ น. ชื่อหนึ่งของประเทศเนเธอร์แลนด์. (อ. Holland). |
ฮอลันดา เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชนชาติหนึ่ง อยู่ในประเทศฮอลแลนด์หรือเนเธอร์แลนด์, วิลันดา หรือ ชาวดัตช์ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Hollanda เขียนว่า เอช-โอ-แอล-แอล-เอ-เอ็น-ดี-เอ. | ฮอลันดา น. ชื่อชนชาติหนึ่ง อยู่ในประเทศฮอลแลนด์หรือเนเธอร์แลนด์, วิลันดา หรือ ชาวดัตช์ ก็เรียก. (อ. Hollanda). |
ฮะ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกสะดุดใจ แปลกใจ หรือเมื่อชะงัก เป็นต้น. | ฮะ อ. คําที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกสะดุดใจ แปลกใจ หรือเมื่อชะงัก เป็นต้น. |
ฮะฮ้าย, ฮะไฮ้ ฮะฮ้าย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ฮะไฮ้ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความเยาะเย้ย. | ฮะฮ้าย, ฮะไฮ้ (กลอน) อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความเยาะเย้ย. |
ฮะเฮ้ย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาเพื่อดุว่าหรือห้ามเป็นต้น, ฮ้าเฮ้ย ก็ว่า. | ฮะเฮ้ย อ. คำที่เปล่งออกมาเพื่อดุว่าหรือห้ามเป็นต้น, ฮ้าเฮ้ย ก็ว่า. |
ฮะเบสสมอ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง | [หะเบดสะหฺมอ] เป็นคำกริยา หมายถึง กว้านสมอเรือขึ้นเก็บเพื่อนำเรือออก. | ฮะเบสสมอ [หะเบดสะหฺมอ] ก. กว้านสมอเรือขึ้นเก็บเพื่อนำเรือออก. |
ฮะเรียสมอ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง | [หะเรียสะหฺมอ] เป็นคำกริยา หมายถึง ปล่อยโซ่สมอให้ยาวออกไปจากตัวเรือ, ฮะเรียโซ่สมอ ก็ว่า. | ฮะเรียสมอ [หะเรียสะหฺมอ] ก. ปล่อยโซ่สมอให้ยาวออกไปจากตัวเรือ, ฮะเรียโซ่สมอ ก็ว่า. |
ฮัก ๑, ฮัก ๆ ฮัก ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ฮัก ๆ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หอบหรือสะอื้นถี่ ๆ เรียกว่า หอบฮัก ๆ สะอื้นฮัก ๆ. | ฮัก ๑, ฮัก ๆ ว. อาการที่หอบหรือสะอื้นถี่ ๆ เรียกว่า หอบฮัก ๆ สะอื้นฮัก ๆ. |
ฮัก เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน และภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง รัก. | ฮัก ๒ (ถิ่นอีสาน, พายัพ) ก. รัก. |
ฮังเล เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง แกงชนิดหนึ่ง มักใช้หมูสามชั้นหั่นเป็นชิ้นโต ๆ ปรุงด้วยเครื่องแกงเข้าผงกะหรี่ นํ้าแกงข้นและมันมาก. | ฮังเล (ถิ่นพายัพ) น. แกงชนิดหนึ่ง มักใช้หมูสามชั้นหั่นเป็นชิ้นโต ๆ ปรุงด้วยเครื่องแกงเข้าผงกะหรี่ นํ้าแกงข้นและมันมาก. |
ฮัจญ์ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ยอ-หยิง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พิธีปฏิบัติศาสนกิจที่สําคัญในศาสนาอิสลาม ซึ่งจะต้องกระทําที่นครมักกะฮ์ (เมกกะ) ประเทศซาอุดีอาระเบียปัจจุบัน, เขียนเป็น หัจญ์ ก็มี. | ฮัจญ์ น. พิธีปฏิบัติศาสนกิจที่สําคัญในศาสนาอิสลาม ซึ่งจะต้องกระทําที่นครมักกะฮ์ (เมกกะ) ประเทศซาอุดีอาระเบียปัจจุบัน, เขียนเป็น หัจญ์ ก็มี. |
ฮัจญะฮ์ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อะ-ฮอ-นก-ฮูก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหญิงที่ได้ไปทําพิธีฮัจญ์แล้ว, ฮาจญะฮ์ ก็เรียก. | ฮัจญะฮ์ น. เรียกหญิงที่ได้ไปทําพิธีฮัจญ์แล้ว, ฮาจญะฮ์ ก็เรียก. |
ฮัจญี เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชายที่ได้ไปทําพิธีฮัจญ์แล้ว, หะยี หรือ หัจญี ก็เรียก. | ฮัจญี (ปาก) น. เรียกชายที่ได้ไปทําพิธีฮัจญ์แล้ว, หะยี หรือ หัจญี ก็เรียก. |
ฮั่น เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชนชาติโบราณกลุ่มใหญ่ที่มีภูมิลําเนาอยู่ในตอนกลางของทวีปเอเชีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Hun เขียนว่า เอช-ยู-เอ็น และมาจากภาษาสันสกฤต หูณ เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-นอ-เนน. | ฮั่น น. เรียกชนชาติโบราณกลุ่มใหญ่ที่มีภูมิลําเนาอยู่ในตอนกลางของทวีปเอเชีย. (อ. Hun; ส. หูณ). |
ฮั้ว เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง รวมหัวกัน, ร่วมกันกระทำการ, สมยอมกันในการเสนอราคาเพื่อมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ฮั้ว (ปาก) ก. รวมหัวกัน, ร่วมกันกระทำการ, สมยอมกันในการเสนอราคาเพื่อมุ่งหมายมิให้มีการแข่งขันราคาอย่างเป็นธรรม. (จ.). |
ฮา เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะเสียงดังพร้อม ๆ กันเพราะขบขันหรือชอบใจ เช่น นักเรียนฮากันทั้งห้อง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการหัวเราะของคนหมู่มากเพราะขบขันหรือชอบใจ เช่น เสียงฮา. เป็นคำอุทาน หมายถึง คําสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง เช่น แม่ฮา พี่ฮา. | ฮา ก. หัวเราะเสียงดังพร้อม ๆ กันเพราะขบขันหรือชอบใจ เช่น นักเรียนฮากันทั้งห้อง. ว. อาการหัวเราะของคนหมู่มากเพราะขบขันหรือชอบใจ เช่น เสียงฮา. อ. คําสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง เช่น แม่ฮา พี่ฮา. |
ฮาป่า เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งเสียงดังพร้อม ๆ กันแสดงความไม่พอใจหรือขับไล่. | ฮาป่า ก. ส่งเสียงดังพร้อม ๆ กันแสดงความไม่พอใจหรือขับไล่. |
ฮ้า เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาด้วยความตกใจ ประหลาดใจ หรือเพื่อห้าม. | ฮ้า อ. คําที่เปล่งออกมาด้วยความตกใจ ประหลาดใจ หรือเพื่อห้าม. |
ฮ้าไฮ้ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท | เป็นคำอุทาน หมายถึง เสียงลูกคู่ร้องรับในเพลงบางชนิด เช่นเพลงเห่เรือ. | ฮ้าไฮ้ อ. เสียงลูกคู่ร้องรับในเพลงบางชนิด เช่นเพลงเห่เรือ. |
ฮ้าเฮ้ย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาเพื่อดุว่าหรือห้ามเป็นต้น เช่น ฮ้าเฮ้ยเด็กน้อยถอยขยายเสือร้ายจะเดินทาง อย่าเข้ามาขวางจังหวะทำโว้เว้ (ม. ร่ายยาว กุมาร), ฮะเฮ้ย ก็ว่า. | ฮ้าเฮ้ย อ. คำที่เปล่งออกมาเพื่อดุว่าหรือห้ามเป็นต้น เช่น ฮ้าเฮ้ยเด็กน้อยถอยขยายเสือร้ายจะเดินทาง อย่าเข้ามาขวางจังหวะทำโว้เว้ (ม. ร่ายยาว กุมาร), ฮะเฮ้ย ก็ว่า. |
ฮ่างหลวง เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู | ดู กร่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู. | ฮ่างหลวง ดู กร่าง. |
ฮาจญ์ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ยอ-หยิง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชายที่ได้ไปทำพิธีฮัจญ์แล้ว, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง หะยี หัจญี หรือ ฮัจญี. | ฮาจญ์ น. เรียกชายที่ได้ไปทำพิธีฮัจญ์แล้ว, (ปาก) หะยี หัจญี หรือ ฮัจญี. |
ฮาจญะฮ์ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อะ-ฮอ-นก-ฮูก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหญิงที่ได้ไปทำพิธีฮัจญ์แล้ว, ฮัจญะฮ์ ก็เรียก. | ฮาจญะฮ์ น. เรียกหญิงที่ได้ไปทำพิธีฮัจญ์แล้ว, ฮัจญะฮ์ ก็เรียก. |
ฮาม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุ่ง, สว่าง, หาม ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร พฺรหาม เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ฮาม ว. รุ่ง, สว่าง, หาม ก็ว่า. (ข. พฺรหาม). |
ฮาเร็ม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ที่จัดไว้ให้เป็นที่อยู่ของบรรดานางสนมหรือนางบําเรอของพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มีอำนาจ หรือเศรษฐีที่เป็นมุสลิม มักจะเป็นประเทศในแถบเอเชียตะวันออกกลางและอินเดียสมัยที่มุสลิมปกครองเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ harem เขียนว่า เอช-เอ-อา-อี-เอ็ม. | ฮาเร็ม น. สถานที่ที่จัดไว้ให้เป็นที่อยู่ของบรรดานางสนมหรือนางบําเรอของพระเจ้าแผ่นดิน ผู้มีอำนาจ หรือเศรษฐีที่เป็นมุสลิม มักจะเป็นประเทศในแถบเอเชียตะวันออกกลางและอินเดียสมัยที่มุสลิมปกครองเป็นต้น. (อ. harem). |
ฮาห์เนียม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๐๕ สัญลักษณ์ Ha เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hahnium เขียนว่า เอช-เอ-เอช-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม. | ฮาห์เนียม น. ธาตุลําดับที่ ๑๐๕ สัญลักษณ์ Ha เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. (อ. hahnium). |
ฮิจเราะห์ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อศักราชในศาสนาอิสลาม นับตั้งแต่ปีที่พระมะหะหมัดออกจากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินา เริ่มแต่ พ.ศ. ๑๑๒๓. | ฮิจเราะห์ น. ชื่อศักราชในศาสนาอิสลาม นับตั้งแต่ปีที่พระมะหะหมัดออกจากเมืองเมกกะไปเมืองเมดินา เริ่มแต่ พ.ศ. ๑๑๒๓. |
ฮินดู เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อศาสนาหนึ่งที่เกิดในอินเดีย มีวิวัฒนาการมาจากศาสนาพราหมณ์, ผู้นับถือศาสนาฮินดู. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกี่ยวกับศาสนาฮินดู. | ฮินดู น. ชื่อศาสนาหนึ่งที่เกิดในอินเดีย มีวิวัฒนาการมาจากศาสนาพราหมณ์, ผู้นับถือศาสนาฮินดู. ว. ที่เกี่ยวกับศาสนาฮินดู. |
ฮิปโปโปเตมัส เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Hippopotamidae ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในนํ้ามากกว่าบนบก หนังหนาสีนํ้าตาล ริมฝีปากหนา ฟันหน้าและเขี้ยวยาวมาก ถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Hippopotamus amphibius หนักประมาณ ๒,๐๐๐ กิโลกรัม จมูก หู และตาอยู่ตอนบนของหัว เหงื่อสีแดงเรื่อ ๆ และชนิด Choeropsis liberiensis ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าชนิดแรกมาก คือ หนักประมาณ ๒๐๐ กิโลกรัม ตาอยู่ด้านข้าง เหงื่อใส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hippopotamus เขียนว่า เอช-ไอ-พี-พี-โอ-พี-โอ-ที-เอ-เอ็ม-ยู-เอส. | ฮิปโปโปเตมัส น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Hippopotamidae ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ในนํ้ามากกว่าบนบก หนังหนาสีนํ้าตาล ริมฝีปากหนา ฟันหน้าและเขี้ยวยาวมาก ถิ่นกําเนิดอยู่ในทวีปแอฟริกา มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Hippopotamus amphibius หนักประมาณ ๒,๐๐๐ กิโลกรัม จมูก หู และตาอยู่ตอนบนของหัว เหงื่อสีแดงเรื่อ ๆ และชนิด Choeropsis liberiensis ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าชนิดแรกมาก คือ หนักประมาณ ๒๐๐ กิโลกรัม ตาอยู่ด้านข้าง เหงื่อใส. (อ. hippopotamus). |
ฮิสทีเรีย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง โรคจิตชนิดหนึ่ง มีอาการแสดงออกได้หลายแบบโดยไม่เกี่ยวข้องกับความพิการของอวัยวะส่วนใด ๆ ของร่างกาย ผู้ป่วยเป็นโรคนี้เพราะในจิตสํานึกหวังได้รับผลประโยชน์ เช่น หวังการหลุดพ้นจากสภาพแวดล้อมที่บีบคั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hysteria เขียนว่า เอช-วาย-เอส-ที-อี-อา-ไอ-เอ. | ฮิสทีเรีย น. โรคจิตชนิดหนึ่ง มีอาการแสดงออกได้หลายแบบโดยไม่เกี่ยวข้องกับความพิการของอวัยวะส่วนใด ๆ ของร่างกาย ผู้ป่วยเป็นโรคนี้เพราะในจิตสํานึกหวังได้รับผลประโยชน์ เช่น หวังการหลุดพ้นจากสภาพแวดล้อมที่บีบคั้น. (อ. hysteria). |
ฮีเลียม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๒ สัญลักษณ์ He เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๒๐๐,๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ helium เขียนว่า เอช-อี-แอล-ไอ-ยู-เอ็ม. | ฮีเลียม น. ธาตุลําดับที่ ๒ สัญลักษณ์ He เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๒๐๐,๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. (อ. helium). |
ฮึ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือแปลกใจ. | ฮึ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือแปลกใจ. |
ฮึก เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คะนอง, ลําพอง, ร่าเริง, คึก ก็ว่า. | ฮึก ว. คะนอง, ลําพอง, ร่าเริง, คึก ก็ว่า. |
ฮึกหาญ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้าด้วยความคะนอง. | ฮึกหาญ ว. กล้าด้วยความคะนอง. |
ฮึกห้าว เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มุทะลุด้วยความคะนอง. | ฮึกห้าว ว. มุทะลุด้วยความคะนอง. |
ฮึกเหิม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ลำพองใจด้วยความคึกคะนอง, เหิมฮึก ก็ว่า. | ฮึกเหิม ก. ลำพองใจด้วยความคึกคะนอง, เหิมฮึก ก็ว่า. |
ฮึกโหม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ระดมเข้าไปด้วยความคะนอง, โหมฮึก ก็ว่า. | ฮึกโหม ก. ระดมเข้าไปด้วยความคะนอง, โหมฮึก ก็ว่า. |
ฮึกฮัก เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการไม่พอใจ, อาการขัดใจ. | ฮึกฮัก ว. อาการไม่พอใจ, อาการขัดใจ. |
ฮึด เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กลับคิดมุ, กลับรวบรวมกําลังใจทําอย่างเอาจริงเอาจัง. | ฮึด ก. กลับคิดมุ, กลับรวบรวมกําลังใจทําอย่างเอาจริงเอาจัง. |
ฮึดฮัด เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทางไม่พอใจเพราะไม่ได้อย่างใจตนเป็นต้น. | ฮึดฮัด ก. แสดงท่าทางไม่พอใจเพราะไม่ได้อย่างใจตนเป็นต้น. |
ฮึ่ม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ; โดยปริยายหมายถึงการแสดงอาการขู่. เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการโกรธหรือไม่พอใจ ทําท่าว่าจะลงโทษหรือต่อสู้กัน เช่น เดี๋ยวก็ฮึ่มเสียหรอก เขากําลังฮึ่มเข้าหากัน. | ฮึ่ม อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ; โดยปริยายหมายถึงการแสดงอาการขู่. ก. แสดงอาการโกรธหรือไม่พอใจ ทําท่าว่าจะลงโทษหรือต่อสู้กัน เช่น เดี๋ยวก็ฮึ่มเสียหรอก เขากําลังฮึ่มเข้าหากัน. |
ฮึย, ฮึย ๆ ฮึย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-ยอ-ยัก ฮึย ๆ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำอุทาน หมายถึง เสียงร้องไล่หรือกระตุ้นเพื่อเร่งวัวควายให้เดินหรือวิ่ง. | ฮึย, ฮึย ๆ อ. เสียงร้องไล่หรือกระตุ้นเพื่อเร่งวัวควายให้เดินหรือวิ่ง. |
ฮึ่ย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย. | ฮึ่ย อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย. |
ฮืดฮาด เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ถอนใจใหญ่ ยาว ๆ คล้ายเสียงคนที่หายใจไม่สะดวก. | ฮืดฮาด ว. อาการที่ถอนใจใหญ่ ยาว ๆ คล้ายเสียงคนที่หายใจไม่สะดวก. |
ฮือ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง กรูกันเข้ามาหรือออกไป, แตกตื่นชั่วขณะ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ไฟไหม้ลุกลามอย่างรวดเร็ว ในความว่า ไฟลุกฮือ. | ฮือ ๑ ก. กรูกันเข้ามาหรือออกไป, แตกตื่นชั่วขณะ. ว. อาการที่ไฟไหม้ลุกลามอย่างรวดเร็ว ในความว่า ไฟลุกฮือ. |
ฮือ ๒, ฮือ ๆ ฮือ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ฮือ ๆ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงครางของเด็กเมื่อร้องไห้นาน ๆ หรือเสียงครางเมื่อมีอาการไข้หรือหนาวเย็น. | ฮือ ๒, ฮือ ๆ ว. เสียงอย่างเสียงครางของเด็กเมื่อร้องไห้นาน ๆ หรือเสียงครางเมื่อมีอาการไข้หรือหนาวเย็น. |
ฮื่อ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างหมาคําราม; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เสียงแสดงคำรับของผู้ที่มีอำนาจหรือผู้เสมอกัน. | ฮื่อ ว. เสียงอย่างหมาคําราม; (ปาก) เสียงแสดงคำรับของผู้ที่มีอำนาจหรือผู้เสมอกัน. |
ฮื้อ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความรําคาญหรือไม่พอใจ. | ฮื้อ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความรําคาญหรือไม่พอใจ. |
ฮื่อฉี่ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้หูปลาฉลามตุ๋น. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ฮื่อฉี่ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ว่า ครีบปลา . | ฮื่อฉี่ น. ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้หูปลาฉลามตุ๋น. (จ. ฮื่อฉี่ ว่า ครีบปลา). |
ฮื่อแซ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ยำปลาดิบ ๆ ด้วยน้ำส้มและผัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ฮื่อแซ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่ ว่า ปลาดิบ . | ฮื่อแซ น. ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ยำปลาดิบ ๆ ด้วยน้ำส้มและผัก. (จ. ฮื่อแซ ว่า ปลาดิบ). |
ฮุด เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง เป่าชุดให้ไฟลุก, วุด ก็ว่า. | ฮุด ก. เป่าชุดให้ไฟลุก, วุด ก็ว่า. |
ฮุบ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง งับเอาเข้าไว้ในปาก เช่น ปลาฮุบเหยื่อ, โดยปริยายหมายถึงรวบเอาเป็นของตน เช่น ฮุบที่ดินของรัฐมาเป็นของตน. | ฮุบ ก. งับเอาเข้าไว้ในปาก เช่น ปลาฮุบเหยื่อ, โดยปริยายหมายถึงรวบเอาเป็นของตน เช่น ฮุบที่ดินของรัฐมาเป็นของตน. |
ฮุยเลฮุย เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเช่นในเวลายกสามเกลอขึ้นกระแทกบนหัวเสาเข็ม. | ฮุยเลฮุย ว. เสียงร้องบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเช่นในเวลายกสามเกลอขึ้นกระแทกบนหัวเสาเข็ม. |
ฮู้ เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง รู้. | ฮู้ (ถิ่นพายัพ, อีสาน) ก. รู้. |
ฮูก เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ | ดู เค้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒. | ฮูก ดู เค้า ๒. |
ฮูม เขียนว่า ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงฟ้าร้องหรือช้างร้อง. | ฮูม ว. เสียงอย่างเสียงฟ้าร้องหรือช้างร้อง. |
เฮ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่คนหมู่มากพรูกันไปยังที่แห่งเดียวกัน, เฮโล หรือ เฮละโล ก็ว่า. | เฮ ๑ ก. อาการที่คนหมู่มากพรูกันไปยังที่แห่งเดียวกัน, เฮโล หรือ เฮละโล ก็ว่า. |
เฮโลสาระพา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, สาระพา หรือ สาระพาเฮโล ก็ว่า. | เฮโลสาระพา ว. เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, สาระพา หรือ สาระพาเฮโล ก็ว่า. |
เฮ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความสนุกสนานครึกครื้นหรือชอบอกชอบใจ เช่น เช้าฮา เย็นเฮ. | เฮ ๒ ก. แสดงความสนุกสนานครึกครื้นหรือชอบอกชอบใจ เช่น เช้าฮา เย็นเฮ. |
เฮฮา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงหรืออาการแสดงความสนุกสนานครึกครื้น. | เฮฮา ว. เสียงหรืออาการแสดงความสนุกสนานครึกครื้น. |
เฮกตาร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยมาตราวัดพื้นที่ตามวิธีเมตริก ๑ เฮกตาร์เท่ากับ ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร หรือประมาณ ๖ ไร่ ๑ งาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hectare เขียนว่า เอช-อี-ซี-ที-เอ-อา-อี. | เฮกตาร์ น. หน่วยมาตราวัดพื้นที่ตามวิธีเมตริก ๑ เฮกตาร์เท่ากับ ๑๐,๐๐๐ ตารางเมตร หรือประมาณ ๖ ไร่ ๑ งาน. (อ. hectare). |
เฮกโตกรัม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า ฮก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hectogramme เขียนว่า เอช-อี-ซี-ที-โอ-จี-อา-เอ-เอ็ม-เอ็ม-อี. | เฮกโตกรัม น. หน่วยมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า ฮก. (อ. hectogramme). |
เฮกโตเมตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า ฮม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hectometre เขียนว่า เอช-อี-ซี-ที-โอ-เอ็ม-อี-ที-อา-อี. | เฮกโตเมตร น. หน่วยมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า ฮม. (อ. hectometre). |
เฮกโตลิตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ฮล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hectolitre เขียนว่า เอช-อี-ซี-ที-โอ-แอล-ไอ-ที-อา-อี. | เฮกโตลิตร น. หน่วยมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ฮล. (อ. hectolitre). |
เฮง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โชคดี, เคราะห์ดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน เฮง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-งอ-งู ว่า โชคดี . | เฮง (ปาก) ว. โชคดี, เคราะห์ดี. (จ. เฮง ว่า โชคดี). |
เฮงซวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-งอ-งู-ซอ-โซ่-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอาแน่นอนอะไรไม่ได้, คุณภาพต่ำ, ไม่ดี, เช่น คนเฮงซวย ของเฮงซวย เรื่องเฮงซวย. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน เฮง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-งอ-งู ว่า โชคดี, ซวย ว่า เคราะห์ร้าย, เฮงซวย ว่า ไม่แน่นอน . | เฮงซวย (ปาก) ว. เอาแน่นอนอะไรไม่ได้, คุณภาพต่ำ, ไม่ดี, เช่น คนเฮงซวย ของเฮงซวย เรื่องเฮงซวย. (จ. เฮง ว่า โชคดี, ซวย ว่า เคราะห์ร้าย, เฮงซวย ว่า ไม่แน่นอน). |
เฮ็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง ทํา. | เฮ็ด (ถิ่นอีสาน) ก. ทํา. |
เฮโมโกลบิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [โกฺล] เป็นคำนาม หมายถึง สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นําออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบินและออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ haemoglobin เขียนว่า เอช-เอ-อี-เอ็ม-โอ-จี-แอล-โอ-บี-ไอ-เอ็น. | เฮโมโกลบิน [โกฺล] น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นําออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบินและออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. (อ. haemoglobin). |
เฮย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง เช่น น้องเฮย เจ้าเฮย. | เฮย อ. คำสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง เช่น น้องเฮย เจ้าเฮย. |
เฮ่ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาแสดงความขัดแย้งไม่เห็นด้วยหรือเห็นว่าไม่สำคัญเป็นต้น. | เฮ่ย อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความขัดแย้งไม่เห็นด้วยหรือเห็นว่าไม่สำคัญเป็นต้น. |
เฮ้ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเพื่อให้รู้ตัวหรือให้ยั้งเป็นต้น. | เฮ้ย อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อให้รู้ตัวหรือให้ยั้งเป็นต้น. |
เฮโรอีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอินทรีย์ประเภทอนุพันธ์ของมอร์ฟีน มีสูตร C17H17NO (C2H3O2)2 ชื่อทางเคมี คือ ไดอะเซทิลมอร์ฟีน ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๑๗๓°ซ. เป็นยาเสพติดอย่างร้ายแรงและมีพิษมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ heroin เขียนว่า เอช-อี-อา-โอ-ไอ-เอ็น. | เฮโรอีน น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทอนุพันธ์ของมอร์ฟีน มีสูตร C17H17NO (C2H3O2)2 ชื่อทางเคมี คือ ไดอะเซทิลมอร์ฟีน ลักษณะเป็นผลึกสีขาว หลอมละลายที่ ๑๗๓°ซ. เป็นยาเสพติดอย่างร้ายแรงและมีพิษมาก. (อ. heroin). |
เฮลิคอปเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง อากาศยานชนิดหนึ่งซึ่งหนักกว่าอากาศ ไม่มีปีก มีใบพัดขนาดใหญ่ติดตั้งเหนือลําตัว ใบพัดหมุนรอบตัวในแนวนอน ทําหน้าที่ช่วยพยุงตัวและบังคับให้บินไปตามทิศทางที่ต้องการได้ ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อนและบินขึ้นลงในแนวยืนได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ helicopter เขียนว่า เอช-อี-แอล-ไอ-ซี-โอ-พี-ที-อี-อา. | เฮลิคอปเตอร์ น. อากาศยานชนิดหนึ่งซึ่งหนักกว่าอากาศ ไม่มีปีก มีใบพัดขนาดใหญ่ติดตั้งเหนือลําตัว ใบพัดหมุนรอบตัวในแนวนอน ทําหน้าที่ช่วยพยุงตัวและบังคับให้บินไปตามทิศทางที่ต้องการได้ ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อนและบินขึ้นลงในแนวยืนได้. (อ. helicopter). |
เฮโล, เฮละโล เฮโล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง เฮละโล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่คนหมู่มากพรูกันไปยังที่แห่งเดียวกัน, เฮ ก็ว่า. | เฮโล, เฮละโล ก. อาการที่คนหมู่มากพรูกันไปยังที่แห่งเดียวกัน, เฮ ก็ว่า. |
เฮโลสาระพา, เฮละโลสาระพา เฮโลสาระพา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา เฮละโลสาระพา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, สาระพา หรือ สาระพาเฮโล ก็ว่า. | เฮโลสาระพา, เฮละโลสาระพา ว. เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, สาระพา หรือ สาระพาเฮโล ก็ว่า. |
เฮ้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาเพื่อเยาะให้เก้อ, เอ๊ว ก็ว่า. | เฮ้ว อ. คําที่เปล่งออกมาเพื่อเยาะให้เก้อ, เอ๊ว ก็ว่า. |
เฮอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความโล่งใจ. | เฮอ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความโล่งใจ. |
เฮ่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาแสดงความดูแคลนหรือไม่เชื่อถือ. | เฮ่อ อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความดูแคลนหรือไม่เชื่อถือ. |
เฮ้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความเบื่อหน่ายหรือไม่ถูกใจเป็นต้น. | เฮ้อ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความเบื่อหน่ายหรือไม่ถูกใจเป็นต้น. |
เฮอริเคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพายุที่มีความเร็วลมเช่นเดียวกับพายุไต้ฝุ่น แต่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และภาคตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ, ลมสลาตัน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hurricane เขียนว่า เอช-ยู-อา-อา-ไอ-ซี-เอ-เอ็น-อี. | เฮอริเคน น. ชื่อพายุที่มีความเร็วลมเช่นเดียวกับพายุไต้ฝุ่น แต่เกิดในมหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และภาคตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ, ลมสลาตัน ก็เรียก. (อ. hurricane). |
เฮิรตซ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-ซอ-โซ่-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดความถี่ ใช้สัญลักษณ์ Hz ๑ เฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑ ไซเกิลต่อวินาที. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hertz เขียนว่า เอช-อี-อา-ที-แซด. | เฮิรตซ์ (ฟิสิกส์) น. หน่วยวัดความถี่ ใช้สัญลักษณ์ Hz ๑ เฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑ ไซเกิลต่อวินาที. (อ. hertz). |
เฮี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกําลังแรงหรือมีอํานาจศักดิ์สิทธิ์ที่อาจบันดาลให้เป็นไปได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | เฮี้ยน (ปาก) ว. มีกําลังแรงหรือมีอํานาจศักดิ์สิทธิ์ที่อาจบันดาลให้เป็นไปได้. (จ.). |
เฮี้ยบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เข้มงวดกวดขัน, เคร่งครัด, เจ้าระเบียบ. | เฮี้ยบ (ปาก) ก. เข้มงวดกวดขัน, เคร่งครัด, เจ้าระเบียบ. |
เฮี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการเกะกะ, อาละวาด, ตีรวน, ขัดขืนไม่ยอมทํา. | เฮี้ยว (ปาก) ก. แสดงอาการเกะกะ, อาละวาด, ตีรวน, ขัดขืนไม่ยอมทํา. |
เฮือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ถอนใจใหญ่เนื่องจากเหนื่อยหน่ายหรือโล่งใจเป็นต้น ในคําว่า ถอนใจเฮือก, คําประกอบอาการไหวหรือสะดุ้ง แสดงว่า ไหวอย่างแรง เช่น เรือนไหวเฮือก หรือสะดุ้งทันที ในคําว่า สะดุ้งเฮือก. | เฮือก ว. อาการที่ถอนใจใหญ่เนื่องจากเหนื่อยหน่ายหรือโล่งใจเป็นต้น ในคําว่า ถอนใจเฮือก, คําประกอบอาการไหวหรือสะดุ้ง แสดงว่า ไหวอย่างแรง เช่น เรือนไหวเฮือก หรือสะดุ้งทันที ในคําว่า สะดุ้งเฮือก. |
เฮือก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ถอนใจใหญ่ซํ้า ๆ ด้วยความกลัดกลุ้ม. | เฮือก ๆ ว. อาการที่ถอนใจใหญ่ซํ้า ๆ ด้วยความกลัดกลุ้ม. |
เฮือกสุดท้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ครั้งสุดท้าย ในคําว่า หายใจเฮือกสุดท้าย, โดยปริยายหมายถึงการต่อสู้ดิ้นรนครั้งสุดท้าย. | เฮือกสุดท้าย น. ครั้งสุดท้าย ในคําว่า หายใจเฮือกสุดท้าย, โดยปริยายหมายถึงการต่อสู้ดิ้นรนครั้งสุดท้าย. |
เฮือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เรือน. | เฮือน (ถิ่นพายัพ, อีสาน) น. เรือน. |
แฮ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง. | แฮ อ. คำสร้อยที่ใช้ในบทร้อยกรอง. |
แฮ่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงหมาคําราม, แห้ ก็ใช้. | แฮ่ ว. เสียงอย่างเสียงหมาคําราม, แห้ ก็ใช้. |
แฮก, แฮก ๆ แฮก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่ แฮก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หอบเพราะเหนื่อยมาก. | แฮก, แฮก ๆ ว. อาการที่หอบเพราะเหนื่อยมาก. |
แฮ่กึ๊น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อึ-ไม้-ตรี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อกุ้งผสมแป้งมันและเครื่องปรุงรส บดหรือโขลกจนเหนียวแล้วห่อด้วยฟองเต้าหู้เป็นท่อนกลม ๆ ยาว ๆ นึ่งแล้วทอดให้สุกกินกับน้ำจิ้ม. | แฮ่กึ๊น น. ชื่ออาหารแบบจีนชนิดหนึ่ง ใช้เนื้อกุ้งผสมแป้งมันและเครื่องปรุงรส บดหรือโขลกจนเหนียวแล้วห่อด้วยฟองเต้าหู้เป็นท่อนกลม ๆ ยาว ๆ นึ่งแล้วทอดให้สุกกินกับน้ำจิ้ม. |
แฮนด์บอล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกีฬาอย่างหนึ่ง คล้ายฟุตบอล แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๗ คน รวมทั้งผู้รักษาประตู ผู้เล่นแต่ละฝ่ายใช้วิธีขว้างหรือปาลูกบอลแทนการเตะ; ในกติกาในกีฬาฟุตบอล ถ้าลูกบอลถูกมือผู้เล่นนอกจากผู้รักษาประตู ถือว่าเป็นการผิดกติกา เรียกว่า เป็นแฮนด์บอล จะต้องถูกลงโทษโดยให้อีกฝ่ายหนึ่งเตะกินเปล่าหรือเตะลูกโทษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ handball เขียนว่า เอช-เอ-เอ็น-ดี-บี-เอ-แอล-แอล. | แฮนด์บอล น. ชื่อกีฬาอย่างหนึ่ง คล้ายฟุตบอล แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๗ คน รวมทั้งผู้รักษาประตู ผู้เล่นแต่ละฝ่ายใช้วิธีขว้างหรือปาลูกบอลแทนการเตะ; ในกติกาในกีฬาฟุตบอล ถ้าลูกบอลถูกมือผู้เล่นนอกจากผู้รักษาประตู ถือว่าเป็นการผิดกติกา เรียกว่า เป็นแฮนด์บอล จะต้องถูกลงโทษโดยให้อีกฝ่ายหนึ่งเตะกินเปล่าหรือเตะลูกโทษ. (อ. handball). |
แฮฟเนียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๗๒ สัญลักษณ์ Hf เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา หลอมละลายที่ ๒๑๕๐°ซ. ใช้ประโยชน์เป็นแท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นตัวทำความเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hafnium เขียนว่า เอช-เอ-เอฟ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม. | แฮฟเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๗๒ สัญลักษณ์ Hf เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา หลอมละลายที่ ๒๑๕๐°ซ. ใช้ประโยชน์เป็นแท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นตัวทำความเย็น. (อ. hafnium). |
แฮม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ขาหลังของหมูแช่น้ำเกลือแล้วรมควัน, หมูแฮม ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ham เขียนว่า เอช-เอ-เอ็ม. | แฮม น. ขาหลังของหมูแช่น้ำเกลือแล้วรมควัน, หมูแฮม ก็ว่า. (อ. ham). |
แฮะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายคําเพื่อเน้นความให้หนักแน่นขึ้น. | แฮะ (ปาก) ว. คําประกอบท้ายคําเพื่อเน้นความให้หนักแน่นขึ้น. |
โฮ, โฮ ๆ โฮ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก โฮ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ร้องไห้ดัง ๆ. | โฮ, โฮ ๆ ว. อาการที่ร้องไห้ดัง ๆ. |
โฮก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการคำรามของเสือ, อาการเห่ากระโชกของหมา; เสียงซดอาหารที่เป็นนํ้าดัง ๆ. | โฮก ว. อาการคำรามของเสือ, อาการเห่ากระโชกของหมา; เสียงซดอาหารที่เป็นนํ้าดัง ๆ. |
โฮกอือ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, ต้มโคล้ง ก็เรียก. | โฮกอือ น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้ปลาแห้งหรือหัวปลาแห้งเป็นต้นต้มกับหัวหอม ส้มมะขามหรือใบมะขามอ่อน แล้วเติมเกลือให้ออกรสเปรี้ยวเค็ม, ต้มโคล้ง ก็เรียก. |
โฮกฮาก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-กอ-ไก่-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, มักใช้เข้าคู่กับคำ กระโชก เป็น กระโชกโฮกฮาก. | โฮกฮาก ว. อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, มักใช้เข้าคู่กับคำ กระโชก เป็น กระโชกโฮกฮาก. |
โฮ่ง, โฮ่ง ๆ, โฮ้ง, โฮ้ง ๆ โฮ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-งอ-งู โฮ่ง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก โฮ้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-งอ-งู โฮ้ง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงหมาเห่ากระโชก. | โฮ่ง, โฮ่ง ๆ, โฮ้ง, โฮ้ง ๆ ว. เสียงหมาเห่ากระโชก. |
โฮเต็ล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-ไต่-คู้-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง โรงแรม, ที่พักคนเดินทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hotel เขียนว่า เอช-โอ-ที-อี-แอล. | โฮเต็ล (ปาก) น. โรงแรม, ที่พักคนเดินทาง. (อ. hotel). |
โฮลเมียม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | [โฮน] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖๗ สัญลักษณ์ Ho เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๔๖๑°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ holmium เขียนว่า เอช-โอ-แอล-เอ็ม-ไอ-ยู-เอ็ม. | โฮลเมียม [โฮน] น. ธาตุลําดับที่ ๖๗ สัญลักษณ์ Ho เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๔๖๑°ซ. (อ. holmium). |
โฮะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้อาหารที่เหลือหลาย ๆ ชนิดมารวมกันแล้วใส่วุ้นเส้น หน่อไม้ดอง เรียกว่า แกงโฮะ. | โฮะ (ถิ่นพายัพ) น. ชื่อแกงชนิดหนึ่ง ใช้อาหารที่เหลือหลาย ๆ ชนิดมารวมกันแล้วใส่วุ้นเส้น หน่อไม้ดอง เรียกว่า แกงโฮะ. |
ไฮ้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-โท | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงความประหลาดใจหรือเพื่อห้ามปรามขัดขวางเป็นต้น. | ไฮ้ อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงความประหลาดใจหรือเพื่อห้ามปรามขัดขวางเป็นต้น. |
ไฮโกรมิเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [โกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับวัดความชื้นในอากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hygrometer เขียนว่า เอช-วาย-จี-อา-โอ-เอ็ม-อี-ที-อี-อา. | ไฮโกรมิเตอร์ [โกฺร] น. เครื่องมือสําหรับวัดความชื้นในอากาศ. (อ. hygrometer). |
ไฮดรา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [ดฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกสัตว์นํ้าจืดไม่มีกระดูกสันหลังหลายสกุล ในวงศ์ Hydridae ลําตัวทรงกระบอก ข้างในกลวง ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีเนื้อเยื่อ ๒ ชั้น ยืดหดตัวได้ มีหนวด ๔๑๒ เส้น เช่น สกุล Hydra. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydra เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-เอ. | ไฮดรา [ดฺรา] น. ชื่อเรียกสัตว์นํ้าจืดไม่มีกระดูกสันหลังหลายสกุล ในวงศ์ Hydridae ลําตัวทรงกระบอก ข้างในกลวง ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร มีเนื้อเยื่อ ๒ ชั้น ยืดหดตัวได้ มีหนวด ๔๑๒ เส้น เช่น สกุล Hydra. (อ. hydra). |
ไฮโดรคาร์บอน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู | [โดฺร] เป็นคำนาม หมายถึง สารอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเท่านั้น เช่น มีเทน (CH4) เอทิลีน (C2H4) อะเซทิลีน (C2H2) เบนซีน (C6H6). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydrocarbon เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-ซี-เอ-อา-บี-โอ-เอ็น. | ไฮโดรคาร์บอน [โดฺร] น. สารอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเท่านั้น เช่น มีเทน (CH4) เอทิลีน (C2H4) อะเซทิลีน (C2H2) เบนซีน (C6H6). (อ. hydrocarbon). |
ไฮโดรเจน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู | [โดฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑ สัญลักษณ์ H เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไวไฟมาก เบาที่สุดในบรรดาแก๊สทั้งสิ้น ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์แก๊สแอมโมเนีย เมทิลแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมทําให้นํ้ามันพืชแข็งตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น. | ไฮโดรเจน [โดฺร] น. ธาตุลําดับที่ ๑ สัญลักษณ์ H เป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไวไฟมาก เบาที่สุดในบรรดาแก๊สทั้งสิ้น ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมสังเคราะห์แก๊สแอมโมเนีย เมทิลแอลกอฮอล์ อุตสาหกรรมทําให้นํ้ามันพืชแข็งตัว. (อ. hydrogen). |
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู-ซอ-โซ่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด | [โดฺร] เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า เป็นแก๊สพิษประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและกํามะถัน มีสูตร H2S เกิดขึ้นในธรรมชาติเนื่องจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกํามะถัน, แก๊สไข่เน่า ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น sulphide เขียนว่า เอส-ยู-แอล-พี-เอช-ไอ-ดี-อี . | ไฮโดรเจนซัลไฟด์ [โดฺร] น. แก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี มีกลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า เป็นแก๊สพิษประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและกํามะถัน มีสูตร H2S เกิดขึ้นในธรรมชาติเนื่องจากการเน่าเปื่อยผุพังของสารอินทรีย์ที่ประกอบด้วยกํามะถัน, แก๊สไข่เน่า ก็เรียก. (อ. hydrogen sulphide). |
ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ซอ-โซ่-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด | [โดฺร] เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร H2O2 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค และตัวฟอกจาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydrogen เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-จี-อี-เอ็น peroxide เขียนว่า พี-อี-อา-โอ-เอ็กซ์-ไอ-ดี-อี . | ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ [โดฺร] น. สารประกอบอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง มีสูตร H2O2 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรค และตัวฟอกจาง. (อ. hydrogen peroxide). |
ไฮโดรมิเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [โดฺร] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับวัดความถ่วงจําเพาะของของเหลว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hydrometer เขียนว่า เอช-วาย-ดี-อา-โอ-เอ็ม-อี-ที-อี-อา. | ไฮโดรมิเตอร์ [โดฺร] น. เครื่องมือสําหรับวัดความถ่วงจําเพาะของของเหลว. (อ. hydrometer). |
ไฮไฟ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน | เป็นคำนาม หมายถึง ระบบขยายสัญญาณไฟฟ้าเพื่อเปลี่ยนเป็นคลื่นเสียงออกมาได้โดยไม่เพี้ยนเลย ในช่วงความถี่ที่มนุษย์ได้ยินได้, มาจากคํา ไฮฟิเดลิตี (highfidelity). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hifi เขียนว่า เอช-ไอ-เอฟ-ไอ. | ไฮไฟ น. ระบบขยายสัญญาณไฟฟ้าเพื่อเปลี่ยนเป็นคลื่นเสียงออกมาได้โดยไม่เพี้ยนเลย ในช่วงความถี่ที่มนุษย์ได้ยินได้, มาจากคํา ไฮฟิเดลิตี (highfidelity). (อ. hifi). |
ไฮโล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง เล่นด้วยการทอดลูกเต๋า ๓ ลูก แล้วนับแต้มที่ออกทั้ง ๓ ลูกรวมกัน โดยกำหนดแต้ม ๑๒๑๘ เป็นสูง (ไฮ) ๓๑๐ เป็นต่ำ (โล) และ ๑๑ เป็นไฮโล. | ไฮโล น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง เล่นด้วยการทอดลูกเต๋า ๓ ลูก แล้วนับแต้มที่ออกทั้ง ๓ ลูกรวมกัน โดยกำหนดแต้ม ๑๒๑๘ เป็นสูง (ไฮ) ๓๑๐ เป็นต่ำ (โล) และ ๑๑ เป็นไฮโล. |
ไฮฮี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อี | ดู ไกร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ และ ไทร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ. | ไฮฮี ดู ไกร ๑ และ ไทร. |