แหว่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-งอ-งู | [แหฺว่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เต็มตามที่ควรมี เช่น ปากแหว่ง ตัดผมแหว่ง กินขนมแหว่งไปหน่อย. | แหว่ง [แหฺว่ง] ว. ไม่เต็มตามที่ควรมี เช่น ปากแหว่ง ตัดผมแหว่ง กินขนมแหว่งไปหน่อย. |
แหวด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | [แหฺวด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือแจวชนิดหนึ่ง มีเก๋งรูปยาว ๆ ท้ายโตและสูง เรียก เรือแหวด. | แหวด [แหฺวด] น. ชื่อเรือแจวชนิดหนึ่ง มีเก๋งรูปยาว ๆ ท้ายโตและสูง เรียก เรือแหวด. |
แหวน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู | [แหฺวน] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับสําหรับสวมนิ้วทําด้วยเงินหรือทองเป็นต้น, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นวงว่า วงแหวน เช่น ถนนวงแหวน พื้นที่วงแหวน. | แหวน [แหฺวน] น. เครื่องประดับสําหรับสวมนิ้วทําด้วยเงินหรือทองเป็นต้น, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเป็นวงว่า วงแหวน เช่น ถนนวงแหวน พื้นที่วงแหวน. |
แหวนหัว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง แหวนที่ฝังพลอยเม็ดใหญ่เม็ดเดียวนูนขึ้น. | แหวนหัว น. แหวนที่ฝังพลอยเม็ดใหญ่เม็ดเดียวนูนขึ้น. |
แหวะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | [แหฺวะ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งที่มีคมกรีดให้เป็นช่องตามที่ต้องการ เช่น แหวะท้องปลา; อาการที่เด็กเล็ก ๆ สํารอกอาหารหรือยาออกมา. เป็นคำนาม หมายถึง อาหารหรือยาที่ล้นกระเพาะเด็กเล็ก ๆ ออกมาทางปาก. | แหวะ [แหฺวะ] ก. เอาสิ่งที่มีคมกรีดให้เป็นช่องตามที่ต้องการ เช่น แหวะท้องปลา; อาการที่เด็กเล็ก ๆ สํารอกอาหารหรือยาออกมา. น. อาหารหรือยาที่ล้นกระเพาะเด็กเล็ก ๆ ออกมาทางปาก. |
แหะ, แหะ ๆ แหะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ แหะ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงคนหัวเราะมีเสียงเช่นนั้น. เป็นคำกริยา หมายถึง ทำเสียงดังเช่นนั้น เช่น เขาไม่พูดอะไรได้แต่แหะ ๆ. | แหะ, แหะ ๆ ว. เสียงคนหัวเราะมีเสียงเช่นนั้น. ก. ทำเสียงดังเช่นนั้น เช่น เขาไม่พูดอะไรได้แต่แหะ ๆ. |
โห่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก | เป็นคำอุทาน หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาดังเช่นนั้น เป็นเสียงนําเพื่อแสดงความพร้อมเพรียงในการรื่นเริงหรือการมงคลเป็นต้น. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําเสียงเช่นนั้น; โดยปริยายหมายความว่า เย้ยให้ โดยทำเสียงเช่นนั้น. | โห่ อ. เสียงที่เปล่งออกมาดังเช่นนั้น เป็นเสียงนําเพื่อแสดงความพร้อมเพรียงในการรื่นเริงหรือการมงคลเป็นต้น. ก. ทําเสียงเช่นนั้น; โดยปริยายหมายความว่า เย้ยให้ โดยทำเสียงเช่นนั้น. |
โหก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ช่อง, ระวาง. | โหก ๑ น. ช่อง, ระวาง. |
โหก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง โงกหลับ. | โหก ๒ ก. โงกหลับ. |
โหง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ผี; เรียกการตายผิดธรรมดาโดยอาการร้าย เช่นถูกฆ่าตาย ตกนํ้าตาย ว่า ตายโหง. | โหง ๑ น. ผี; เรียกการตายผิดธรรมดาโดยอาการร้าย เช่นถูกฆ่าตาย ตกนํ้าตาย ว่า ตายโหง. |
โหงพราย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ผีที่เขาปลุกเสกไว้ใช้. | โหงพราย น. ผีที่เขาปลุกเสกไว้ใช้. |
โหง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง กระดกขึ้น, ยกขึ้น, เช่น เกวียนโหง. | โหง ๒ ก. กระดกขึ้น, ยกขึ้น, เช่น เกวียนโหง. |
โหด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไร้, ไม่มี, เช่น นกไร้ไม้โหด, ยากไร้ เช่น เพราะเห็นกูโหดหืน แลดูแคลนกูกลใด ด่งงนี้. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี. | โหด ๑ (โบ) ว. ไร้, ไม่มี, เช่น นกไร้ไม้โหด, ยากไร้ เช่น เพราะเห็นกูโหดหืน แลดูแคลนกูกลใด ด่งงนี้. (ม. คำหลวง มัทรี). |
โหด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่ว, ร้าย, เช่น ใจโหด; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ยากมาก เช่น ข้อสอบวิชานี้โหด; เข้มงวดมาก เช่น ครูคนนี้โหด. | โหด ๒ ว. ชั่ว, ร้าย, เช่น ใจโหด; (ปาก) ยากมาก เช่น ข้อสอบวิชานี้โหด; เข้มงวดมาก เช่น ครูคนนี้โหด. |
โหดร้าย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายกาจ. | โหดร้าย ว. ร้ายกาจ. |
โหดเหี้ยม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดุร้ายทารุณ, เหี้ยมโหด ก็ว่า. | โหดเหี้ยม ว. ดุร้ายทารุณ, เหี้ยมโหด ก็ว่า. |
โหน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-นอ-หนู | [โหนฺ] เป็นคำกริยา หมายถึง เหนี่ยวห้อย, เอามือเหนี่ยวให้ตัวลอยขึ้นไป; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ประจบประแจง เช่น เขามีนิสัยชอบโหนผู้บังคับบัญชา. | โหน [โหนฺ] ก. เหนี่ยวห้อย, เอามือเหนี่ยวให้ตัวลอยขึ้นไป; (ปาก) ประจบประแจง เช่น เขามีนิสัยชอบโหนผู้บังคับบัญชา. |
โหนก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-กอ-ไก่ | [โหฺนก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นูนยื่นออกมา เช่น หน้าผากโหนก. | โหนก [โหฺนก] ว. นูนยื่นออกมา เช่น หน้าผากโหนก. |
โหนกแก้ม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของแก้มตรงที่มีกระดูกนูนออกมา. | โหนกแก้ม น. ส่วนของแก้มตรงที่มีกระดูกนูนออกมา. |
โหน่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-งอ-งู | [โหฺน่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงอย่างเสียงตีฆ้องวง. | โหน่ง [โหฺน่ง] ว. มีเสียงอย่างเสียงตีฆ้องวง. |
โหม ๑, โหม โหม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า โหม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า | [โหมะ] เป็นคำนาม หมายถึง การเซ่นแก่เทพดาของพวกพราหมณ์โดยใช้เนยเผาในไฟ; การบูชายัญ, การเซ่นสรวงทั้งปวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โหม ๑, โหม [โหมะ] น. การเซ่นแก่เทพดาของพวกพราหมณ์โดยใช้เนยเผาในไฟ; การบูชายัญ, การเซ่นสรวงทั้งปวง. (ป., ส.). |
โหมกรรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง พิธีเซ่นสรวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต โหม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า + กรฺมนฺ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ . | โหมกรรม น. พิธีเซ่นสรวง. (ส. โหม + กรฺมนฺ). |
โหมกูณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พิธีพราหมณ์เกี่ยวแก่การบูชาไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | โหมกูณฑ์ น. พิธีพราหมณ์เกี่ยวแก่การบูชาไฟ. (ส.). |
โหม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | [โหมฺ] เป็นคำกริยา หมายถึง ระดม เช่น โหมกําลัง โหมไฟ. | โหม ๒ [โหมฺ] ก. ระดม เช่น โหมกําลัง โหมไฟ. |
โหมโรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง การประโคมดนตรีก่อนมหรสพลงโรง; เพลงเริ่มต้นของการบรรเลงหรือการแสดง เพื่อบอกให้ทราบว่าพิธีหรืองานนั้นได้เริ่มขึ้นแล้ว แบ่งเป็นหลายชนิดตามลักษณะของงาน มหรสพที่แสดง และการบรรเลง เช่น โหมโรงเย็น โหมโรงเช้า โหมโรงเทศน์. | โหมโรง น. การประโคมดนตรีก่อนมหรสพลงโรง; เพลงเริ่มต้นของการบรรเลงหรือการแสดง เพื่อบอกให้ทราบว่าพิธีหรืองานนั้นได้เริ่มขึ้นแล้ว แบ่งเป็นหลายชนิดตามลักษณะของงาน มหรสพที่แสดง และการบรรเลง เช่น โหมโรงเย็น โหมโรงเช้า โหมโรงเทศน์. |
โหมหัก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ระดมเข้าไปด้วยกําลังให้แตกหัก, หักโหม ก็ว่า. | โหมหัก ก. ระดมเข้าไปด้วยกําลังให้แตกหัก, หักโหม ก็ว่า. |
โหมฮึก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ระดมเข้าไปด้วยความคะนอง, ฮึกโหม ก็ว่า. | โหมฮึก ก. ระดมเข้าไปด้วยความคะนอง, ฮึกโหม ก็ว่า. |
โหม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓ | [โหมฺ] เป็นคำนาม หมายถึง ผักโหม. ในวงเล็บ ดู ขม เขียนว่า ขอ-ไข่-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ (๑). | โหม ๓ [โหมฺ] น. ผักโหม. [ดู ขม ๒ (๑)]. |
โหม่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก | [โหฺม่] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง โผล่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โด่ เช่น นั่งหัวโหม่. | โหม่ [โหฺม่] (ปาก) ก. โผล่. ว. โด่ เช่น นั่งหัวโหม่. |
โหม่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [โหฺม่ง] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาหัวรับหรือกระแทกลูกตะกร้อหรือฟุตบอลเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ่งหนึ่งตกลงมากระแทกพื้นอย่างแรง เช่น หัวโหม่งพื้นเครื่องบินโหม่งโลก. | โหม่ง ๑ [โหฺม่ง] ก. เอาหัวรับหรือกระแทกลูกตะกร้อหรือฟุตบอลเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ่งหนึ่งตกลงมากระแทกพื้นอย่างแรง เช่น หัวโหม่งพื้นเครื่องบินโหม่งโลก. |
โหม่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [โหฺม่ง] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ฆ้องคู่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงฆ้อง. | โหม่ง ๒ [โหฺม่ง] (ถิ่นปักษ์ใต้) น. ฆ้องคู่. ว. เสียงอย่างเสียงฆ้อง. |
โหมด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก | [โหฺมด] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าชนิดหนึ่งซึ่งเดิมทําด้วยกระดาษทองตัดเป็นเส้นเหมือนเส้นทอง แล้วทอกับไหม ต่อมาใช้กระดาษเงินกระดาษทองพันเส้นไหมทอกับไหมสี ว่า ผ้าโหมด. | โหมด [โหฺมด] น. เรียกผ้าชนิดหนึ่งซึ่งเดิมทําด้วยกระดาษทองตัดเป็นเส้นเหมือนเส้นทอง แล้วทอกับไหม ต่อมาใช้กระดาษเงินกระดาษทองพันเส้นไหมทอกับไหมสี ว่า ผ้าโหมด. |
โหมดเทศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าโหมดที่ทํามาจากอินเดีย. | โหมดเทศ น. ผ้าโหมดที่ทํามาจากอินเดีย. |
โหย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก | [โหยฺ] เป็นคำกริยา หมายถึง อ่อนกําลัง, อ่อนใจ; ครวญถึง, รํ่าร้อง; มักใช้ประกอบคำอื่น ๆ เช่น โหยหา โหยหิว โหยหวน โหยไห้. | โหย [โหยฺ] ก. อ่อนกําลัง, อ่อนใจ; ครวญถึง, รํ่าร้อง; มักใช้ประกอบคำอื่น ๆ เช่น โหยหา โหยหิว โหยหวน โหยไห้. |
โหยหวน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของเสียงที่คร่ำครวญด้วยความเสียใจหรือเจ็บปวดเป็นต้น ทำให้รู้สึกวังเวงใจ. | โหยหวน ว. ลักษณะของเสียงที่คร่ำครวญด้วยความเสียใจหรือเจ็บปวดเป็นต้น ทำให้รู้สึกวังเวงใจ. |
โหยหา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง คร่ำครวญถึงบุคคลผู้เป็นที่รักซึ่งพลัดพรากจากไปเป็นต้น. | โหยหา ก. คร่ำครวญถึงบุคคลผู้เป็นที่รักซึ่งพลัดพรากจากไปเป็นต้น. |
โหยหิว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกอ่อนเพลียเพราะมีความหิวมาก. | โหยหิว ก. รู้สึกอ่อนเพลียเพราะมีความหิวมาก. |
โหยไห้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้ครํ่าครวญถึง. | โหยไห้ ก. ร้องไห้ครํ่าครวญถึง. |
โหยกเหยก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ | [โหฺยกเหฺยก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่อยู่กับร่องกับรอย, ไม่แน่นอน, (ใช้แก่การพูด), เช่น พูดจาโหยกเหยก; โยเย, ขี้อ้อน, ร้องไห้งอแง, (ใช้แก่เด็ก) เช่น เด็กคนนี้โยเยโหยกเหยกจริง. | โหยกเหยก [โหฺยกเหฺยก] ว. ไม่อยู่กับร่องกับรอย, ไม่แน่นอน, (ใช้แก่การพูด), เช่น พูดจาโหยกเหยก; โยเย, ขี้อ้อน, ร้องไห้งอแง, (ใช้แก่เด็ก) เช่น เด็กคนนี้โยเยโหยกเหยกจริง. |
โหยง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-งอ-งู | [โหฺยง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กระโดดโดยฉับไวด้วยดีใจหรือตกใจ เช่น กระโดดโหยง สะดุ้งโหยง. | โหยง [โหฺยง] ว. อาการที่กระโดดโดยฉับไวด้วยดีใจหรือตกใจ เช่น กระโดดโหยง สะดุ้งโหยง. |
โหย่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [โหฺย่ง] เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สูงขึ้น เช่น โหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น โหย่งฟาง โหย่งผม โหย่งเส้นบะหมี่, หย่ง ก็ว่า. | โหย่ง ๑ [โหฺย่ง] ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น โหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น โหย่งฟาง โหย่งผม โหย่งเส้นบะหมี่, หย่ง ก็ว่า. |
โหย่ง ๒, โหย่ง ๆ โหย่ง ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู โหย่ง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | [โหฺย่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินโหย่ง ๆ วิ่งโหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าโหย่ง หรือ รอยเท้าโหย่ง ๆ, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งโหย่ง หรือ นั่งโหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่ง หย่ง หรือ หย่ง ๆ ก็ว่า. | โหย่ง ๒, โหย่ง ๆ [โหฺย่ง] ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินโหย่ง ๆ วิ่งโหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าโหย่ง หรือ รอยเท้าโหย่ง ๆ, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งโหย่ง หรือ นั่งโหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่ง หย่ง หรือ หย่ง ๆ ก็ว่า. |
โหร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ | [โหน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้พยากรณ์โดยอาศัยการโคจรของดวงดาวเป็นหลัก; ผู้ให้ฤกษ์และพยากรณ์โชคชะตาราศี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โหรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา. | โหร [โหน] น. ผู้พยากรณ์โดยอาศัยการโคจรของดวงดาวเป็นหลัก; ผู้ให้ฤกษ์และพยากรณ์โชคชะตาราศี. (ส., ป. โหรา). |
โหรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โหร. | โหรา ๑ (กลอน) น. โหร. |
โหราจารย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานาญในวิชาโหราศาสตร์. | โหราจารย์ น. ผู้ชํานาญในวิชาโหราศาสตร์. |
โหราศาสตร์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยการโคจรของดวงดาวเป็นหลัก. | โหราศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยการโคจรของดวงดาวเป็นหลัก. |
โหรง, โหรงเหรง โหรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-งอ-งู โหรงเหรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-งอ-งู | [โหฺรง, โหฺรงเหฺรง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีน้อย, บางตา, เช่น โหรงตา, คนดูโหรงเหรง, โกร๋งเกร๋ง หรือ โกร๋นเกร๋น ก็ว่า. | โหรง, โหรงเหรง [โหฺรง, โหฺรงเหฺรง] ว. มีน้อย, บางตา, เช่น โหรงตา, คนดูโหรงเหรง, โกร๋งเกร๋ง หรือ โกร๋นเกร๋น ก็ว่า. |
โหรดาจารย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [โหระ] เป็นคำนาม หมายถึง พราหมณ์พวกหนึ่งมีหน้าที่สวดสดุดีและอาราธนาเทพต่าง ๆ ให้มาร่วมในพิธีบูชาบวงสรวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต โหตฺฤ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ + อาจารฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | โหรดาจารย์ [โหระ] น. พราหมณ์พวกหนึ่งมีหน้าที่สวดสดุดีและอาราธนาเทพต่าง ๆ ให้มาร่วมในพิธีบูชาบวงสรวง. (ส. โหตฺฤ + อาจารฺย). |
โหระพา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Ocimum basilicum L. ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้. | โหระพา น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Ocimum basilicum L. ในวงศ์ Labiatae ใบมีกลิ่นฉุน กินได้. |
โหรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ดู โหร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ. | โหรา ๑ ดู โหร. |
โหรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Araceae เช่น ชนิด Aglaonema brevispathum Engl., Pycnospatha arietina Gagnep. ชนิดหลังนี้ อุตพิดผี ก็เรียก. | โหรา ๒ น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Araceae เช่น ชนิด Aglaonema brevispathum Engl., Pycnospatha arietina Gagnep. ชนิดหลังนี้ อุตพิดผี ก็เรียก. |
โหรากระบือ, โหราเขาเนื้อ โหรากระบือ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง โหราเขาเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเฟินชนิด Diplazium dilatatum Blume ในวงศ์ Athyriaceae และชนิด Microlepia platyphylla (Don) J. Smith ในวงศ์ Dennstaedtiaceae. | โหรากระบือ, โหราเขาเนื้อ น. ชื่อเรียกเฟินชนิด Diplazium dilatatum Blume ในวงศ์ Athyriaceae และชนิด Microlepia platyphylla (Don) J. Smith ในวงศ์ Dennstaedtiaceae. |
โหราจารย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดูใน โหร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ. | โหราจารย์ ดูใน โหร. |
โหราเดือยไก่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกรากแห้งของพืชหลายชนิดในสกุล Aconitum วงศ์ Ranunculaceae เช่น ชนิด A. fischeri Rchb., A. carmichaeli Debx., A. chasmanthum Stapf มีพิษร้ายแรง ใช้ทํายาได้. | โหราเดือยไก่ น. ชื่อเรียกรากแห้งของพืชหลายชนิดในสกุล Aconitum วงศ์ Ranunculaceae เช่น ชนิด A. fischeri Rchb., A. carmichaeli Debx., A. chasmanthum Stapf มีพิษร้ายแรง ใช้ทํายาได้. |
โหราตีนหมา, โหราเท้าสุนัข โหราตีนหมา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา โหราเท้าสุนัข เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ขอ-ไข่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชเบียนชนิด Balanophora abbreviata Blume ในวงศ์ Balanophoraceae ใช้ทํายาได้. | โหราตีนหมา, โหราเท้าสุนัข น. ชื่อพืชเบียนชนิด Balanophora abbreviata Blume ในวงศ์ Balanophoraceae ใช้ทํายาได้. |
โหราบอน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกหัวแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Typhonium giganteum Engl. ในวงศ์ Araceae มีพิษมาก ใช้ทํายาได้. | โหราบอน น. ชื่อเรียกหัวแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Typhonium giganteum Engl. ในวงศ์ Araceae มีพิษมาก ใช้ทํายาได้. |
โหราศาสตร์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู โหร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ. | โหราศาสตร์ ดู โหร. |
โหล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑ | [โหฺล] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณนามบอกจํานวนนับหน่วยละ ๑๒ เช่น ดินสอโหลหนึ่ง ปากกา ๒ โหล. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยปริยายหมายความว่า ที่ถือกันว่ามีคุณภาพตํ่า เช่น เสื้อโหล. | โหล ๑ [โหฺล] น. ลักษณนามบอกจํานวนนับหน่วยละ ๑๒ เช่น ดินสอโหลหนึ่ง ปากกา ๒ โหล. ว. โดยปริยายหมายความว่า ที่ถือกันว่ามีคุณภาพตํ่า เช่น เสื้อโหล. |
โหล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๒ | [โหฺล] เป็นคำนาม หมายถึง ขวดปากกว้าง มีฝา, ขวดโหล ก็เรียก. | โหล ๒ [โหฺล] น. ขวดปากกว้าง มีฝา, ขวดโหล ก็เรียก. |
โหล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๓ | [โหฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดูลึกลงไป ในคําว่า ตาโหล. | โหล ๓ [โหฺล] ว. ดูลึกลงไป ในคําว่า ตาโหล. |
โหลเหล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง | [เหฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดูซูบซีดอิดโรย เช่น หน้าตาโหลเหล. | โหลเหล [เหฺล] ว. ดูซูบซีดอิดโรย เช่น หน้าตาโหลเหล. |
โหล่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก | [โหฺล่] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในลําดับสุดท้าย. | โหล่ [โหฺล่] ว. อยู่ในลําดับสุดท้าย. |
โหลงโจ้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-จอ-จาน-ไม้-โท-งอ-งู | [โหฺลง] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่มีแต่นํ้าเป็นส่วนใหญ่ แทบไม่มีเนื้อเลย เช่น แกงมีแต่นํ้าโหลงโจ้ง. | โหลงโจ้ง [โหฺลง] (ปาก) ว. ลักษณะที่มีแต่นํ้าเป็นส่วนใหญ่ แทบไม่มีเนื้อเลย เช่น แกงมีแต่นํ้าโหลงโจ้ง. |
โหว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน | [โหฺว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เว้าลึกเข้าไป. | โหว [โหฺว] ว. เว้าลึกเข้าไป. |
โหว่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นช่องกลวงเข้าไป, ทะลุเข้าไป. | โหว่ ว. เป็นช่องกลวงเข้าไป, ทะลุเข้าไป. |
โหว้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โว่, เป็นช่องเป็นรูที่แลเห็นลึกหรือทะลุ. | โหว้ ว. โว่, เป็นช่องเป็นรูที่แลเห็นลึกหรือทะลุ. |
โหวกเหวก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ | [โหฺวกเหฺวก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงดังเอะอะโวยวาย เช่น เรียกกันโหวกเหวก ตะโกนโหวกเหวก. | โหวกเหวก [โหฺวกเหฺวก] ว. มีเสียงดังเอะอะโวยวาย เช่น เรียกกันโหวกเหวก ตะโกนโหวกเหวก. |
โหวง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-งอ-งู | [โหฺวง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก เป็นคําใช้ประกอบคํา เบา เป็น เบาโหวง หมายความว่า เบามาก. | โหวง [โหฺวง] ว. มาก เป็นคําใช้ประกอบคํา เบา เป็น เบาโหวง หมายความว่า เบามาก. |
โหวงเหวง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-งอ-งู | [เหฺวง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, เป็นคำใช้ประกอบคำ เบา เป็น เบาโหวงเหวง หมายความว่า เบามาก; มีความรู้สึกเหมือนจะว่าง ๆ ในจิตใจ เช่น เมื่ออยู่ในที่เงียบสงัดรู้สึกโหวงเหวง, มีความรู้สึกคล้าย ๆ ว่าขาดอะไรบางสิ่งบางอย่างไป เช่น พอเข้าไปในบ้าน บรรยากาศเงียบผิดปรกติ รู้สึกโหวงเหวง. | โหวงเหวง [เหฺวง] ว. มาก, เป็นคำใช้ประกอบคำ เบา เป็น เบาโหวงเหวง หมายความว่า เบามาก; มีความรู้สึกเหมือนจะว่าง ๆ ในจิตใจ เช่น เมื่ออยู่ในที่เงียบสงัดรู้สึกโหวงเหวง, มีความรู้สึกคล้าย ๆ ว่าขาดอะไรบางสิ่งบางอย่างไป เช่น พอเข้าไปในบ้าน บรรยากาศเงียบผิดปรกติ รู้สึกโหวงเหวง. |
โหวด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | [โหฺวด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเปิดไอนํ้าให้มีเสียงดังเช่นนั้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเปิดโหวด. | โหวด ๑ [โหฺวด] (โบ) น. เครื่องเปิดไอนํ้าให้มีเสียงดังเช่นนั้น. ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงเปิดโหวด. |
โหวด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | [โหฺวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดนตรีประเภทเป่าชนิดหนึ่งของภาคอีสาน. | โหวด ๒ [โหฺวด] (ถิ่นอีสาน) น. เครื่องดนตรีประเภทเป่าชนิดหนึ่งของภาคอีสาน. |
โหวต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า | [โหฺวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ออกเสียงลงคะแนน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vote เขียนว่า วี-โอ-ที-อี. | โหวต [โหฺวด] (ปาก) ก. ออกเสียงลงคะแนน. (อ. vote). |
ให้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง มอบ เช่น ให้ช่อดอกไม้เป็นรางวัล, สละ เช่น ให้ชีวิตเป็นทาน, อนุญาต เช่น ฉันให้เขาไปเที่ยว; เป็นคำช่วยกริยา บอกความบังคับหรืออวยชัยให้พรเป็นต้น เช่น แม่บอกให้ลูกไปนอน ขอให้เจริญรุ่งเรือง ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ แต่งตัวให้สวย ๆ นะ. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้โอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับ และผู้รับยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น. | ให้ ก. มอบ เช่น ให้ช่อดอกไม้เป็นรางวัล, สละ เช่น ให้ชีวิตเป็นทาน, อนุญาต เช่น ฉันให้เขาไปเที่ยว; เป็นคำช่วยกริยา บอกความบังคับหรืออวยชัยให้พรเป็นต้น เช่น แม่บอกให้ลูกไปนอน ขอให้เจริญรุ่งเรือง ขอให้เดินทางโดยสวัสดิภาพ แต่งตัวให้สวย ๆ นะ. (กฎ) น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ให้โอนทรัพย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับ และผู้รับยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น. |
ให้การ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ให้ถ้อยคําเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นมา เช่น จําเลยให้การต่อศาล. | ให้การ (กฎ) ก. ให้ถ้อยคําเกี่ยวกับเรื่องที่เป็นมา เช่น จําเลยให้การต่อศาล. |
ให้จงได้, ให้ได้ ให้จงได้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-จอ-จาน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท ให้ได้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คำประกอบท้ายกิริยา แสดงความหมายบอกการกำชับกำชาหรือความตั้งใจแน่นอน เช่น งานคืนสู่เหย้าปีนี้อย่าขาด มาให้จงได้ เขาจะไปให้ได้ ห้ามเท่าไรก็ไม่ฟัง. | ให้จงได้, ให้ได้ ว. คำประกอบท้ายกิริยา แสดงความหมายบอกการกำชับกำชาหรือความตั้งใจแน่นอน เช่น งานคืนสู่เหย้าปีนี้อย่าขาด มาให้จงได้ เขาจะไปให้ได้ ห้ามเท่าไรก็ไม่ฟัง. |
ให้โดยเสน่หา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง โอนทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งโดยไม่มีค่าตอบแทน. | ให้โดยเสน่หา (กฎ) ก. โอนทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งโดยไม่มีค่าตอบแทน. |
ให้ถ้อยคำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย ดู ให้การ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ให้ถ้อยคำ (กฎ) ดู ให้การ. |
ให้ท่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดหรือแสดงกิริยาให้รู้ว่ายินดีติดต่อด้วยหรือไม่รังเกียจ (ใช้แก่ผู้หญิง). | ให้ท่า ก. พูดหรือแสดงกิริยาให้รู้ว่ายินดีติดต่อด้วยหรือไม่รังเกียจ (ใช้แก่ผู้หญิง). |
ให้ท้าย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าข้างหรือส่งเสริมทำให้ได้ใจ. | ให้ท้าย ก. เข้าข้างหรือส่งเสริมทำให้ได้ใจ. |
ให้น้ำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ให้นักมวยหรือคู่ต่อสู้เป็นต้นหยุดพักเหนื่อยชั่วระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อให้ดื่มน้ำ เช็ดหน้า หรือเช็ดตัวเป็นต้น ก่อนจะลงมือสู้ในยกต่อไป. | ให้น้ำ ก. ให้นักมวยหรือคู่ต่อสู้เป็นต้นหยุดพักเหนื่อยชั่วระยะเวลาสั้น ๆ เพื่อให้ดื่มน้ำ เช็ดหน้า หรือเช็ดตัวเป็นต้น ก่อนจะลงมือสู้ในยกต่อไป. |
ให้ร้าย, ให้ร้ายป้ายสี ให้ร้าย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ให้ร้ายป้ายสี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง หาความร้ายป้ายผู้อื่นให้ได้รับความเสียหาย, ป้ายสี ใส่ร้าย หรือ ใส่ร้ายป้ายสี ก็ว่า. | ให้ร้าย, ให้ร้ายป้ายสี ก. หาความร้ายป้ายผู้อื่นให้ได้รับความเสียหาย, ป้ายสี ใส่ร้าย หรือ ใส่ร้ายป้ายสี ก็ว่า. |
ให้แรง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้มีกำลังเพิ่มขึ้นเป็นต้น มักใช้กับสิ่งนอกเหนือธรรมชาติตามความเชื่อ เช่น ผีให้แรง เทวดาให้แรง. | ให้แรง ก. ทำให้มีกำลังเพิ่มขึ้นเป็นต้น มักใช้กับสิ่งนอกเหนือธรรมชาติตามความเชื่อ เช่น ผีให้แรง เทวดาให้แรง. |
ให้ศีล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่พระภิกษุบอกศีลให้ผู้ศรัทธาสมาทานรับ เช่น ทุกคนควรสำรวมกิริยาเวลาพระให้ศีล. | ให้ศีล ก. อาการที่พระภิกษุบอกศีลให้ผู้ศรัทธาสมาทานรับ เช่น ทุกคนควรสำรวมกิริยาเวลาพระให้ศีล. |
ให้ศีลให้พร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-พอ-พาน-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวแสดงความปรารถนาดีให้เกิดสวัสดิมงคล ความเจริญรุ่งเรืองแก่ผู้รับ เช่น ผู้ใหญ่ให้ศีลให้พรแก่ลูกหลาน. | ให้ศีลให้พร ก. กล่าวแสดงความปรารถนาดีให้เกิดสวัสดิมงคล ความเจริญรุ่งเรืองแก่ผู้รับ เช่น ผู้ใหญ่ให้ศีลให้พรแก่ลูกหลาน. |
ให้สัตยาบัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ให้ความเห็นชอบหรือรับรอง. | ให้สัตยาบัน (กฎ) ก. ให้ความเห็นชอบหรือรับรอง. |
ให้สินเชื่อ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ให้กู้ยืมเงิน ซื้อ ซื้อลด รับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน เป็นเจ้าหนี้เนื่องจากได้จ่ายหรือสั่งให้จ่ายเงินเพื่อประโยชน์ของผู้เคยค้าหรือเป็นเจ้าหนี้เนื่องจากได้จ่ายเงินตามภาระผูกพันตามเล็ตเตอร์ออฟเครดิต. | ให้สินเชื่อ (กฎ) น. ให้กู้ยืมเงิน ซื้อ ซื้อลด รับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน เป็นเจ้าหนี้เนื่องจากได้จ่ายหรือสั่งให้จ่ายเงินเพื่อประโยชน์ของผู้เคยค้าหรือเป็นเจ้าหนี้เนื่องจากได้จ่ายเงินตามภาระผูกพันตามเล็ตเตอร์ออฟเครดิต. |
ให้สี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง กำหนดว่าจะใช้สีใด อย่างไร ในงานจิตรกรรม งานออกแบบตกแต่งต่าง ๆ เป็นต้น. | ให้สี ก. กำหนดว่าจะใช้สีใด อย่างไร ในงานจิตรกรรม งานออกแบบตกแต่งต่าง ๆ เป็นต้น. |
ให้เสียง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กระทำเสียงใด ๆ ให้ผู้อื่นรู้ตัวล่วงหน้าก่อนที่จะปรากฏกาย เช่น ฉันตกใจ เธอเข้ามาไม่ให้เสียงเลย. | ให้เสียง ก. กระทำเสียงใด ๆ ให้ผู้อื่นรู้ตัวล่วงหน้าก่อนที่จะปรากฏกาย เช่น ฉันตกใจ เธอเข้ามาไม่ให้เสียงเลย. |
ให้หลัง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง คล้อยหลังไป เช่น พอครูให้หลัง เด็ก ๆ ก็ซนกันใหญ่. | ให้หลัง ก. คล้อยหลังไป เช่น พอครูให้หลัง เด็ก ๆ ก็ซนกันใหญ่. |
ให้หน้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทีให้ผู้ที่รู้กันทำตามความประสงค์ด้วยการพยักหน้า ขยิบตา บุ้ยปาก เป็นต้น เช่น ชูชกกล่าวหาพระเวสสันดรว่า ให้หน้าให้สองกุมารหนีไปเสียทั้งที่ยกให้ตนแล้ว. | ให้หน้า ก. แสดงท่าทีให้ผู้ที่รู้กันทำตามความประสงค์ด้วยการพยักหน้า ขยิบตา บุ้ยปาก เป็นต้น เช่น ชูชกกล่าวหาพระเวสสันดรว่า ให้หน้าให้สองกุมารหนีไปเสียทั้งที่ยกให้ตนแล้ว. |
ให้หา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เรียก, บอกให้ไปหา. | ให้หา ก. เรียก, บอกให้ไปหา. |
ให้หูให้ตา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทีให้ทราบด้วยสีหน้าและสายตาว่าพอใจใคร่สืบความสัมพันธ์ต่อไป (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น กุลสตรีไม่ควรให้หูให้ตาใคร ๆ. | ให้หูให้ตา ก. แสดงท่าทีให้ทราบด้วยสีหน้าและสายตาว่าพอใจใคร่สืบความสัมพันธ์ต่อไป (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น กุลสตรีไม่ควรให้หูให้ตาใคร ๆ. |
ให้อภัย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ยกโทษให้, ไม่ถือโทษ. | ให้อภัย ก. ยกโทษให้, ไม่ถือโทษ. |
ให้ออก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง วิธีการสั่งให้พ้นจากราชการเพราะเหตุ (๑) ตาย (๒) พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ (๓) ลาออกจากราชการและได้รับอนุญาตให้ลาออก (๔) ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ในกรณีใดกรณีหนึ่งตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ เช่น ให้ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญ ให้ออกเมื่อทางราชการเลิกหรือยุบตําแหน่ง ให้ออกเพื่อไปรับราชการทหาร. | ให้ออก (กฎ) น. วิธีการสั่งให้พ้นจากราชการเพราะเหตุ (๑) ตาย (๒) พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบําเหน็จบํานาญ (๓) ลาออกจากราชการและได้รับอนุญาตให้ลาออก (๔) ถูกสั่งให้ออกจากราชการ ในกรณีใดกรณีหนึ่งตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ เช่น ให้ออกจากราชการเพื่อรับบําเหน็จบํานาญ ให้ออกเมื่อทางราชการเลิกหรือยุบตําแหน่ง ให้ออกเพื่อไปรับราชการทหาร. |
ใหญ่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โต เช่น พี่คนใหญ่, คนโต เช่น เขยใหญ่, มีขนาดโตกว่าหรือสำคัญกว่าเป็นต้นเมื่อเปรียบเทียบกัน เช่น ข่าวใหญ่ สงครามใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก เช่น บ้านหลังใหญ่; รุนแรงมาก, อุตลุด, เช่น ทะเลาะกันใหญ่ ชกกันใหญ่. | ใหญ่ ว. โต เช่น พี่คนใหญ่, คนโต เช่น เขยใหญ่, มีขนาดโตกว่าหรือสำคัญกว่าเป็นต้นเมื่อเปรียบเทียบกัน เช่น ข่าวใหญ่ สงครามใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก เช่น บ้านหลังใหญ่; รุนแรงมาก, อุตลุด, เช่น ทะเลาะกันใหญ่ ชกกันใหญ่. |
ใหญ่น้อย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บรรดา, ทั้งหลาย, เช่น สัตว์ใหญ่น้อยวิ่งหนีไฟป่า. | ใหญ่น้อย ว. บรรดา, ทั้งหลาย, เช่น สัตว์ใหญ่น้อยวิ่งหนีไฟป่า. |
ใหญ่หลวง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุนแรง, หนัก, เช่น บุญคุณของท่านใหญ่หลวงนัก. | ใหญ่หลวง ว. รุนแรง, หนัก, เช่น บุญคุณของท่านใหญ่หลวงนัก. |
ใหม่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพิ่งมี เช่น มาใหม่ รุ่นใหม่, มีอีกนอกจากที่เคยมีอยู่แล้ว เช่น มีเมียใหม่, ซํ้า เช่น พูดใหม่ ทำใหม่ อ่านใหม่, อีกครั้งหนึ่ง เช่น ตื่นมาแล้ว กลับไปนอนใหม่, ยังไม่ได้ใช้ เช่น ของใหม่, ไม่เคยประสบมาก่อน เช่น ความรู้ใหม่ เพลงใหม่, เริ่มแรก เช่น ข้าวใหม่ นักเรียนใหม่; ไม่ใช่เก่า เช่น บ้านสร้างใหม่. | ใหม่ ว. เพิ่งมี เช่น มาใหม่ รุ่นใหม่, มีอีกนอกจากที่เคยมีอยู่แล้ว เช่น มีเมียใหม่, ซํ้า เช่น พูดใหม่ ทำใหม่ อ่านใหม่, อีกครั้งหนึ่ง เช่น ตื่นมาแล้ว กลับไปนอนใหม่, ยังไม่ได้ใช้ เช่น ของใหม่, ไม่เคยประสบมาก่อน เช่น ความรู้ใหม่ เพลงใหม่, เริ่มแรก เช่น ข้าวใหม่ นักเรียนใหม่; ไม่ใช่เก่า เช่น บ้านสร้างใหม่. |
ใหม่ถอดด้าม, ใหม่เอี่ยม ใหม่ถอดด้าม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ใหม่เอี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหม่ยังไม่มีใครใช้, ใหม่จริง ๆ. | ใหม่ถอดด้าม, ใหม่เอี่ยม ว. ใหม่ยังไม่มีใครใช้, ใหม่จริง ๆ. |
ไห เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะเคลือบดินเผา มีปากเล็ก ก้นเล็ก กลางป่อง สําหรับใส่กระเทียมดองหรือเกลือเป็นต้น. | ไห น. ภาชนะเคลือบดินเผา มีปากเล็ก ก้นเล็ก กลางป่อง สําหรับใส่กระเทียมดองหรือเกลือเป็นต้น. |
ไหซอง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไหชนิดหนึ่ง รูปสูง ๆ ปากเล็กแคบ สําหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น. | ไหซอง น. ชื่อไหชนิดหนึ่ง รูปสูง ๆ ปากเล็กแคบ สําหรับใส่หัวผักกาดเค็มเป็นต้น. |
ไหปลาร้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไหชนิดหนึ่ง มีขอบรอบปากสําหรับหล่อนํ้าและมีฝาปิด ใช้หมักปลาร้า, หลุมข้างคอถัดกระดูกไหปลาร้าขึ้นไป, เรียกกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าว่า กระดูกไหปลาร้า. | ไหปลาร้า น. ชื่อไหชนิดหนึ่ง มีขอบรอบปากสําหรับหล่อนํ้าและมีฝาปิด ใช้หมักปลาร้า, หลุมข้างคอถัดกระดูกไหปลาร้าขึ้นไป, เรียกกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าว่า กระดูกไหปลาร้า. |
ไห่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ผักไห่. ในวงเล็บ ดู มะระ เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ. | ไห่ น. ผักไห่. (ดู มะระ). |
ไห้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่นํ้าตาไหลเพราะประสบอารมณ์อันแรงกล้า เช่น ไห้รํ่ารักลูกไท้ ไห้บ่รู้กี่ไห้ ลูกแก้วกับตน แม่เอย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, มักใช้เข้าคู่กับคํา ร้อง เป็น ร้องไห้. | ไห้ (วรรณ) ก. อาการที่นํ้าตาไหลเพราะประสบอารมณ์อันแรงกล้า เช่น ไห้รํ่ารักลูกไท้ ไห้บ่รู้กี่ไห้ ลูกแก้วกับตน แม่เอย. (ลอ), มักใช้เข้าคู่กับคํา ร้อง เป็น ร้องไห้. |
ไหน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความสงสัยหรือคำถาม เช่น คนไหน อันไหน ที่ไหน, ถ้ามีคำ ก็ได้ ต่อท้าย แสดงถึงความไม่เจาะจง เช่น คนไหนก็ได้ ที่ไหนก็ได้. | ไหน ๑ ว. ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความสงสัยหรือคำถาม เช่น คนไหน อันไหน ที่ไหน, ถ้ามีคำ ก็ได้ ต่อท้าย แสดงถึงความไม่เจาะจง เช่น คนไหนก็ได้ ที่ไหนก็ได้. |
ไหน ๒, ไหนล่ะ, ไหนว่า, ไหนว่าจะ ไหน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู ไหนล่ะ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อะ ไหนว่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ไหนว่าจะ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นคำถามเชิงตัดพ้อต่อว่า ทวงถาม หรือสงสัย เป็นต้น เช่น ไหนพระผ่านฟ้าสัญญาน้อง จะปกป้องครองความพิสมัย. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, ไหนล่ะรางวัล ไหนว่าไม่ลืม ไหนว่าจะพาไปเที่ยว. | ไหน ๒, ไหนล่ะ, ไหนว่า, ไหนว่าจะ ว. เป็นคำถามเชิงตัดพ้อต่อว่า ทวงถาม หรือสงสัย เป็นต้น เช่น ไหนพระผ่านฟ้าสัญญาน้อง จะปกป้องครองความพิสมัย. (อิเหนา), ไหนล่ะรางวัล ไหนว่าไม่ลืม ไหนว่าจะพาไปเที่ยว. |
ไหน ๆ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สำนวนแสดงถึงความปลงใจในสิ่งที่ผ่านพ้นไปแล้วหรือเป็นการตัดพ้อต่อว่าเป็นต้น เช่น มัวแต่งุ่มง่ามอยู่นั่นแหละ เพื่อน ๆ เขาก้าวหน้าไปไหน ๆ แล้ว ไหน ๆ ก็ร่วมหอลงโรงกันแล้ว. | ไหน ๆ ว. สำนวนแสดงถึงความปลงใจในสิ่งที่ผ่านพ้นไปแล้วหรือเป็นการตัดพ้อต่อว่าเป็นต้น เช่น มัวแต่งุ่มง่ามอยู่นั่นแหละ เพื่อน ๆ เขาก้าวหน้าไปไหน ๆ แล้ว ไหน ๆ ก็ร่วมหอลงโรงกันแล้ว. |
ไหนจะ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สำนวนแสดงถึงความตัดพ้อต่อว่าด้วยความท้อใจเป็นต้น เช่น ไหนจะต้องเหนื่อยยากลำบากกาย ไหนจะอายทั่วทั้งโลกา. (เพลงฝรั่งรำเท้า พระราชนิพนธ์ ร. ๖). | ไหนจะ ว. สำนวนแสดงถึงความตัดพ้อต่อว่าด้วยความท้อใจเป็นต้น เช่น ไหนจะต้องเหนื่อยยากลำบากกาย ไหนจะอายทั่วทั้งโลกา. (เพลงฝรั่งรำเท้า พระราชนิพนธ์ ร. ๖). |
ไหน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผลไม้คล้ายพุทรา. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . (พจน. ๒๔๙๓). | ไหน ๓ น. ชื่อผลไม้คล้ายพุทรา. (จ.). (พจน. ๒๔๙๓). |
ไหม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผีเสื้อชนิด Bombyx mori ในวงศ์ Bombycidae ตัวอ้วนป้อมมีขนสีขาวและสีครีมคลุมเต็ม ปีกมีลายเส้นสีนํ้าตาลอ่อนพาดตามขวางหลายเส้น ตัวหนอนสีขาวหรือสีครีม มีรยางค์เล็ก ๆ สั้น ๆ คล้ายเขาที่ปลายหาง กินใบหม่อนได้อย่างเดียว เมื่อโตเต็มที่จะถักใยหุ้มดักแด้ ซึ่งใยนี้สามารถสาวเป็นเส้นไหมนํามาทอเป็นเสื้อผ้าได้, ใยของสัตว์ชนิดนี้ก็เรียกว่า ไหม; เรียกเครื่องนุ่งห่มที่ทอด้วยไหมว่า ผ้าไหม. | ไหม ๑ น. ชื่อผีเสื้อชนิด Bombyx mori ในวงศ์ Bombycidae ตัวอ้วนป้อมมีขนสีขาวและสีครีมคลุมเต็ม ปีกมีลายเส้นสีนํ้าตาลอ่อนพาดตามขวางหลายเส้น ตัวหนอนสีขาวหรือสีครีม มีรยางค์เล็ก ๆ สั้น ๆ คล้ายเขาที่ปลายหาง กินใบหม่อนได้อย่างเดียว เมื่อโตเต็มที่จะถักใยหุ้มดักแด้ ซึ่งใยนี้สามารถสาวเป็นเส้นไหมนํามาทอเป็นเสื้อผ้าได้, ใยของสัตว์ชนิดนี้ก็เรียกว่า ไหม; เรียกเครื่องนุ่งห่มที่ทอด้วยไหมว่า ผ้าไหม. |
ไหมทอง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นไหมที่ควบด้วยทองแล่งหรือกระดาษทอง. | ไหมทอง น. เส้นไหมที่ควบด้วยทองแล่งหรือกระดาษทอง. |
ไหมพรม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายที่ทำด้วยขนสัตว์หรือสิ่งอื่นที่คล้ายคลึงเช่นนั้น. | ไหมพรม น. ด้ายที่ทำด้วยขนสัตว์หรือสิ่งอื่นที่คล้ายคลึงเช่นนั้น. |
ไหมสับปะรด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นด้ายที่ได้จากใยของพรรณไม้บางชนิดที่มีลักษณะอย่างใยสับปะรด, เรียกหมวกที่สานด้วยไหมอย่างนี้ว่า หมวกไหมสับปะรด. | ไหมสับปะรด น. เส้นด้ายที่ได้จากใยของพรรณไม้บางชนิดที่มีลักษณะอย่างใยสับปะรด, เรียกหมวกที่สานด้วยไหมอย่างนี้ว่า หมวกไหมสับปะรด. |
ไหม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นคําถาม มาจาก หรือไม่ เช่น กินไหม. | ไหม ๒ ว. เป็นคําถาม มาจาก หรือไม่ เช่น กินไหม. |
ไหม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ปรับเอา เช่น ให้ไหมทวีคูณ. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง. | ไหม ๓ (โบ) ก. ปรับเอา เช่น ให้ไหมทวีคูณ. (สามดวง). |
ไหมหน้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง หมายหน้า, ตราหน้า, เช่น ไหมหน้าว่าเบียนเมือง ข้าคิดเปลื้องทานทำแห่งหอคำข้าดอก. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก (แบบเรียน). | ไหมหน้า (กลอน) ก. หมายหน้า, ตราหน้า, เช่น ไหมหน้าว่าเบียนเมือง ข้าคิดเปลื้องทานทำแห่งหอคำข้าดอก. (ม. ร่ายยาว). |
ไหม้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ติดเชื้อไฟ, ลุก, เผา, (ใช้แก่ไฟหรือความร้อน). เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถูกความร้อนจนเกรียมหรือจนเป็นถ่าน เช่น ข้าวไหม้; เกรียม, ดําคลํ้า, (ใช้แก่ผิว). | ไหม้ ๑ ก. ติดเชื้อไฟ, ลุก, เผา, (ใช้แก่ไฟหรือความร้อน). ว. ถูกความร้อนจนเกรียมหรือจนเป็นถ่าน เช่น ข้าวไหม้; เกรียม, ดําคลํ้า, (ใช้แก่ผิว). |
ไหม้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท ความหมายที่ ๒ | ดู กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู. | ไหม้ ๒ ดู กระดูกค่าง. |
ไหรณย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [รน] เป็นคำนาม หมายถึง เงิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นทอง, ทําด้วยทอง; เป็นเงิน, ทําด้วยเงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไหรณฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ไหรณย์ [รน] น. เงิน. ว. เป็นทอง, ทําด้วยทอง; เป็นเงิน, ทําด้วยเงิน. (ส. ไหรณฺย). |
ไหล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลารูปร่างกลมยาวคล้ายงู มีหลายวงศ์ในหลายอันดับ เช่น ไหลนา หรือ ไหลบึง (Fluta alba) ในวงศ์ Flutidae ไหลทะเล (Ophichthys microcephalus) ในวงศ์ Ophichthyidae, อีสานเรียก เอียน หรือ เอี่ยน. (๒) ดู มังกร เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒. | ไหล ๑ น. (๑) ชื่อปลารูปร่างกลมยาวคล้ายงู มีหลายวงศ์ในหลายอันดับ เช่น ไหลนา หรือ ไหลบึง (Fluta alba) ในวงศ์ Flutidae ไหลทะเล (Ophichthys microcephalus) ในวงศ์ Ophichthyidae, อีสานเรียก เอียน หรือ เอี่ยน. (๒) ดู มังกร ๒. |
ไหล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของพืชบางชนิดเช่นบอนและบัว ซึ่งเลื้อยชอนไปแตกเป็นหน่อขึ้น, หางไหล ก็เรียก. | ไหล ๒ น. ส่วนของพืชบางชนิดเช่นบอนและบัว ซึ่งเลื้อยชอนไปแตกเป็นหน่อขึ้น, หางไหล ก็เรียก. |
ไหล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง โลหะชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่าเอาไฟเทียนลนก็ไหลย้อยออกได้ เรียกว่า เหล็กไหล. | ไหล ๓ น. โลหะชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่าเอาไฟเทียนลนก็ไหลย้อยออกได้ เรียกว่า เหล็กไหล. |
ไหล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๔ | เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนที่ไปอย่างของเหลวเช่นนํ้า, เลื่อนไป. | ไหล ๔ ก. เคลื่อนที่ไปอย่างของเหลวเช่นนํ้า, เลื่อนไป. |
ไหล่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของบ่าตอนที่ติดกับต้นแขน. | ไหล่ น. ส่วนของบ่าตอนที่ติดกับต้นแขน. |
ไหล่เขา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของเขาที่ถัดยอดเขาลงมา. | ไหล่เขา น. ส่วนของเขาที่ถัดยอดเขาลงมา. |
ไหล่ถนน, ไหล่ทาง ไหล่ถนน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-นอ-หนู-นอ-หนู ไหล่ทาง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของถนนที่ติดอยู่กับทางจราจรทั้ง ๒ ข้าง. | ไหล่ถนน, ไหล่ทาง น. ส่วนของถนนที่ติดอยู่กับทางจราจรทั้ง ๒ ข้าง. |
ไหล่ทวีป เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณใต้นํ้าทะเลรอบ ๆ ทวีป ซึ่งมีความลาดเอียงน้อย ๆ แผ่ยื่นออกไปจากฝั่งทะเล นับจากแนวนํ้าลงตํ่าสุดลงไป. | ไหล่ทวีป น. บริเวณใต้นํ้าทะเลรอบ ๆ ทวีป ซึ่งมีความลาดเอียงน้อย ๆ แผ่ยื่นออกไปจากฝั่งทะเล นับจากแนวนํ้าลงตํ่าสุดลงไป. |
ไหล่รวบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-รอ-เรือ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ไหล่ห่อ. | ไหล่รวบ น. ไหล่ห่อ. |
ไหล่ลู่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ไหล่ที่ลาดเอียงลงกว่าปรกติ. | ไหล่ลู่ น. ไหล่ที่ลาดเอียงลงกว่าปรกติ. |
ไหล่ห่อ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ไหล่ที่คู้เข้าเพราะหนาวหรือเกรงกลัวเป็นต้น. | ไหล่ห่อ น. ไหล่ที่คู้เข้าเพราะหนาวหรือเกรงกลัวเป็นต้น. |
ไหลน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | ดู หางไหลแดง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ที่ หางไหล เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๒. | ไหลน้ำ ดู หางไหลแดง ที่ หางไหล ๒. |
ไหว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง สั่น, สะเทือน, กระดิก, เช่น ใบไม้ไหว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามารถทําได้ เช่น เดินไหว สู้ไหว กินไหว. | ไหว ก. สั่น, สะเทือน, กระดิก, เช่น ใบไม้ไหว. ว. สามารถทําได้ เช่น เดินไหว สู้ไหว กินไหว. |
ไหวตัว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ขยับตัว, รู้ตัวพร้อมที่จะรับเหตุการณ์. | ไหวตัว ก. ขยับตัว, รู้ตัวพร้อมที่จะรับเหตุการณ์. |
ไหวติง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กระดุกกระดิก, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ไหวติง. | ไหวติง ก. กระดุกกระดิก, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ไหวติง. |
ไหวทัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้ทัน. | ไหวทัน ก. รู้ทัน. |
ไหวพริบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ปัญญาไวรู้เท่าทัน, เชาวน์ไว. | ไหวพริบ น. ปัญญาไวรู้เท่าทัน, เชาวน์ไว. |
ไหว ๆ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไหวหรือพลิ้วไปมา เช่น ปลาแหวกว่ายกอบัวอยู่ไหว ๆ ลมพัดธงสะบัดอยู่ไหว ๆ, อาการที่เคลื่อนไหวอย่างเห็นไม่ชัด เช่น เห็นคนร้ายวิ่งหนีเข้าไปในพงหญ้าอยู่ไหว ๆ. | ไหว ๆ ว. อาการที่เคลื่อนไหวหรือพลิ้วไปมา เช่น ปลาแหวกว่ายกอบัวอยู่ไหว ๆ ลมพัดธงสะบัดอยู่ไหว ๆ, อาการที่เคลื่อนไหวอย่างเห็นไม่ชัด เช่น เห็นคนร้ายวิ่งหนีเข้าไปในพงหญ้าอยู่ไหว ๆ. |
ไหว้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําความเคารพโดยยกมือขึ้นประนม, ถ้าเป็นผู้น้อยไหว้ผู้ใหญ่หรือผู้ทรงศีลต้องก้มศีรษะลงแต่พองาม. | ไหว้ ก. ทําความเคารพโดยยกมือขึ้นประนม, ถ้าเป็นผู้น้อยไหว้ผู้ใหญ่หรือผู้ทรงศีลต้องก้มศีรษะลงแต่พองาม. |
ไหว้ครู เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำพิธีแสดงความเคารพสักการบูชาครูบาอาจารย์ด้วยความสำนึกในพระคุณของท่าน. | ไหว้ครู ก. ทำพิธีแสดงความเคารพสักการบูชาครูบาอาจารย์ด้วยความสำนึกในพระคุณของท่าน. |
ไหว้เจ้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีเซ่นเจ้าตามธรรมเนียมจีน. | ไหว้เจ้า ก. ทําพิธีเซ่นเจ้าตามธรรมเนียมจีน. |
ไหว้ผี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีเซ่นผี. | ไหว้ผี ก. ทําพิธีเซ่นผี. |
ไหว้วาน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ขอร้องให้ช่วยเหลือ. | ไหว้วาน ก. ขอร้องให้ช่วยเหลือ. |
ไหหลำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเกาะอยู่ในทะเลจีนนอกฝั่งมณฑลกวางตุ้ง, ชนชาติจีนสาขาหนึ่งอยู่ที่เกาะชื่อนี้. | ไหหลำ น. ชื่อเกาะอยู่ในทะเลจีนนอกฝั่งมณฑลกวางตุ้ง, ชนชาติจีนสาขาหนึ่งอยู่ที่เกาะชื่อนี้. |
ฬ เขียนว่า ลอ-จุ-ลา | พยัญชนะตัวที่ ๔๒ เป็นพวกอักษรตํ่า มักใช้ในคําไทยที่มาจากภาษาบาลี เช่น กีฬา จุฬา นาฬิกา, ตัว ฬ นี้ ในภาษาสันสกฤตไม่มีใช้ ในภาษาบาลีมีใช้แต่ที่เป็นตัวตามหลัง เช่น จุฬา = มวยผม กีฬา = เล่น เขฬะ = นํ้าลาย, ในภาษาไทย แต่เดิมมีที่ใช้บ้าง เช่น ฬา (สัตว์) ฬ่อ (สัตว์) บาฬี บัดนี้ใช้เป็น ลา ล่อ บาลี หมดแล้ว ยังคงอยู่ก็แต่ที่ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน เช่น ทมิฬ ปลาวาฬ. | ฬ พยัญชนะตัวที่ ๔๒ เป็นพวกอักษรตํ่า มักใช้ในคําไทยที่มาจากภาษาบาลี เช่น กีฬา จุฬา นาฬิกา, ตัว ฬ นี้ ในภาษาสันสกฤตไม่มีใช้ ในภาษาบาลีมีใช้แต่ที่เป็นตัวตามหลัง เช่น จุฬา = มวยผม กีฬา = เล่น เขฬะ = นํ้าลาย, ในภาษาไทย แต่เดิมมีที่ใช้บ้าง เช่น ฬา (สัตว์) ฬ่อ (สัตว์) บาฬี บัดนี้ใช้เป็น ลา ล่อ บาลี หมดแล้ว ยังคงอยู่ก็แต่ที่ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน เช่น ทมิฬ ปลาวาฬ. |
อ เขียนว่า ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นําพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง องุ่น แอร่ม, ใช้นําตัว ย ให้เป็นเสียงอักษรกลาง แต่นิยมใช้อยู่ ๔ คํา คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก, ใช้เป็นเครื่องหมายรูปสระ ออ เช่น กอ ขอ และประสมกับเครื่องหมายเป็นสระ เอือ เออ เช่น เถือ เธอ, ใช้เป็นตัวเคียงสระ อือ เช่น คือ มือ. | อ ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นําพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง องุ่น แอร่ม, ใช้นําตัว ย ให้เป็นเสียงอักษรกลาง แต่นิยมใช้อยู่ ๔ คํา คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก, ใช้เป็นเครื่องหมายรูปสระ ออ เช่น กอ ขอ และประสมกับเครื่องหมายเป็นสระ เอือ เออ เช่น เถือ เธอ, ใช้เป็นตัวเคียงสระ อือ เช่น คือ มือ. |
อ เขียนว่า ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | [อะ]เป็นอักษรใช้นําหน้าคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต บอกความปฏิเสธหรือตรงกันข้าม แปลว่า ไม่ หรือ ไม่ใช่ เช่น อศุภ (ไม่งาม) อธรรม (ไม่ใช่ธรรม); ใช้เป็น อน เมื่ออยู่หน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อเนก (อน + เอก) อนาจาร (อน + อาจาร). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อ ๒ [อะ] เป็นอักษรใช้นําหน้าคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต บอกความปฏิเสธหรือตรงกันข้าม แปลว่า ไม่ หรือ ไม่ใช่ เช่น อศุภ (ไม่งาม) อธรรม (ไม่ใช่ธรรม); ใช้เป็น อน เมื่ออยู่หน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อเนก (อน + เอก) อนาจาร (อน + อาจาร). (ป., ส.). |
อก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว; เรียกเลื่อยที่มีไม้ยันกลางว่า เลื่อยอก, เรียกไม้อันกลางที่ยันเลื่อยให้ตึงว่า อกเลื่อย. | อก ๑ น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว; เรียกเลื่อยที่มีไม้ยันกลางว่า เลื่อยอก, เรียกไม้อันกลางที่ยันเลื่อยให้ตึงว่า อกเลื่อย. |
อกกรม เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความระทมใจ มักใช้เข้าคู่กับคำ หน้าชื่น เป็น หน้าชื่นอกกรม, หน้าชื่นอกตรม ก็ว่า. | อกกรม ว. มีความระทมใจ มักใช้เข้าคู่กับคำ หน้าชื่น เป็น หน้าชื่นอกกรม, หน้าชื่นอกตรม ก็ว่า. |
อกไก่ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอกคนที่มีลักษณะนูนยื่นออกมาอย่างอกของไก่; ชื่อลวดบัวแบบหนึ่ง มีลักษณะนูนเป็นสันขึ้นอย่างอกของไก่ เรียกว่า บัวอกไก่. | อกไก่ ๑ น. เรียกอกคนที่มีลักษณะนูนยื่นออกมาอย่างอกของไก่; ชื่อลวดบัวแบบหนึ่ง มีลักษณะนูนเป็นสันขึ้นอย่างอกของไก่ เรียกว่า บัวอกไก่. |
อกคราก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําที่กล่าวเปล่งออกมาหมายความว่า หนักเหลือเกิน, เดือดร้อนเหลือเกิน. | อกคราก ว. คําที่กล่าวเปล่งออกมาหมายความว่า หนักเหลือเกิน, เดือดร้อนเหลือเกิน. |
อกจะแตก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกจะแตก, อกแตก ก็ว่า. | อกจะแตก อ. คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกจะแตก, อกแตก ก็ว่า. |
อกตั้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มที่, เต็มแรง, เช่น วิ่งอกตั้ง เดินอกตั้ง; เรียกอาการที่นั่งหรือยืนตัวตรงว่า นั่งอกตั้ง ยืนอกตั้ง. | อกตั้ง ว. เต็มที่, เต็มแรง, เช่น วิ่งอกตั้ง เดินอกตั้ง; เรียกอาการที่นั่งหรือยืนตัวตรงว่า นั่งอกตั้ง ยืนอกตั้ง. |
อกเต่า เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสิ่งที่มีลักษณะแบนแฟบอย่างอกของเต่า. | อกเต่า ว. เรียกสิ่งที่มีลักษณะแบนแฟบอย่างอกของเต่า. |
อกแตก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของเมืองหรือวัดเป็นต้นซึ่งมีลํานํ้าหรือทางผ่ากลาง เรียกว่า เมืองอกแตก วัดอกแตก; อาการของคนที่เก็บความรู้สึกอัดอั้นตันใจไว้จนทนไม่ไหว. เป็นคำอุทาน หมายถึง คําพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกแตก, อกจะแตก ก็ว่า. | อกแตก ว. ลักษณะของเมืองหรือวัดเป็นต้นซึ่งมีลํานํ้าหรือทางผ่ากลาง เรียกว่า เมืองอกแตก วัดอกแตก; อาการของคนที่เก็บความรู้สึกอัดอั้นตันใจไว้จนทนไม่ไหว. อ. คําพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกแตก, อกจะแตก ก็ว่า. |
อกทะเล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง มักร้องหรือบรรเลงเป็นเพลงลา. | อกทะเล น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง มักร้องหรือบรรเลงเป็นเพลงลา. |
อกผายไหล่ผึ่ง เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สง่า, องอาจ, ผึ่งผาย. | อกผายไหล่ผึ่ง ว. สง่า, องอาจ, ผึ่งผาย. |
อกเมือง เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญของเมือง. | อกเมือง (กลอน) น. ส่วนสําคัญของเมือง. |
อกรวบ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง อกไม่ผาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของคนที่วิ่งจนเหนื่อยหอบแทบจะหมดเรี่ยวแรง เรียกว่า วิ่งจนอกรวบ. | อกรวบ น. อกไม่ผาย. ว. อาการของคนที่วิ่งจนเหนื่อยหอบแทบจะหมดเรี่ยวแรง เรียกว่า วิ่งจนอกรวบ. |
อกโรย เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของคนที่มีลักษณะผอมจนเห็นกระดูกอก. | อกโรย ว. อาการของคนที่มีลักษณะผอมจนเห็นกระดูกอก. |
อกเลา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่เป็นสันทาบอยู่ที่บานประตูหรือหน้าต่างแบบโบราณ เพื่อบังช่องที่บานประตูหรือหน้าต่างทั้ง ๒ บานประกับกัน. | อกเลา น. ไม้ที่เป็นสันทาบอยู่ที่บานประตูหรือหน้าต่างแบบโบราณ เพื่อบังช่องที่บานประตูหรือหน้าต่างทั้ง ๒ บานประกับกัน. |
อกสั่นขวัญแขวน, อกสั่นขวัญหนี, อกสั่นขวัญหาย อกสั่นขวัญแขวน เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-นอ-หนู อกสั่นขวัญหนี เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี อกสั่นขวัญหาย เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ตกใจสุดขีด, ตกใจกลัวอย่างยิ่ง. | อกสั่นขวัญแขวน, อกสั่นขวัญหนี, อกสั่นขวัญหาย ก. ตกใจสุดขีด, ตกใจกลัวอย่างยิ่ง. |
อกสามศอก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีร่างกายกำยำล่ำสัน, แข็งแรง, (ใช้แก่ผู้ชาย). | อกสามศอก ว. มีร่างกายกำยำล่ำสัน, แข็งแรง, (ใช้แก่ผู้ชาย). |
อกหัก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พลาดหวัง (มักใช้ในด้านความรัก). | อกหัก ว. พลาดหวัง (มักใช้ในด้านความรัก). |
อกไหม้ไส้ขม เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-ขอ-ไข่-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นทุกข์อย่างแสนสาหัส. | อกไหม้ไส้ขม (สำ) ก. เป็นทุกข์อย่างแสนสาหัส. |
อกอีปุกแตก, อกอีแป้นแตก อกอีปุกแตก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ อกอีแป้นแตก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง). | อกอีปุกแตก, อกอีแป้นแตก อ. คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง). |
อก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง พวก, หมู่. ในวงเล็บ มาจาก อนันตวิภาค ในหนังสือแปลศัพท์พากย์ต่าง ๆ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พิมพ์ ร.ศ. ๑๑๔. | อก ๒ น. พวก, หมู่. (อนันตวิภาค). |
อก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หก, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เรียกลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า ลูกอก, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลูกลก. | อก ๓ ว. หก, (โบ) เรียกลูกหญิงคนที่ ๖ ว่า ลูกอก, คู่กับ ลูกชายคนที่ ๖ ว่า ลูกลก. |
อกไก่ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑ | ดูใน อก เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑. | อกไก่ ๑ ดูใน อก ๑. |
อกไก่ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เครื่องบนที่พาดเบื้องบนเป็นสันหลังคาเหนือใบดั้ง. | อกไก่ ๒ น. ไม้เครื่องบนที่พาดเบื้องบนเป็นสันหลังคาเหนือใบดั้ง. |
อกตเวทิตา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | [อะกะตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ความเป็นผู้ไม่ตอบแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกับ อกตัญญุตา. [ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ + ตา ว่า ความเป็น]. | อกตเวทิตา [อะกะตะ] น. ความเป็นผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ความเป็นผู้ไม่ตอบแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกับ อกตัญญุตา. [ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ + ตา ว่า ความเป็น]. |
อกตเวที เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี | [อะกะตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ผู้ไม่ตอบแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกับ อกตัญญู. [ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ]. | อกตเวที [อะกะตะ] น. ผู้ไม่ประกาศอุปการคุณที่ท่านทำแก่ตน, ผู้ไม่ตอบแทนอุปการคุณที่ท่านได้ทำแก่ตน, เป็นคำคู่กันกับ อกตัญญู. [ป. อ ว่า ไม่ + กต ว่า (อุปการะ) ที่ท่านทำแล้ว + เวที ว่า ผู้ให้รู้, ผู้ประกาศ]. |
อกตัญญุตา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | [อะกะตัน] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทําแก่ตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อกตัญญุตา [อะกะตัน] น. ความเป็นผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทําแก่ตน. (ป.). |
อกตัญญู เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู | [อะกะตัน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทําแก่ตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อกตัญญู [อะกะตัน] น. ผู้ไม่รู้อุปการคุณที่ท่านทําแก่ตน. (ป.). |
อกนิษฐ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด | [อะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง รูปพรหมชั้นสูงสุดในพรหม ๑๖ ชั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อกนิษฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน และมาจากภาษาบาลี อกนิฏฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่ที่สุด, สูงสุด, มากที่สุด. | อกนิษฐ์ [อะกะ] น. รูปพรหมชั้นสูงสุดในพรหม ๑๖ ชั้น. (ส. อกนิษฺ; ป. อกนิฏฺ). ว. ใหญ่ที่สุด, สูงสุด, มากที่สุด. |
อกรณีย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะกะระนี, อะกอระนี] เป็นคำนาม หมายถึง กิจที่ไม่ควรทํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อกรณีย์ [อะกะระนี, อะกอระนี] น. กิจที่ไม่ควรทํา. (ป.). |
อกรรมกริยา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [อะกํากฺริยา, อะกํากะริยา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมรับ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อกรรมกริยา [อะกํากฺริยา, อะกํากะริยา] (ไว) น. กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมรับ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน. (ส.). |
อกร่อง เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. อกเป็นร่อง. | อกร่อง น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. อกเป็นร่อง. |
อกรา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | ดู กุแล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง. | อกรา ดู กุแล. |
อกรากล้วย เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | ดู กุแล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง. | อกรากล้วย ดู กุแล. |
อกแล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง | ดู กุแล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง. | อกแล ดู กุแล. |
อกแลกล้วย เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | ดู กุแล เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง. | อกแลกล้วย ดู กุแล. |
อกัปปิย, อกัปปิยะ อกัปปิย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก อกัปปิยะ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [อะกับปิยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ควร, ไม่เหมาะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อกัปปิย, อกัปปิยะ [อะกับปิยะ] ว. ไม่ควร, ไม่เหมาะ. (ป.). |
อกัปปิยวัตถุ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ต้องห้ามไม่ให้บริโภคใช้สอย (ใช้แก่ภิกษุ). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อกัปปิยวัตถุ น. สิ่งที่ต้องห้ามไม่ให้บริโภคใช้สอย (ใช้แก่ภิกษุ). (ป.). |
อกัปปิยโวหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่ไม่ควรใช้พูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อกัปปิยโวหาร น. ถ้อยคําที่ไม่ควรใช้พูด. (ป.). |
อกุศล, อกุศล อกุศล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง อกุศล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง | [อะกุสน, อะกุสนละ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่ว, ไม่ดี, ไม่เป็นมงคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อกุสล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง. เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ไม่ดี, บาป. | อกุศล, อกุศล [อะกุสน, อะกุสนละ] ว. ชั่ว, ไม่ดี, ไม่เป็นมงคล. (ส.; ป. อกุสล). น. สิ่งที่ไม่ดี, บาป. |
อกุศลกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [อะกุสนละกํา] เป็นคำนาม หมายถึง ความชั่วร้าย, โทษ, บาป. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อกุศล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง + กรฺมนฺ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี อกุสลกมฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | อกุศลกรรม [อะกุสนละกํา] น. ความชั่วร้าย, โทษ, บาป. (ส. อกุศล + กรฺมนฺ; ป. อกุสลกมฺม). |
อกุศลกรรมบถ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง | [อะกุสนละกํามะบด] เป็นคำนาม หมายถึง ทางแห่งความชั่ว, ทางบาป, มี ๑๐ อย่าง คือ กายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ และมโนทุจริต ๓. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อกุศล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง + กรฺมนฺ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ + ปถ เขียนว่า ปอ-ปลา-ถอ-ถุง และมาจากภาษาบาลี อกุสลกมฺมปถ เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง. | อกุศลกรรมบถ [อะกุสนละกํามะบด] น. ทางแห่งความชั่ว, ทางบาป, มี ๑๐ อย่าง คือ กายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ และมโนทุจริต ๓. (ส. อกุศล + กรฺมนฺ + ปถ; ป. อกุสลกมฺมปถ). |
อกุศลเจตนา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [อะกุสนละเจดตะนา] เป็นคำนาม หมายถึง ความตั้งใจเป็นบาป, ความคิดชั่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อกุสลเจตนา เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. | อกุศลเจตนา [อะกุสนละเจดตะนา] น. ความตั้งใจเป็นบาป, ความคิดชั่ว. (ส.; ป. อกุสลเจตนา). |
อกุศลมูล เขียนว่า ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | [อะกุสนละมูน] เป็นคำนาม หมายถึง รากเหง้าแห่งความชั่ว มี ๓ อย่าง คือ โลภะ โทสะ โมหะ. | อกุศลมูล [อะกุสนละมูน] น. รากเหง้าแห่งความชั่ว มี ๓ อย่าง คือ โลภะ โทสะ โมหะ. |
อคติ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความลําเอียง มี ๔ อย่าง คือ ฉันทาคติ = ความลําเอียงเพราะรัก โทสาคติ = ความลําเอียงเพราะโกรธ ภยาคติ = ความลําเอียงเพราะกลัว โมหาคติ = ความลําเอียงเพราะเขลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อคติ [อะคะ] น. ความลําเอียง มี ๔ อย่าง คือ ฉันทาคติ = ความลําเอียงเพราะรัก โทสาคติ = ความลําเอียงเพราะโกรธ ภยาคติ = ความลําเอียงเพราะกลัว โมหาคติ = ความลําเอียงเพราะเขลา. (ป.). |
อคเนสัน เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [อะคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฝีร้ายชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นที่กลางหลัง. | อคเนสัน [อะคะ] น. ชื่อฝีร้ายชนิดหนึ่ง เกิดขึ้นที่กลางหลัง. |
อคาธ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง | [อะคาด] เป็นคำนาม หมายถึง เหว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยั่งไม่ถึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อคาธ [อะคาด] น. เหว. ว. หยั่งไม่ถึง. (ป., ส.). |
อคาร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะคาระ] เป็นคำนาม หมายถึง อาคาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อคาร [อะคาระ] น. อาคาร. (ป., ส.). |
อฆะ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | [อะคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความชั่ว, บาป, ความทุกข์ร้อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อฆะ ๑ [อะคะ] น. ความชั่ว, บาป, ความทุกข์ร้อน. (ป., ส.). |
อฆะ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [อะคะ] เป็นคำนาม หมายถึง อากาศ, ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อฆะ ๒ [อะคะ] น. อากาศ, ฟ้า. (ป.). |
อโฆษะ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-คอ-ระ-คัง-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้องว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อโฆส เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-คอ-ระ-คัง-สอ-เสือ. | อโฆษะ ว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้องว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส. (ส.; ป. อโฆส). |
อง เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน, คำนำหน้าสมณศักดิ์พระสงฆ์อนัมนิกายชั้นปลัดขวาปลัดซ้ายและพระคณานุกรม เช่น องสรภาณมธุรส องสุตบทบวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาญวน . | อง น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน, คำนำหน้าสมณศักดิ์พระสงฆ์อนัมนิกายชั้นปลัดขวาปลัดซ้ายและพระคณานุกรม เช่น องสรภาณมธุรส องสุตบทบวร. (ญ.). |
องก์ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ตอนหนึ่ง ๆ ในบทละคร แต่ละตอนอาจมีเพียงฉากเดียวหรือหลายฉากก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต องฺก เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่. | องก์ น. ตอนหนึ่ง ๆ ในบทละคร แต่ละตอนอาจมีเพียงฉากเดียวหรือหลายฉากก็ได้. (ป., ส. องฺก). |
องค, องค์ องค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย องค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [องคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกาย, อวัยวะ, ตัว (ราชาศัพท์ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ชั้นสูงที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น ใช้ว่า พระองค์ เช่น แต่งพระองค์); ส่วนย่อยที่เป็นองค์ประกอบ เช่น มรรคมีองค์ ๘; ในราชาศัพท์ใช้เป็นลักษณนามเรียกอวัยวะหรือสิ่งของ หรือคำพูด เป็นต้น ของกษัตริย์หรือเจ้านาย เช่น พระทนต์ ๑ องค์ (ฟัน ๑ ซี่) พระศรี ๑ องค์ (หมาก ๑ คํา) พระที่นั่ง ๑ องค์ พระบรมราโชวาท ๒ องค์; ลักษณนามใช้เรียกสิ่งที่เคารพบูชาบางอย่างในทางศาสนา เช่น พระพุทธรูป ๑ องค์ พระเจดีย์ ๒ องค์, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ลักษณนามใช้เรียกภิกษุสามเณร นักบวชในศาสนาอื่น เช่น ภิกษุ ๑ องค์ บาทหลวง ๒ องค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | องค, องค์ [องคะ] น. ส่วนของร่างกาย, อวัยวะ, ตัว (ราชาศัพท์ใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ชั้นสูงที่ทรงได้รับพระราชทานฉัตร ๗ ชั้น ใช้ว่า พระองค์ เช่น แต่งพระองค์); ส่วนย่อยที่เป็นองค์ประกอบ เช่น มรรคมีองค์ ๘; ในราชาศัพท์ใช้เป็นลักษณนามเรียกอวัยวะหรือสิ่งของ หรือคำพูด เป็นต้น ของกษัตริย์หรือเจ้านาย เช่น พระทนต์ ๑ องค์ (ฟัน ๑ ซี่) พระศรี ๑ องค์ (หมาก ๑ คํา) พระที่นั่ง ๑ องค์ พระบรมราโชวาท ๒ องค์; ลักษณนามใช้เรียกสิ่งที่เคารพบูชาบางอย่างในทางศาสนา เช่น พระพุทธรูป ๑ องค์ พระเจดีย์ ๒ องค์, (ปาก) ลักษณนามใช้เรียกภิกษุสามเณร นักบวชในศาสนาอื่น เช่น ภิกษุ ๑ องค์ บาทหลวง ๒ องค์. (ป., ส. องฺค). |
องค์กฐิน เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้ากฐิน, ผ้าผืนที่ถวายสงฆ์เพื่อกรานกฐิน. | องค์กฐิน น. ผ้ากฐิน, ผ้าผืนที่ถวายสงฆ์เพื่อกรานกฐิน. |
องค์กร เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา, ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ organ เขียนว่า โอ-อา-จี-เอ-เอ็น. | องค์กร น. บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา, ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วย. (อ. organ). |
องค์การ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ศูนย์รวมกลุ่มบุคคลหรือกิจการที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยงานเดียวกัน เพื่อดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในกฎหมายหรือในตราสารจัดตั้งซึ่งอาจเป็นหน่วยงานของรัฐ เช่น องค์การของรัฐบาล หน่วยงานเอกชน เช่น บริษัทจำกัด สมาคม หรือหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ organization เขียนว่า โอ-อา-จี-เอ-เอ็น-ไอ-แซด-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | องค์การ น. ศูนย์รวมกลุ่มบุคคลหรือกิจการที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยงานเดียวกัน เพื่อดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในกฎหมายหรือในตราสารจัดตั้งซึ่งอาจเป็นหน่วยงานของรัฐ เช่น องค์การของรัฐบาล หน่วยงานเอกชน เช่น บริษัทจำกัด สมาคม หรือหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ. (อ. organization). |
องค์การสหประชาชาติ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู สหประชาชาติ เขียนว่า สอ-เสือ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | องค์การสหประชาชาติ ดู สหประชาชาติ. |
องคชาต เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | [องคะ] เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะสืบพันธุ์ของชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต องฺคชาต เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า ว่า อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหญิง . | องคชาต [องคะ] น. อวัยวะสืบพันธุ์ของชาย. (ป., ส. องฺคชาต ว่า อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหญิง). |
องค์ประกอบ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบเป็นสิ่งใหญ่, ส่วนของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นเครื่องประกอบทําให้เกิดเป็นรูปขึ้นใหม่โดยเฉพาะ, ส่วนประกอบ ก็เรียก. | องค์ประกอบ น. สิ่งต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบเป็นสิ่งใหญ่, ส่วนของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นเครื่องประกอบทําให้เกิดเป็นรูปขึ้นใหม่โดยเฉพาะ, ส่วนประกอบ ก็เรียก. |
องค์ประชุม เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งจึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม. | องค์ประชุม น. จํานวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งจึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม. |
องครักษ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | [องคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําหน้าที่ให้ความคุ้มครองป้องกัน เช่น องครักษ์นักการเมือง. | องครักษ์ [องคะ] น. ผู้ทําหน้าที่ให้ความคุ้มครองป้องกัน เช่น องครักษ์นักการเมือง. |
องควิการ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [องคะวิกาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความชํารุดแห่งอวัยวะต่าง ๆ มีตาบอด แขนหัก เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | องควิการ [องคะวิกาน] น. ความชํารุดแห่งอวัยวะต่าง ๆ มีตาบอด แขนหัก เป็นต้น. (ป.). |
องควิเกษป เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา | [องคะวิกะเสบ] เป็นคำนาม หมายถึง ท่าทาง, อาการเคลื่อนไหว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต องฺควิเกฺษป เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา และมาจากภาษาบาลี องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย + วิกฺเขป เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ปอ-ปลา . | องควิเกษป [องคะวิกะเสบ] น. ท่าทาง, อาการเคลื่อนไหว. (ส. องฺควิเกฺษป; ป. องฺค + วิกฺเขป). |
องควิทยา เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [องคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้เรื่องลักษณะดีชั่วปรากฏตามร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี องฺควิชฺชา เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา. | องควิทยา [องคะ] น. ความรู้เรื่องลักษณะดีชั่วปรากฏตามร่างกาย. (ส.; ป. องฺควิชฺชา). |
องคาพยพ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-พอ-พาน | [องคาบพะยบ, องคาพะยบ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนน้อยและใหญ่แห่งร่างกาย, อวัยวะน้อยใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี องฺค+ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย- บวก อวยว เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-วอ-แหวน . | องคาพยพ [องคาบพะยบ, องคาพะยบ] น. ส่วนน้อยและใหญ่แห่งร่างกาย, อวัยวะน้อยใหญ่. (ป. องฺค+ อวยว). |
องคมนตรี เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [องคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีตําแหน่งที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์. | องคมนตรี [องคะ] น. ผู้มีตําแหน่งที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์. |
องคมรรษ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี | [องคะมัด] เป็นคำนาม หมายถึง โรคขัดในข้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต องฺคมรฺษ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-มอ-ม้า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี. | องคมรรษ [องคะมัด] น. โรคขัดในข้อ. (ส. องฺคมรฺษ). |
องคาพยพ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-พอ-พาน | ดู องค, องค์ องค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย องค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด . | องคาพยพ ดู องค, องค์. |
องคุละ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [คุละ] เป็นคำนาม หมายถึง นิ้วมือ, นิ้วเท้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | องคุละ [คุละ] น. นิ้วมือ, นิ้วเท้า. (ป., ส.). |
องคุลี เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง นิ้วมือ; ชื่อมาตราวัดแต่โบราณ ยาวเท่ากับข้อปลายของนิ้วกลาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | องคุลี น. นิ้วมือ; ชื่อมาตราวัดแต่โบราณ ยาวเท่ากับข้อปลายของนิ้วกลาง. (ป., ส.). |
องศ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วน, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ไตรยางศ์ (ตฺรย + อํศฺ) ว่า ๓ ส่วน. | องศ์ น. ส่วน, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ไตรยางศ์ (ตฺรย + อํศฺ) ว่า ๓ ส่วน. |
องศา เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยในการวัดขนาดของมุม โดยกําหนดให้มุมที่รองรับโค้ง ๑ ใน ๓๖๐ ส่วนของเส้นรอบวง มีขนาด ๑ องศา และ ๙๐ องศา เป็น ๑ มุมฉาก; หน่วยในการวัดอุณหภูมิตามชนิดของเครื่องวัด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งของจักรราศี คือ วงกลมในท้องฟ้า แบ่งจักรราศีออกเป็น ๑๒ ราศี และแบ่ง ๑ ราศีออกเป็น ๓๐ องศา ฉะนั้นวงกลมจึงเท่ากับ ๓๖๐ องศา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อํศ เขียนว่า ออ-อ่าง-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา. | องศา น. หน่วยในการวัดขนาดของมุม โดยกําหนดให้มุมที่รองรับโค้ง ๑ ใน ๓๖๐ ส่วนของเส้นรอบวง มีขนาด ๑ องศา และ ๙๐ องศา เป็น ๑ มุมฉาก; หน่วยในการวัดอุณหภูมิตามชนิดของเครื่องวัด; (โหร) น. ส่วนหนึ่งของจักรราศี คือ วงกลมในท้องฟ้า แบ่งจักรราศีออกเป็น ๑๒ ราศี และแบ่ง ๑ ราศีออกเป็น ๓๐ องศา ฉะนั้นวงกลมจึงเท่ากับ ๓๖๐ องศา. (ส. อํศ). |
องอาจ เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะสง่าผึ่งผาย, อาจอง ก็ว่า. | องอาจ ว. มีลักษณะสง่าผึ่งผาย, อาจอง ก็ว่า. |
องุ่น เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | [อะหฺงุ่น] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Vitis vinifera L. ในวงศ์ Vitaceae ผลเป็นพวง กินได้หรือใช้หมักทําเหล้า เรียก เหล้าองุ่น. | องุ่น [อะหฺงุ่น] น. ชื่อไม้เถาชนิด Vitis vinifera L. ในวงศ์ Vitaceae ผลเป็นพวง กินได้หรือใช้หมักทําเหล้า เรียก เหล้าองุ่น. |
อจระ เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [อะจะระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลื่อนไม่ได้, ไปไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อจระ [อะจะระ] ว. เคลื่อนไม่ได้, ไปไม่ได้. (ป., ส.). |
อจล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-ลอ-ลิง | [อะจะละ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่หวั่นไหว, ไม่คลอนแคลน, เช่น อจลศรัทธา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อจล [อะจะละ] ว. ไม่หวั่นไหว, ไม่คลอนแคลน, เช่น อจลศรัทธา. (ป., ส.). |
อจลา เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [อะจะ] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อจลา [อะจะ] น. แผ่นดิน. (ส.). |
อจิตติ เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ความขาดสติ, ความมัวเมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อจิตติ น. ความขาดสติ, ความมัวเมา. (ส.). |
อจินตา เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | [จิน] เป็นคำนาม หมายถึง การขาดความคิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อจินตา [จิน] น. การขาดความคิด. (ส.). |
อจินไตย เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [จินไต] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่พ้นความคิด, ไม่ควรคิด, (สิ่งที่เป็นอจินไตยมีอยู่ ๔ อย่างด้วยกัน คือ พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๑ ฌานวิสัยของผู้ได้ฌาน ๑ วิบากแห่งกรรม ๑ ความคิดเรื่องโลก ๑). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อจินฺเตยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต อจินฺตฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | อจินไตย [จินไต] ว. ที่พ้นความคิด, ไม่ควรคิด, (สิ่งที่เป็นอจินไตยมีอยู่ ๔ อย่างด้วยกัน คือ พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๑ ฌานวิสัยของผู้ได้ฌาน ๑ วิบากแห่งกรรม ๑ ความคิดเรื่องโลก ๑). (ป. อจินฺเตยฺย; ส. อจินฺตฺย). |
อจิร, อจิระ อจิร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ อจิระ เขียนว่า ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [อะจิระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่นาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อจิร, อจิระ [อะจิระ] ว. ไม่นาน. (ป., ส.). |
อเจลก, อเจละ อเจลก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ อเจละ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [อะเจลก] เป็นคำนาม หมายถึง คนไม่นุ่งผ้า, คนเปลือย, ชีเปลือย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อเจลก, อเจละ [อะเจลก] น. คนไม่นุ่งผ้า, คนเปลือย, ชีเปลือย. (ป.). |
อชะ เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | [อะชะ] เป็นคำนาม หมายถึง แพะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อชะ [อะชะ] น. แพะ. (ป., ส.). |
อชา เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แพะตัวเมีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อชา น. แพะตัวเมีย. (ป., ส.). |
อชา เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | ดู อชะ เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ. | อชา ดู อชะ. |
อชิน เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง หนังรองนั่งของนักพรต; หนังสัตว์, หนังเสือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อชิน น. หนังรองนั่งของนักพรต; หนังสัตว์, หนังเสือ. (ป., ส.). |
อชินี เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เสือเหลือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อชินี น. เสือเหลือง. (ป.). |
อชิระ เขียนว่า ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง สนามรบ, ที่ว่าง, ลาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คล่อง, ว่องไว, ตัวเบา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อชิระ น. สนามรบ, ที่ว่าง, ลาน. ว. คล่อง, ว่องไว, ตัวเบา. (ส.). |
อฏวี เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-ปะ-ตัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี | [อะตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ดง, ป่า, พง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อฏวี [อะตะ] น. ดง, ป่า, พง. (ป., ส.). |
อณิ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ลิ่ม, สลัก, ลิ่มที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด; ขอบ, ที่สุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อาณิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ. | อณิ น. ลิ่ม, สลัก, ลิ่มที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด; ขอบ, ที่สุด. (ป., ส. อาณิ). |
อณุ, อณู ๑ อณุ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ อณู ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-เนน-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดโบราณ ๓๖ ปรมาณู เป็น ๑ อณู. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็ก, น้อย; ละเอียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อณุ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ. | อณุ, อณู ๑ น. มาตราวัดโบราณ ๓๖ ปรมาณู เป็น ๑ อณู. ว. เล็ก, น้อย; ละเอียด. (ป., ส. อณุ). |
อณู เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-เนน-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของสารที่ประกอบด้วยปรมาณู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อณุ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ. | อณู ๒ น. ส่วนของสารที่ประกอบด้วยปรมาณู. (ป., ส. อณุ). |
อโณทัย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [อะโนไท] เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น. (กร่อนมาจาก อรุโณทัย). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อรุโณทย เขียนว่า ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก. | อโณทัย [อะโนไท] น. พระอาทิตย์เพิ่งขึ้น. (กร่อนมาจาก อรุโณทัย). (ป. อรุโณทย). |
อด เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กลั้น เช่น เหลืออด, งดเว้น เช่น อดฝิ่น อดอาหาร; ไม่ได้, ไม่สมหวัง, เช่น อดรับรางวัล อดดู; ไม่มีอะไรกิน เช่น อดอยู่ทั้งวัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทน เช่น ดํานํ้าอด. | อด ก. กลั้น เช่น เหลืออด, งดเว้น เช่น อดฝิ่น อดอาหาร; ไม่ได้, ไม่สมหวัง, เช่น อดรับรางวัล อดดู; ไม่มีอะไรกิน เช่น อดอยู่ทั้งวัน. ว. ทน เช่น ดํานํ้าอด. |
อดกลั้น เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ระงับอารมณ์. | อดกลั้น ก. ระงับอารมณ์. |
อดใจ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ยั้งใจ. | อดใจ ก. ยั้งใจ. |
อดตาหลับขับตานอน เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สู้ทนอดนอน. | อดตาหลับขับตานอน ก. สู้ทนอดนอน. |
อดทน เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง บึกบึน, ยอมรับสภาพความยากลำบาก. | อดทน ก. บึกบึน, ยอมรับสภาพความยากลำบาก. |
อดนม เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกกินนมแม่ (ใช้แก่เด็กและลูกสัตว์), หย่านม ก็ว่า. | อดนม ก. เลิกกินนมแม่ (ใช้แก่เด็กและลูกสัตว์), หย่านม ก็ว่า. |
อดเปรี้ยวไว้กินหวาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง อดใจไว้ก่อนเพราะหวังสิ่งที่ดีกว่าข้างหน้า. | อดเปรี้ยวไว้กินหวาน (สำ) ก. อดใจไว้ก่อนเพราะหวังสิ่งที่ดีกว่าข้างหน้า. |
อดมื้อกินมื้อ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง มีกินบ้างไม่มีกินบ้าง. | อดมื้อกินมื้อ ก. มีกินบ้างไม่มีกินบ้าง. |
อดรนทนไม่ได้, อดรนทนไม่ไหว อดรนทนไม่ได้ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท อดรนทนไม่ไหว เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่สามารถจะอดทนต่อไปได้. | อดรนทนไม่ได้, อดรนทนไม่ไหว ก. ไม่สามารถจะอดทนต่อไปได้. |
อดสู เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง ละอายใจ, อับอายมาก. | อดสู ก. ละอายใจ, อับอายมาก. |
อดแห้งอดแล้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ได้กินของที่อยากกิน, อดอยากปากแห้ง ก็ว่า. | อดแห้งอดแล้ง ก. ไม่ได้กินของที่อยากกิน, อดอยากปากแห้ง ก็ว่า. |
อด ๆ อยาก ๆ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำกริยา หมายถึง กินอยู่อย่างฝืดเคือง, มีกินบ้างไม่มีกินบ้าง. | อด ๆ อยาก ๆ ก. กินอยู่อย่างฝืดเคือง, มีกินบ้างไม่มีกินบ้าง. |
อดอยาก เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่มีจะกิน, ขาดแคลนอาหาร, มีไม่พอกิน. | อดอยาก ก. ไม่มีจะกิน, ขาดแคลนอาหาร, มีไม่พอกิน. |
อดอยากปากแห้ง เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ได้กินของที่อยากกิน, อดแห้งอดแล้ง ก็ว่า. | อดอยากปากแห้ง ก. ไม่ได้กินของที่อยากกิน, อดแห้งอดแล้ง ก็ว่า. |
อดออม เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ประหยัด, กระเหม็ดกระแหม่, ออมอด ก็ว่า. | อดออม ก. ประหยัด, กระเหม็ดกระแหม่, ออมอด ก็ว่า. |
อดิ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ | ดู อติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | อดิ ดู อติ. |
อดิถี เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง แขก, ผู้มาหา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อติถิ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ. | อดิถี น. แขก, ผู้มาหา. (ป., ส. อติถิ). |
อดิเทพ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อติเทว เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน. | อดิเทพ น. เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น ๆ. (ป. อติเทว). |
อดิเรก, อดิเรก อดิเรก เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ อดิเรก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [อะดิเหฺรก, เหฺรกกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พิเศษ. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพรพิเศษที่พระสงฆ์ถวายพระมหากษัตริย์ ในคําว่า ถวายอดิเรก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อดิเรก, อดิเรก [อะดิเหฺรก, เหฺรกกะ] ว. พิเศษ. น. ชื่อพรพิเศษที่พระสงฆ์ถวายพระมหากษัตริย์ ในคําว่า ถวายอดิเรก. (ป., ส.). |
อดิเรกลาภ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา | [อะดิเหฺรกกะลาบ] เป็นคำนาม หมายถึง อติเรกลาภ, ลาภพิเศษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อติเรกลาภ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา. | อดิเรกลาภ [อะดิเหฺรกกะลาบ] น. อติเรกลาภ, ลาภพิเศษ. (ป., ส. อติเรกลาภ). |
อดิศร, อดิศวร อดิศร เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ อดิศวร เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [อะดิสอน, สวน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ + อีศฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ อติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ + อีศฺวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ . | อดิศร, อดิศวร [อะดิสอน, สวน] น. ผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่. (ส. อติ + อีศฺร, อติ + อีศฺวร). |
อดิศัย เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [อะดิไส] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลิศ, ประเสริฐ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อติสย เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก. | อดิศัย [อะดิไส] ว. เลิศ, ประเสริฐ. (ส.; ป. อติสย). |
อดีต, อดีต อดีต เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า อดีต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า | [อะดีด, อะดีดตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ล่วงแล้ว. เป็นคำนาม หมายถึง เวลาที่ล่วงแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อตีต เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า. | อดีต, อดีต [อะดีด, อะดีดตะ] ว. ล่วงแล้ว. น. เวลาที่ล่วงแล้ว. (ป., ส. อตีต). |
อดีตกาล, อดีตสมัย อดีตกาล เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง อดีตสมัย เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [อะดีดตะกาน, ตะสะไหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาที่ล่วงแล้ว. | อดีตกาล, อดีตสมัย [อะดีดตะกาน, ตะสะไหฺม] น. เวลาที่ล่วงแล้ว. |
อดีตชาติ, อดีตภพ อดีตชาติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ อดีตภพ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน | [อะดีดตะชาด, ตะพบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชาติก่อน, ภพก่อน. | อดีตชาติ, อดีตภพ [อะดีดตะชาด, ตะพบ] น. ชาติก่อน, ภพก่อน. |
อดุล, อดุลย, อดุลย์ อดุล เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง อดุลย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก อดุลย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะดุน, อะดุนละยะ, อะดุน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่งไม่ได้, ไม่มีอะไรเปรียบ, ไม่มีอะไรเท่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อตุล เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง อตุลฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | อดุล, อดุลย, อดุลย์ [อะดุน, อะดุนละยะ, อะดุน] ว. ชั่งไม่ได้, ไม่มีอะไรเปรียบ, ไม่มีอะไรเท่า. (ป., ส. อตุล, อตุลฺย). |
อติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะติ]คํานําหน้าคําที่มาจากบาลีและสันสกฤตให้มีใจความว่า พิเศษ, ยิ่ง, มาก, เลิศล้น; ผ่าน, ล่วง, พ้นเลยไป, เขียนเป็น อดิ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อติ [อะติ] คํานําหน้าคําที่มาจากบาลีและสันสกฤตให้มีใจความว่า พิเศษ, ยิ่ง, มาก, เลิศล้น; ผ่าน, ล่วง, พ้นเลยไป, เขียนเป็น อดิ ก็มี. (ป., ส.). |
อติชาต, อติชาต อติชาต เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า อติชาต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | [อะติชาด, อะติชาดตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลิศกว่าเผ่าพงศ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อติชาต, อติชาต [อะติชาด, อะติชาดตะ] ว. เลิศกว่าเผ่าพงศ์. (ป., ส.). |
อติชาตบุตร เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง บุตรที่มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา, อภิชาตบุตร ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อติชาตปุตฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี อติชาตปุตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อติชาตบุตร น. บุตรที่มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา, อภิชาตบุตร ก็ว่า. (ส. อติชาตปุตฺร; ป. อติชาตปุตฺต). |
อติเทพ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น ๆ. | อติเทพ น. เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น ๆ. |
อติมานะ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อติมานะ น. ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง. (ป.). |
อติราช เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | [อะติราด] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่, มหาราช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อติราช [อะติราด] น. เจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่, มหาราช. (ป.). |
อติเรก, อติเรก อติเรก เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ อติเรก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [อะติเหฺรก, เหฺรกกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อดิเรก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อติเรก, อติเรก [อะติเหฺรก, เหฺรกกะ] ว. อดิเรก. (ป., ส.). |
อติเรกจีวร เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง จีวรของภิกษุที่เขาถวายเพิ่มเข้ามานอกจากผ้าที่อธิษฐานเป็นไตรจีวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อติเรกจีวร น. จีวรของภิกษุที่เขาถวายเพิ่มเข้ามานอกจากผ้าที่อธิษฐานเป็นไตรจีวร. (ป., ส.). |
อติเรกลาภ เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา | เป็นคำนาม หมายถึง อดิเรกลาภ, ลาภพิเศษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อติเรกลาภ น. อดิเรกลาภ, ลาภพิเศษ. (ป., ส.). |
อติสาร เขียนว่า ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะติสาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของการเจ็บไข้ที่เข้าขีดตาย. เป็นคำนาม หมายถึง โรคลงแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อติสาร [อะติสาน] ว. อาการของการเจ็บไข้ที่เข้าขีดตาย. น. โรคลงแดง. (ป., ส.). |
อถรรพเวท, อาถรรพเวท อถรรพเวท เขียนว่า ออ-อ่าง-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน อาถรรพเวท เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน | [อะถับพะเวด, อะถันพะเวด, อาถับพะเวด, อาถันพะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ที่ ๔ ของพระเวท ส่วนใหญ่ประพันธ์ขึ้นภายหลัง แต่มีบางบทที่เก่ามากซึ่งนำมาจากฤคเวทก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . ในวงเล็บ ดู เวท, เวท ประกอบ เวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน เวท ประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ . | อถรรพเวท, อาถรรพเวท [อะถับพะเวด, อะถันพะเวด, อาถับพะเวด, อาถันพะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๔ ของพระเวท ส่วนใหญ่ประพันธ์ขึ้นภายหลัง แต่มีบางบทที่เก่ามากซึ่งนำมาจากฤคเวทก็มี. (ส.). (ดู เวท, เวท ประกอบ). |
อทระ, อารทรา อทระ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ อารทรา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [อะทฺระ, อาระทฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๖ มี ๑ ดวง เห็นเป็นรูปฉัตร, ดาวอัททา ดาวตัวโค หรือ ดาวตาสําเภา ก็เรียก. | อทระ, อารทรา [อะทฺระ, อาระทฺรา] น. ดาวฤกษ์ที่ ๖ มี ๑ ดวง เห็นเป็นรูปฉัตร, ดาวอัททา ดาวตัวโค หรือ ดาวตาสําเภา ก็เรียก. |
อทินนาทาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [อะทิน] เป็นคำนาม หมายถึง การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, การลักทรัพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อทินนาทาน [อะทิน] น. การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, การลักทรัพย์. (ป.). |
อทินนาทายี เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้, ขโมย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อทินนาทายี น. ผู้ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้, ขโมย. (ป.). |
อธรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [อะทํา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่มีธรรม, ความชั่วร้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อธรรม [อะทํา] ว. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. น. ความไม่มีธรรม, ความชั่วร้าย. (ส.). |
อธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ | คํานําหน้าคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต แปลว่า ยิ่ง, ใหญ่, เช่น อธิปัญญา = ปัญญายิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต = ยิ่ง, ใหญ่, ทับ . | อธิ คํานําหน้าคําที่มาจากบาลีและสันสกฤต แปลว่า ยิ่ง, ใหญ่, เช่น อธิปัญญา = ปัญญายิ่ง. (ป., ส. = ยิ่ง, ใหญ่, ทับ). |
อธิก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [อะทิกะ, อะทิกกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่ง, เกิน, มาก, เพิ่ม, เลิศ, ใช้ว่า อธึก ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อธิก [อะทิกะ, อะทิกกะ] ว. ยิ่ง, เกิน, มาก, เพิ่ม, เลิศ, ใช้ว่า อธึก ก็มี. (ป., ส.). |
อธิกมาส เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | [มาด] เป็นคำนาม หมายถึง เดือนที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือ ในปีนั้นมี ๑๓ เดือน มีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ สอง ๘. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อธิกมาส [มาด] น. เดือนที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือ ในปีนั้นมี ๑๓ เดือน มีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ สอง ๘. (ป.). |
อธิกวาร เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [วาน] เป็นคำนาม หมายถึง วันที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือ ในปีนั้นเดือน ๗ เป็นเดือนเต็ม มี ๓๐ วัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อธิกวาร [วาน] น. วันที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือ ในปีนั้นเดือน ๗ เป็นเดือนเต็ม มี ๓๐ วัน. (ป.). |
อธิกสุรทิน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [สุระทิน] เป็นคำนาม หมายถึง วันที่เพิ่มขึ้นในปีสุริยคติ คือ ในปีนั้นเพิ่มวันเข้าในเดือนกุมภาพันธ์อีก ๑ วัน เป็น ๒๙ วัน. | อธิกสุรทิน [สุระทิน] น. วันที่เพิ่มขึ้นในปีสุริยคติ คือ ในปีนั้นเพิ่มวันเข้าในเดือนกุมภาพันธ์อีก ๑ วัน เป็น ๒๙ วัน. |
อธิกรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เหตุ, โทษ, คดี, เรื่องราว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อธิกรณ์ น. เหตุ, โทษ, คดี, เรื่องราว. (ป., ส.). |
อธิการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะทิกาน] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระที่ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสซึ่งไม่มีสมณศักดิ์อย่างอื่นว่า พระอธิการ, เรียกพระที่ดํารงตําแหน่งพระอุปัชฌาย์หรือเจ้าคณะตําบล ซึ่งไม่มีสมณศักดิ์อย่างอื่นว่า เจ้าอธิการ; ตําแหน่งสูงสุดของผู้บริหารในวิทยาลัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อธิการ [อะทิกาน] น. เรียกพระที่ดํารงตําแหน่งเจ้าอาวาสซึ่งไม่มีสมณศักดิ์อย่างอื่นว่า พระอธิการ, เรียกพระที่ดํารงตําแหน่งพระอุปัชฌาย์หรือเจ้าคณะตําบล ซึ่งไม่มีสมณศักดิ์อย่างอื่นว่า เจ้าอธิการ; ตําแหน่งสูงสุดของผู้บริหารในวิทยาลัย. (ป., ส.). |
อธิการบดี เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [อะทิกานบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งสูงสุดของผู้บริหารในมหาวิทยาลัย. | อธิการบดี [อะทิกานบอดี] น. ตําแหน่งสูงสุดของผู้บริหารในมหาวิทยาลัย. |
อธิคม เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การบรรลุ, ความสําเร็จ, การได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อธิคม น. การบรรลุ, ความสําเร็จ, การได้. (ป., ส.). |
อธิฏฐาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [อะทิดถาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิษฐาน ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อธิษฺาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | อธิฏฐาน [อะทิดถาน] ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิษฐาน ก็ว่า. (ป.; ส. อธิษฺาน). |
อธิบดี เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [อะทิบอดี, อะทิบบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่, ผู้ปกครอง, หัวหน้า, เช่น อธิบดีสงฆ์ อธิบดีผู้พิพากษา; ตําแหน่งหัวหน้ากรมในราชการ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความเจริญสวัสดิมงคล ทางโหราศาสตร์นิยมให้ประกอบการมงคลต่าง ๆ ในวัน ยาม ฤกษ์ ราศี และดิถีที่เป็นอธิบดี ทั้งนี้ตลอดปีนั้น ๆ, ตรงข้ามกับโลกาวินาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อธิปติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | อธิบดี [อะทิบอดี, อะทิบบอดี] น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้ปกครอง, หัวหน้า, เช่น อธิบดีสงฆ์ อธิบดีผู้พิพากษา; ตําแหน่งหัวหน้ากรมในราชการ. ว. มีความเจริญสวัสดิมงคล ทางโหราศาสตร์นิยมให้ประกอบการมงคลต่าง ๆ ในวัน ยาม ฤกษ์ ราศี และดิถีที่เป็นอธิบดี ทั้งนี้ตลอดปีนั้น ๆ, ตรงข้ามกับโลกาวินาศ. (ป., ส. อธิปติ). |
อธิบาย เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [อะทิบาย] เป็นคำกริยา หมายถึง ไขความ, ขยายความ, ชี้แจง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อธิปฺปาย เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก. | อธิบาย [อะทิบาย] ก. ไขความ, ขยายความ, ชี้แจง. (ป. อธิปฺปาย). |
อธิป, อธิป อธิป เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา อธิป มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา | [อะทิบ, อะทิปะ, อะทิบปะ] เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน, นาย, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่, มักใช้พ่วงท้ายศัพท์ เช่น นราธิป ชนาธิป, แต่เมื่อนําหน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยสระ มักใช้ อธิบ เช่น นราธิเบศร์ นราธิเบนทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อธิป, อธิป [อะทิบ, อะทิปะ, อะทิบปะ] น. พระเจ้าแผ่นดิน, นาย, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่, มักใช้พ่วงท้ายศัพท์ เช่น นราธิป ชนาธิป, แต่เมื่อนําหน้าคําที่ขึ้นต้นด้วยสระ มักใช้ อธิบ เช่น นราธิเบศร์ นราธิเบนทร์. (ป., ส.). |
อธิปไตย เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [อะทิปะไต, อะทิบปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจสูงสุดของรัฐที่จะใช้บังคับบัญชาภายในอาณาเขตของตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อธิปเตยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก ว่า ความเป็นใหญ่ยิ่ง . (อ. sovereignty). | อธิปไตย [อะทิปะไต, อะทิบปะไต] น. อํานาจสูงสุดของรัฐที่จะใช้บังคับบัญชาภายในอาณาเขตของตน. (ป. อธิปเตยฺย ว่า ความเป็นใหญ่ยิ่ง). (อ. sovereignty). |
อธิมาตร เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [อะทิมาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหลือคณนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อธิมตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อธิมาตร [อะทิมาด] ว. เหลือคณนา. (ส.; ป. อธิมตฺต). |
อธิมุตติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะทิมุดติ] เป็นคำนาม หมายถึง อัชฌาสัย, ความพอใจ, ความตั้งใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อธิมุกฺติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | อธิมุตติ [อะทิมุดติ] น. อัชฌาสัย, ความพอใจ, ความตั้งใจ. (ป.; ส. อธิมุกฺติ). |
อธิโมกข์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ความตัดสินเด็ดขาด, ความเด็ดเดี่ยว; ความน้อมใจเชื่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อธิโมกฺษ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี. | อธิโมกข์ น. ความตัดสินเด็ดขาด, ความเด็ดเดี่ยว; ความน้อมใจเชื่อ. (ป.; ส. อธิโมกฺษ). |
อธิราช เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อธิราช น. พระเจ้าแผ่นดินผู้ยิ่งใหญ่. (ส.). |
อธิวาส เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่, บ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อธิวาส น. ที่อยู่, บ้าน. (ป., ส.). |
อธิวาสนะ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วาสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความอดกลั้น, ความอดทน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อธิวาสนะ [วาสะนะ] น. ความอดกลั้น, ความอดทน. (ป.). |
อธิศีล เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ศีลอย่างสูง, ศีลอย่างอุกฤษฏ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อธิสีล เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง. | อธิศีล น. ศีลอย่างสูง, ศีลอย่างอุกฤษฏ์. (ป. อธิสีล). |
อธิษฐาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [อะทิดถาน, อะทิดสะถาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิฏฐาน ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อธิฏฺาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | อธิษฐาน [อะทิดถาน, อะทิดสะถาน] ก. ตั้งใจมุ่งผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตั้งจิตปรารถนา, ตั้งจิตขอร้องต่อสิ่งที่ตนถือว่าศักดิ์สิทธิ์เพื่อผลอย่างใดอย่างหนึ่ง, อธิฏฐาน ก็ว่า. (ส.; ป. อธิฏฺาน). |
อธึก เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อธิก, ยิ่ง, เกิน, มาก, เพิ่ม, เลิศ. | อธึก ว. อธิก, ยิ่ง, เกิน, มาก, เพิ่ม, เลิศ. |
อน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู | [อะนะ]เป็นคําปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ในวงเล็บ ดู อ ๒ ประกอบ เขียนว่า ออ-อ่าง สอง ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ . | อน [อะนะ] เป็นคําปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. (ดู อ ๒ ประกอบ). |
อ้น เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Rhizomyidae ลําตัวกลมอ้วนป้อมสีนํ้าตาล ตาและหูเล็กมาก ขาและหางสั้น อาศัยอยู่ใต้ดินหรือโพรงไม้ ฟันแทะคู่หน้ามีขนาดใหญ่เห็นได้ชัด ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ อ้นใหญ่ (Rhizomys sumatrensis) อ้นกลาง (R. pruinosus) และอ้นเล็ก (Cannomys badius). | อ้น ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Rhizomyidae ลําตัวกลมอ้วนป้อมสีนํ้าตาล ตาและหูเล็กมาก ขาและหางสั้น อาศัยอยู่ใต้ดินหรือโพรงไม้ ฟันแทะคู่หน้ามีขนาดใหญ่เห็นได้ชัด ในประเทศไทยมี ๓ ชนิด คือ อ้นใหญ่ (Rhizomys sumatrensis) อ้นกลาง (R. pruinosus) และอ้นเล็ก (Cannomys badius). |
อ้น ๒, อ้นอ้อ อ้น ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-โท-นอ-หนู อ้นอ้อ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-โท-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-โท-ออ-อ่าง | ดู ชีล้อม เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ที่ ชี เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒. | อ้น ๒, อ้นอ้อ ดู ชีล้อม ที่ ชี ๒. |
อนงค, อนงค์ ๑ อนงค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-คอ-ควาย อนงค์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [อะนงคะ, อะนง] เป็นคำนาม หมายถึง นาง, นางงาม. | อนงค, อนงค์ ๑ [อะนงคะ, อะนง] น. นาง, นางงาม. |
อนงคเลข, อนงคเลขา อนงคเลข เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่ อนงคเลขา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง จดหมายรัก, เพลงยาว. | อนงคเลข, อนงคเลขา น. จดหมายรัก, เพลงยาว. |
อนงค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๒ | [อะนง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไม่มีตัวตน เป็นชื่อหนึ่งของกามเทพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนงฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย ว่า ไม่มีตัวตน = ชื่อกามเทพ . | อนงค์ ๒ [อะนง] (วรรณ) น. ผู้ไม่มีตัวตน เป็นชื่อหนึ่งของกามเทพ. (ส. อนงฺค ว่า ไม่มีตัวตน = ชื่อกามเทพ). |
อนงคณะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [อะนงคะนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีกิเลส, ไม่มีสิ่งชั่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนงคณะ [อะนงคะนะ] ว. ไม่มีกิเลส, ไม่มีสิ่งชั่ว. (ป.). |
อนธ, อันธ อนธ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทง อันธ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง | [อนทะ, ทะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มืด, มืดมน; โง่, ทึบ; มองไม่เห็น, บอด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนธ, อันธ [อนทะ, ทะ] ว. มืด, มืดมน; โง่, ทึบ; มองไม่เห็น, บอด. (ป., ส.). |
อนธการ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ความมืด, ความมัว, ความมืดมน; เวลาคํ่า; ความเขลา; อันธการ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนธการ น. ความมืด, ความมัว, ความมืดมน; เวลาคํ่า; ความเขลา; อันธการ ก็ว่า. (ป.). |
อนนต์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อานนท์ ก็ว่า. | อนนต์ น. ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวจะทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อานนท์ ก็ว่า. |
อนยะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [อะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เคราะห์ร้าย, ทุกข์, ความฉิบหาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนยะ [อะนะ] น. เคราะห์ร้าย, ทุกข์, ความฉิบหาย. (ป., ส.). |
อนรรฆ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ระ-คัง | [อะนัก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หาค่ามิได้, เกินที่จะประมาณราคาได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนรฺฆ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง. | อนรรฆ [อะนัก] ว. หาค่ามิได้, เกินที่จะประมาณราคาได้. (ส. อนรฺฆ). |
อนรรถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | [อะนัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เป็นประโยชน์, ไม่มีผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนรฺถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาบาลี อนตฺถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง. | อนรรถ [อะนัด] ว. ไม่เป็นประโยชน์, ไม่มีผล. (ส. อนรฺถ; ป. อนตฺถ). |
อนล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ลอ-ลิง | [อะนน] เป็นคำนาม หมายถึง ไฟ; พระอัคนี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อนล [อะนน] น. ไฟ; พระอัคนี. (ส.). |
อนวัช, อนวัช อนวัช เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง อนวัช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง | [อะนะวัด, อะนะวัดชะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ติ, ไม่มีตําหนิ, เช่น อนวัชกรรม คือ กรรมที่ไม่มีโทษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนวชฺช เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง. | อนวัช, อนวัช [อะนะวัด, อะนะวัดชะ] ว. ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ติ, ไม่มีตําหนิ, เช่น อนวัชกรรม คือ กรรมที่ไม่มีโทษ. (ป. อนวชฺช). |
อนัญ, อนัญ อนัญ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง อนัญ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง | [อะนัน, อะนันยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ใช่อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง. | อนัญ, อนัญ [อะนัน, อะนันยะ] ว. ไม่ใช่อื่น. (ป. อนฺ). |
อนัญคติ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะนันยะคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง หนทางเดียว; ความจําเป็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนฺคติ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | อนัญคติ [อะนันยะคะติ] น. หนทางเดียว; ความจําเป็น. (ป. อนฺคติ). |
อนัญสาธารณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [อะนันยะสาทาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นพิเศษไม่ทั่วไปแก่คนอื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนฺสาธารณ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน. | อนัญสาธารณ์ [อะนันยะสาทาน] ว. เป็นพิเศษไม่ทั่วไปแก่คนอื่น. (ป. อนฺสาธารณ). |
อนัตตา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ใช่อัตตา, ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนัตตา ว. ไม่ใช่อัตตา, ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน. (ป.). |
อนัตถ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง | [อะนัดถะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อนรรถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนัตถ [อะนัดถะ] ว. อนรรถ. (ป.). |
อนันต, อนันต์ อนันต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า อนันต์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [อะนันตะ, อะนัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีสิ้นสุด, มากล้น, เช่น อนันตคุณ คุณอนันต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนันต, อนันต์ [อะนันตะ, อะนัน] ว. ไม่มีสิ้นสุด, มากล้น, เช่น อนันตคุณ คุณอนันต์. (ป.). |
อนันตร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [อะนันตะระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีระหว่าง, ติดต่อกันเรื่อยไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนันตร [อะนันตะระ] ว. ไม่มีระหว่าง, ติดต่อกันเรื่อยไป. (ป., ส.). |
อนันตริยกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [ตะริยะกํา] เป็นคำนาม หมายถึง กรรมที่ให้ผลไม่เว้นระยะ คือ กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มี ๕ อย่าง คือ ๑. ฆ่าบิดา ๒. ฆ่ามารดา ๓. ฆ่าพระอรหันต์ ๔. ทําให้พระกายพระพุทธเจ้าห้อเลือด ๕. ทําให้สงฆ์แตกแยกกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนนฺตริยกมฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | อนันตริยกรรม [ตะริยะกํา] น. กรรมที่ให้ผลไม่เว้นระยะ คือ กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มี ๕ อย่าง คือ ๑. ฆ่าบิดา ๒. ฆ่ามารดา ๓. ฆ่าพระอรหันต์ ๔. ทําให้พระกายพระพุทธเจ้าห้อเลือด ๕. ทําให้สงฆ์แตกแยกกัน. (ป. อนนฺตริยกมฺม). |
อนันตริยกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | ดู อนันตร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ. | อนันตริยกรรม ดู อนันตร. |
อนัม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ญวน, ใช้ว่า อนํา อานํา หรือ อานัม ก็มี. | อนัม น. ญวน, ใช้ว่า อนํา อานํา หรือ อานัม ก็มี. |
อนากูล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่อากูล, ไม่คั่งค้าง, เช่น การงานอนากูลเป็นมงคลอันสูงสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต น เขียนว่า นอ-หนู + อากุล เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง . | อนากูล ว. ไม่อากูล, ไม่คั่งค้าง, เช่น การงานอนากูลเป็นมงคลอันสูงสุด. (ป., ส. น + อากุล). |
อนาคต, อนาคต อนาคต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า อนาคต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า | [อะนาคด, อะนาคดตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังไม่มาถึง. เป็นคำนาม หมายถึง เวลาภายหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนาคต, อนาคต [อะนาคด, อะนาคดตะ] ว. ยังไม่มาถึง. น. เวลาภายหน้า. (ป., ส.). |
อนาคตกาล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง กาลภายหน้า, กาลที่ยังมาไม่ถึง. | อนาคตกาล น. กาลภายหน้า, กาลที่ยังมาไม่ถึง. |
อนาคามิผล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมที่พระอนาคามีได้บรรลุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนาคามินฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ + ผล เขียนว่า ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง . ในวงเล็บ ดู ผล เขียนว่า ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง. | อนาคามิผล น. ธรรมที่พระอนาคามีได้บรรลุ. (ป.; ส. อนาคามินฺ + ผล). (ดู ผล). |
อนาคามิมรรค เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง ทางปฏิบัติที่ให้สําเร็จเป็นพระอนาคามี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนาคามินฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ + มารฺค เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี อนาคามิมคฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย. ในวงเล็บ ดู มรรค เขียนว่า มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย. | อนาคามิมรรค น. ทางปฏิบัติที่ให้สําเร็จเป็นพระอนาคามี. (ส. อนาคามินฺ + มารฺค; ป. อนาคามิมคฺค). (ดู มรรค). |
อนาคามี เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไม่มาสู่กามภพอีก เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๓ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า พระอนาคา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนาคามินฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | อนาคามี น. ผู้ไม่มาสู่กามภพอีก เป็นชื่อพระอริยบุคคลชั้นที่ ๓ ใน ๔ ชั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์, บางทีเรียกสั้น ๆ ว่า พระอนาคา. (ป.; ส. อนาคามินฺ). |
อนาจาร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะนาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติน่าอับอาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ชื่อความผิดอาญาฐานกระทําการอันควรขายหน้าต่อหน้าธารกํานัล โดยเปลือยหรือเปิดเผยร่างกาย หรือกระทําการลามกอย่างอื่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลามก, น่าบัดสี, ทําให้เป็นที่อับอาย, เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อื่นในด้านความดีงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนาจาร [อะนาจาน] น. ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติน่าอับอาย; (กฎ) ชื่อความผิดอาญาฐานกระทําการอันควรขายหน้าต่อหน้าธารกํานัล โดยเปลือยหรือเปิดเผยร่างกาย หรือกระทําการลามกอย่างอื่น. ว. ลามก, น่าบัดสี, ทําให้เป็นที่อับอาย, เป็นที่น่ารังเกียจแก่ผู้อื่นในด้านความดีงาม. (ป., ส.). |
อนาถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง | [อะหฺนาด] เป็นคำกริยา หมายถึง สงสาร, สังเวช, สลดใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนาถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง ว่า ไม่มีที่พึ่ง . | อนาถ [อะหฺนาด] ก. สงสาร, สังเวช, สลดใจ. (ป., ส. อนาถ ว่า ไม่มีที่พึ่ง). |
อนาถา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีที่พึ่ง, กําพร้า, ยากจน, เข็ญใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนาถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง. | อนาถา ว. ไม่มีที่พึ่ง, กําพร้า, ยากจน, เข็ญใจ. (ป., ส. อนาถ). |
อนาทร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | [อะนาทอน] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่เอื้อเฟื้อ, ความไม่เอาใจใส่, ความไม่พะวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนาทร ๑ [อะนาทอน] น. ความไม่เอื้อเฟื้อ, ความไม่เอาใจใส่, ความไม่พะวง. (ป., ส.). |
อนาทร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | [อะนาทอน] เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นทุกข์เป็นร้อน, ร้อนอกร้อนใจ, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่อนาทร อย่าอนาทร หมายความว่า ไม่เป็นทุกข์เป็นร้อน อย่าร้อนอกร้อนใจ. | อนาทร ๒ [อะนาทอน] ก. เป็นทุกข์เป็นร้อน, ร้อนอกร้อนใจ, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่อนาทร อย่าอนาทร หมายความว่า ไม่เป็นทุกข์เป็นร้อน อย่าร้อนอกร้อนใจ. |
อนาธิปไตย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [อะนาทิปะไต, อะนาทิบปะไต] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ภาวะที่บ้านเมืองไม่มีรัฐบาล ไม่มีกฎหมายและระเบียบ ทำให้เกิดความวุ่นวายทางการเมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ anarchy เขียนว่า เอ-เอ็น-เอ-อา-ซี-เอช-วาย. | อนาธิปไตย [อะนาทิปะไต, อะนาทิบปะไต] ว. ภาวะที่บ้านเมืองไม่มีรัฐบาล ไม่มีกฎหมายและระเบียบ ทำให้เกิดความวุ่นวายทางการเมือง. (อ. anarchy). |
อนามัย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่มีโรค, สุขภาพ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับสุขภาพ, ถูกสุขลักษณะ, เช่น ข้าวอนามัย กรมอนามัย, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สะอาดปราศจากสารพิษเจือปน เช่น ผักอนามัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนามัย น. ความไม่มีโรค, สุขภาพ. ว. เกี่ยวกับสุขภาพ, ถูกสุขลักษณะ, เช่น ข้าวอนามัย กรมอนามัย, (ปาก) สะอาดปราศจากสารพิษเจือปน เช่น ผักอนามัย. (ป., ส.). |
อนามิกา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง นิ้วนาง. | อนามิกา (ราชา) น. นิ้วนาง. |
อนารย, อนารยะ อนารย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก อนารยะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [อะนาระยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ใช่อารยะ, ป่าเถื่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อนารย, อนารยะ [อะนาระยะ] ว. ไม่ใช่อารยะ, ป่าเถื่อน. (ส.). |
อนารยชน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ยังไม่เจริญ, คนป่าเถื่อน. | อนารยชน น. คนที่ยังไม่เจริญ, คนป่าเถื่อน. |
อนารยธรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ความตํ่าช้า, ความป่าเถื่อน. | อนารยธรรม น. ความตํ่าช้า, ความป่าเถื่อน. |
อนาลัย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง การไม่มีที่อยู่; การหมดความอยาก, การหมดความพัวพัน; ชื่อหนึ่งของพระนิพพาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนาลัย น. การไม่มีที่อยู่; การหมดความอยาก, การหมดความพัวพัน; ชื่อหนึ่งของพระนิพพาน. (ป.). |
อนำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ญวน, ใช้ว่า อนัม อานัม หรือ อานํา ก็มี. | อนำ น. ญวน, ใช้ว่า อนัม อานัม หรือ อานํา ก็มี. |
อนิจ, อนิจ อนิจ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน อนิจ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน | [อะนิด, อะนิดจะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ยั่งยืน, ไม่เที่ยง, ชั่วคราว, ไม่แน่นอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนิจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน และมาจากภาษาสันสกฤต อนิตฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | อนิจ, อนิจ [อะนิด, อะนิดจะ] ว. ไม่ยั่งยืน, ไม่เที่ยง, ชั่วคราว, ไม่แน่นอน. (ป. อนิจฺจ; ส. อนิตฺย). |
อนิจกรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม. | อนิจกรรม น. ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม. |
อนิจจัง เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [อะนิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน, เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนิจจัง ๑ [อะนิด] ว. ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน, เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ. (ป.). |
อนิจจัง ๒, อนิจจา อนิจจัง ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู อนิจจา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา | [อะนิด] เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสารสังเวชเป็นต้น. | อนิจจัง ๒, อนิจจา [อะนิด] อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสารสังเวชเป็นต้น. |
อนิฏฐารมณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [อะนิดถารม] เป็นคำนาม หมายถึง อารมณ์หรือสิ่งที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่าพอใจ ได้แก่ ความเสื่อมลาภ ความเสื่อมยศ นินทา ทุกข์, ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนิฏฺารมฺมณ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-เนน. | อนิฏฐารมณ์ [อะนิดถารม] น. อารมณ์หรือสิ่งที่ไม่น่าปรารถนาไม่น่าพอใจ ได้แก่ ความเสื่อมลาภ ความเสื่อมยศ นินทา ทุกข์, ตรงข้ามกับ อิฏฐารมณ์. (ป. อนิฏฺารมฺมณ). |
อนิยต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า | [อะนิยด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แน่นอน. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาบัติที่ไม่แน่นอนว่าจะเป็นอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ ซึ่งพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนิยต [อะนิยด] ว. ไม่แน่นอน. น. ชื่ออาบัติที่ไม่แน่นอนว่าจะเป็นอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย์ ซึ่งพระวินัยธรจะต้องวินิจฉัย. (ป., ส.). |
อนิยม, อนิยม อนิยม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า อนิยม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | [อะนิยม, อะนิยะมะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีกําหนด, ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน, ไม่แน่นอน, นอกแบบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนิยม, อนิยม [อะนิยม, อะนิยะมะ] ว. ไม่มีกําหนด, ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน, ไม่แน่นอน, นอกแบบ. (ป., ส.). |
อนิละ, อนิล อนิละ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ อนิล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง | [อะนิละ] เป็นคำนาม หมายถึง ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนิละ, อนิล [อะนิละ] น. ลม. (ป., ส.). |
อนิลบถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง | [อะนิละบด] เป็นคำนาม หมายถึง ทางลม, ฟ้า, อากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนิลปถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ถอ-ถุง. | อนิลบถ [อะนิละบด] น. ทางลม, ฟ้า, อากาศ. (ป. อนิลปถ). |
อนิวรรต, อนิวรรตน์ อนิวรรต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า อนิวรรตน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [อะนิวัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่กลับ, ไม่ท้อถอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนิวรฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า อนิวรฺตน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี อนิวตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า อนิวตฺตน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู . | อนิวรรต, อนิวรรตน์ [อะนิวัด] ว. ไม่กลับ, ไม่ท้อถอย. (ส. อนิวรฺต, อนิวรฺตน; ป. อนิวตฺต, อนิวตฺตน). |
อนิษฏ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่น่าปรารถนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อนิษฏ์ ว. ไม่น่าปรารถนา. (ส.). |
อนีก, อนีกะ, อนึก อนีก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ อนีกะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ อนึก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | [อะนีกะ, อะนึก] เป็นคำนาม หมายถึง กองทัพในสมัยโบราณ, เมื่อใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสใช้ว่า อนีกะ บ้าง อนึก บ้าง เช่น ปัตตานีกะ ปัตตานึก = กองทัพเหล่าราบ กองทัพทหารเดินเท้า, อัศวานีกะ อัศวานึก = กองทัพม้า เหล่าทหารม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนีก, อนีกะ, อนึก [อะนีกะ, อะนึก] น. กองทัพในสมัยโบราณ, เมื่อใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสใช้ว่า อนีกะ บ้าง อนึก บ้าง เช่น ปัตตานีกะ ปัตตานึก = กองทัพเหล่าราบ กองทัพทหารเดินเท้า, อัศวานีกะ อัศวานึก = กองทัพม้า เหล่าทหารม้า. (ป., ส.). |
อนีกทรรศนะ, อนีกทัศนะ อนีกทรรศนะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ อนีกทัศนะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง การตรวจพล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนีก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ + ทรฺศน เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี อนีกทสฺสน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู. | อนีกทรรศนะ, อนีกทัศนะ น. การตรวจพล. (ส. อนีก + ทรฺศน; ป. อนีกทสฺสน). |
อนีกัฐ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน | เป็นคำนาม หมายถึง ทหารม้า, ทหารรักษาพระองค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนีกฏฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน. | อนีกัฐ น. ทหารม้า, ทหารรักษาพระองค์. (ป. อนีกฏฺ). |
อนีกัฐ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน | ดู อนีก, อนีกะ, อนึก อนีก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ อนีกะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ อนึก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ . | อนีกัฐ ดู อนีก, อนีกะ, อนึก. |
อนีจะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตํ่า, ดี, งาม, น่านับถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนีจะ ว. ไม่ตํ่า, ดี, งาม, น่านับถือ. (ป., ส.). |
อนึก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง กองทัพ. ในวงเล็บ ดู อนีก, อนีกะ, อนึก อนีก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ อนีกะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ อนึก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ . | อนึก น. กองทัพ. (ดู อนีก, อนีกะ, อนึก). |
อนึ่ง เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู | [อะหฺนึ่ง] เป็นคำสันธาน หมายถึง อีกอย่างหนึ่ง, อีกประการหนึ่ง. | อนึ่ง [อะหฺนึ่ง] สัน. อีกอย่างหนึ่ง, อีกประการหนึ่ง. |
อนุ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ | คําประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม, เนือง ๆ เช่น อนุศาสน์ = สอนเนือง ๆ คือ พรํ่าสอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุ คําประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม, เนือง ๆ เช่น อนุศาสน์ = สอนเนือง ๆ คือ พรํ่าสอน. (ป., ส.). |
อนุกร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [อะนุกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ช่วย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอาอย่าง, ทําตาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อนุกร [อะนุกอน] น. ผู้ช่วย. ว. เอาอย่าง, ทําตาม. (ส.). |
อนุกรม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [อะนุกฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง ลําดับ, ระเบียบ, ชั้น, เช่น โดยอนุกรม, นิยมใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น พจนานุกรม ปทานุกรม นามานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนุกฺรม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี อนุกฺกม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-มอ-ม้า. | อนุกรม [อะนุกฺรม] น. ลําดับ, ระเบียบ, ชั้น, เช่น โดยอนุกรม, นิยมใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น พจนานุกรม ปทานุกรม นามานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรม. (ส. อนุกฺรม; ป. อนุกฺกม). |
อนุกรรมการ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะนุกํามะกาน] เป็นคำนาม หมายถึง กรรมการสาขาของคณะกรรมการ. | อนุกรรมการ [อะนุกํามะกาน] น. กรรมการสาขาของคณะกรรมการ. |
อนุกระเบียด เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดของไทย มีพิกัดเท่ากับครึ่งกระเบียดหรือ ๑ ใน ๘ ของนิ้ว. | อนุกระเบียด (โบ) น. มาตราวัดของไทย มีพิกัดเท่ากับครึ่งกระเบียดหรือ ๑ ใน ๘ ของนิ้ว. |
อนุกาชาด เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง อนุสมาชิกของสภากาชาด. | อนุกาชาด (โบ) น. อนุสมาชิกของสภากาชาด. |
อนุการ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การทําตาม, การเอาอย่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุการ น. การทําตาม, การเอาอย่าง. (ป., ส.). |
อนุกูล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง เกื้อกูล, สงเคราะห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุกูล ก. เกื้อกูล, สงเคราะห์. (ป., ส.). |
อนุคามิก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตามไป, เกี่ยวเนื่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนุคามิก ว. ตามไป, เกี่ยวเนื่อง. (ป.). |
อนุคามี เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ติดตาม, เพื่อน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ติดตาม, เกี่ยวเนื่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุคามี น. ผู้ติดตาม, เพื่อน. ว. ติดตาม, เกี่ยวเนื่อง. (ป., ส.). |
อนุเคราะห์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อเฟื้อ, ช่วยเหลือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนุคฺรห เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ และมาจากภาษาบาลี อนุคฺคห เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-หอ-หีบ. | อนุเคราะห์ ก. เอื้อเฟื้อ, ช่วยเหลือ. (ส. อนุคฺรห; ป. อนุคฺคห). |
อนุจร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ | [อะนุจอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประพฤติตาม, ผู้ติดตาม; เรียกพระภิกษุลูกวัดว่า พระอนุจร, พระอันดับ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุจร [อะนุจอน] น. ผู้ประพฤติตาม, ผู้ติดตาม; เรียกพระภิกษุลูกวัดว่า พระอนุจร, พระอันดับ ก็เรียก. (ป., ส.). |
อนุช เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง | [อะนุด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดภายหลัง, น้องสาว, นิยมใช้ว่า นุช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุช [อะนุด] น. ผู้เกิดภายหลัง, น้องสาว, นิยมใช้ว่า นุช. (ป., ส.). |
อนุชน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนรุ่นหลัง, คนรุ่นต่อไป. | อนุชน น. คนรุ่นหลัง, คนรุ่นต่อไป. |
อนุชา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | [อะนุชา] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดภายหลัง, น้องชาย, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง พระอนุชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุชา [อะนุชา] น. ผู้เกิดภายหลัง, น้องชาย, (ราชา) พระอนุชา. (ป., ส.). |
อนุชาต, อนุชาต อนุชาต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า อนุชาต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | [อะนุชาด, อะนุชาดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดตามมาไม่ดีกว่าหรือไม่เลวกว่าตระกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุชาต, อนุชาต [อะนุชาด, อะนุชาดตะ] น. ผู้เกิดตามมาไม่ดีกว่าหรือไม่เลวกว่าตระกูล. (ป., ส.). |
อนุชาตบุตร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง บุตรที่มีคุณสมบัติเสมอด้วยบิดามารดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนุชาตปุตฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี อนุชาตปุตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อนุชาตบุตร น. บุตรที่มีคุณสมบัติเสมอด้วยบิดามารดา. (ส. อนุชาตปุตฺร; ป. อนุชาตปุตฺต). |
อนุชิต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ชนะเนือง ๆ เช่น อนุชิตชาญชัย. | อนุชิต ก. ชนะเนือง ๆ เช่น อนุชิตชาญชัย. |
อนุญาต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ยินยอม, ยอมให้, ตกลง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุญฺาต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า. | อนุญาต ก. ยินยอม, ยอมให้, ตกลง. (ป. อนุญฺาต). |
อนุญาโตตุลาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่คู่กรณีในสัญญาอนุญาโตตุลาการตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้นในอนาคตให้ชี้ขาด. | อนุญาโตตุลาการ น. บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท; (กฎ) บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่คู่กรณีในสัญญาอนุญาโตตุลาการตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้นในอนาคตให้ชี้ขาด. |
อนุตร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [อะนุดตะระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีสิ่งใดสูงกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, วิเศษ เช่น อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนุตฺตร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ. | อนุตร [อะนุดตะระ] ว. ไม่มีสิ่งใดสูงกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, วิเศษ เช่น อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ. (ป., ส. อนุตฺตร). |
อนุเถระ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง พระเถระชั้นผู้น้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนุเถระ น. พระเถระชั้นผู้น้อย. (ป.). |
อนุทิน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สมุดบันทึกประจําวัน. | อนุทิน น. สมุดบันทึกประจําวัน. |
อนุบท เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง บทลูกคู่, บทรับของเพลงและกลอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนุปท เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน. | อนุบท น. บทลูกคู่, บทรับของเพลงและกลอน. (ป., ส. อนุปท). |
อนุบาล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง ตามเลี้ยงดู, ตามระวังรักษา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่คอยตามเลี้ยงดู, ที่คอยตามระวังรักษา, เรียกโรงเรียนที่สอนเด็กที่มีอายุระหว่าง ๓ ขวบครึ่ง ถึง ๗ ขวบ ว่า โรงเรียนอนุบาล, เรียกครูที่สอนโรงเรียนอนุบาลว่า ครูอนุบาล, เรียกนักเรียนโรงเรียนอนุบาลว่า นักเรียนอนุบาล; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เรียกผู้ที่ศาลมีคําสั่งแต่งตั้งให้เป็นผู้ปกครองดูแลคนไร้ความสามารถว่า ผู้อนุบาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนุปาล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | อนุบาล ก. ตามเลี้ยงดู, ตามระวังรักษา. ว. ที่คอยตามเลี้ยงดู, ที่คอยตามระวังรักษา, เรียกโรงเรียนที่สอนเด็กที่มีอายุระหว่าง ๓ ขวบครึ่ง ถึง ๗ ขวบ ว่า โรงเรียนอนุบาล, เรียกครูที่สอนโรงเรียนอนุบาลว่า ครูอนุบาล, เรียกนักเรียนโรงเรียนอนุบาลว่า นักเรียนอนุบาล; (กฎ) เรียกผู้ที่ศาลมีคําสั่งแต่งตั้งให้เป็นผู้ปกครองดูแลคนไร้ความสามารถว่า ผู้อนุบาล. (ป., ส. อนุปาล). |
อนุประโยค เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง ประโยคเล็กที่ทำหน้าที่แต่งมุขยประโยคให้ได้ความดีขึ้น แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ นามานุประโยค คุณานุประโยค และวิเศษณานุประโยค. | อนุประโยค น. ประโยคเล็กที่ทำหน้าที่แต่งมุขยประโยคให้ได้ความดีขึ้น แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ นามานุประโยค คุณานุประโยค และวิเศษณานุประโยค. |
อนุปริญญา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา | [อะนุปะรินยา] เป็นคำนาม หมายถึง ชั้นความรู้ระดับอุดมศึกษารองจากปริญญาตรี ซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตรที่กําหนดไว้. | อนุปริญญา [อะนุปะรินยา] น. ชั้นความรู้ระดับอุดมศึกษารองจากปริญญาตรี ซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามหลักสูตรที่กําหนดไว้. |
อนุปสัมบัน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [อะนุปะสําบัน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ไม่ได้เป็นภิกษุ หมายถึง สามเณรและคฤหัสถ์, คู่กับ อุปสมบัน หรือ อุปสัมบัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนุปสัมบัน [อะนุปะสําบัน] น. ผู้ที่ไม่ได้เป็นภิกษุ หมายถึง สามเณรและคฤหัสถ์, คู่กับ อุปสมบัน หรือ อุปสัมบัน. (ป.). |
อนุปัสนา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [อะนุปัดสะนา] เป็นคำนาม หมายถึง การพิจารณา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุปสฺสนา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. | อนุปัสนา [อะนุปัดสะนา] น. การพิจารณา. (ป. อนุปสฺสนา). |
อนุพงศ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์ที่เนื่องมา, วงศ์ย่อยที่สืบมาจากวงศ์ใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อนุวํศ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา. | อนุพงศ์ น. วงศ์ที่เนื่องมา, วงศ์ย่อยที่สืบมาจากวงศ์ใหญ่. (ส. อนุวํศ). |
อนุพัทธ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง. | อนุพัทธ์ ว. ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง. |
อนุพันธ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวเนื่อง เช่น นํ้ามันระกําเป็นอนุพันธ์ของสารฟีนอล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุพันธ์ ว. ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง. (วิทยา) น. สิ่งที่เกี่ยวเนื่อง เช่น นํ้ามันระกําเป็นอนุพันธ์ของสารฟีนอล. (ป., ส.). |
อนุโพธ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง | [โพด] เป็นคำนาม หมายถึง การรู้แจ้งตาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุโพธ [โพด] น. การรู้แจ้งตาม. (ป., ส.). |
อนุภรรยา, อนุภริยา อนุภรรยา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา อนุภริยา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เมียน้อย. | อนุภรรยา, อนุภริยา น. เมียน้อย. |
อนุภาค เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง ชิ้นหรือส่วนขนาดเล็กมาก, ในทางวิทยาศาสตร์มักใช้เรียกส่วนที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ particle เขียนว่า พี-เอ-อา-ที-ไอ-ซี-แอล-อี. | อนุภาค น. ชิ้นหรือส่วนขนาดเล็กมาก, ในทางวิทยาศาสตร์มักใช้เรียกส่วนที่มีขนาดเล็กกว่าอะตอม เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา. (อ. particle). |
อนุภาษ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี | [พาด] เป็นคำกริยา หมายถึง พรํ่ากล่าว, พรํ่าสอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อนุภาส เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ. | อนุภาษ [พาด] ก. พรํ่ากล่าว, พรํ่าสอน. (ส.; ป. อนุภาส). |
อนุมัติ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [มัด] เป็นคำกริยา หมายถึง ให้อำนาจกระทำการตามระเบียบที่กําหนดไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุมัติ [มัด] ก. ให้อำนาจกระทำการตามระเบียบที่กําหนดไว้. (ป., ส.). |
อนุมาตรา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [มาดตฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง ข้อย่อยของมาตราในกฎหมายที่มีเลขกำกับอยู่ในวงเล็บ. | อนุมาตรา [มาดตฺรา] น. ข้อย่อยของมาตราในกฎหมายที่มีเลขกำกับอยู่ในวงเล็บ. |
อนุมาน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง คาดคะเนตามหลักเหตุผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุมาน ก. คาดคะเนตามหลักเหตุผล. (ป., ส.). |
อนุมูล เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง หมู่ธาตุซึ่งเมื่อเข้าสู่ปฏิกิริยาเคมีแล้ว ทั้งหมู่จะเข้าทําปฏิกิริยาด้วยกัน โดยไม่แตกแยกออกจากกัน เช่น อนุมูลไฮดรอกซิล (-OH) อนุมูลไนเทรต (-NO3). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ radical เขียนว่า อา-เอ-ดี-ไอ-ซี-เอ-แอล radicle เขียนว่า อา-เอ-ดี-ไอ-ซี-แอล-อี . | อนุมูล น. หมู่ธาตุซึ่งเมื่อเข้าสู่ปฏิกิริยาเคมีแล้ว ทั้งหมู่จะเข้าทําปฏิกิริยาด้วยกัน โดยไม่แตกแยกออกจากกัน เช่น อนุมูลไฮดรอกซิล (-OH) อนุมูลไนเทรต (-NO3). (อ. radical, radicle). |
อนุมูลกรด เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหนึ่งของโมเลกุลของกรดที่ปรากฏอยู่หลังจากที่ไฮโดรเจนไอออนแยกตัวออกไปแล้ว เช่น อนุมูลกรดคาร์บอเนต (-CO3) อนุมูลกรดไฮโดรเจนซัลเฟต (-HSO4). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ acid เขียนว่า เอ-ซี-ไอ-ดี radical เขียนว่า อา-เอ-ดี-ไอ-ซี-เอ-แอล . | อนุมูลกรด น. ส่วนหนึ่งของโมเลกุลของกรดที่ปรากฏอยู่หลังจากที่ไฮโดรเจนไอออนแยกตัวออกไปแล้ว เช่น อนุมูลกรดคาร์บอเนต (-CO3) อนุมูลกรดไฮโดรเจนซัลเฟต (-HSO4). (อ. acid radical). |
อนุโมทนา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ยินดีตาม, ยินดีด้วย, พลอยยินดี; เรียกคําให้ศีลให้พรของพระว่า คําอนุโมทนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุโมทนา ก. ยินดีตาม, ยินดีด้วย, พลอยยินดี; เรียกคําให้ศีลให้พรของพระว่า คําอนุโมทนา. (ป., ส.). |
อนุโมทนาบัตร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง บัตรที่แสดงความพลอยยินดีหรืออนุโมทนาต่อบุญกุศลที่บุคคลนั้น ๆ ได้ทําแล้ว. | อนุโมทนาบัตร น. บัตรที่แสดงความพลอยยินดีหรืออนุโมทนาต่อบุญกุศลที่บุคคลนั้น ๆ ได้ทําแล้ว. |
อนุโยค เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย | เป็นคำกริยา หมายถึง ซักถาม, ซักไซ้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคําที่ผู้ถูกถามย้อนถามผู้ถามว่า คําอนุโยค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุโยค ก. ซักถาม, ซักไซ้. ว. เรียกคําที่ผู้ถูกถามย้อนถามผู้ถามว่า คําอนุโยค. (ป., ส.). |
อนุรักษ, อนุรักษ์ อนุรักษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี อนุรักษ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | [อะนุรักสะ, อะนุรัก] เป็นคำกริยา หมายถึง รักษาให้คงเดิม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อนุรักษ, อนุรักษ์ [อะนุรักสะ, อะนุรัก] ก. รักษาให้คงเดิม. (ส.). |
อนุรักษนิยม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | [อะนุรักสะนิยม, อะนุรักนิยม] เป็นคำนาม หมายถึง อุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่มีแนวโน้มไปในทางต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดถือสนับสนุนระเบียบที่ตั้งมั่นอยู่แล้ว. | อนุรักษนิยม [อะนุรักสะนิยม, อะนุรักนิยม] น. อุดมคติทางการเมือง การเศรษฐกิจ เป็นต้น ที่มีแนวโน้มไปในทางต้านทานการเปลี่ยนแปลง โดยยึดถือสนับสนุนระเบียบที่ตั้งมั่นอยู่แล้ว. |
อนุราช เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | [อะนุราด] เป็นคำนาม หมายถึง พระราชารอง, พระเจ้าแผ่นดินองค์รอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนุราช [อะนุราด] น. พระราชารอง, พระเจ้าแผ่นดินองค์รอง. (ป.). |
อนุราธ, อนุราธะ, อนุราธา อนุราธ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง อนุราธะ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อะ อนุราธา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา | [อะนุราด, อะนุราทะ, อะนุราทา] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๑๗ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปธนู หน้าไม้ หรือหงอนนาค, ดาวประจําฉัตร หรือ ดาวนกยูง ก็เรียก. | อนุราธ, อนุราธะ, อนุราธา [อะนุราด, อะนุราทะ, อะนุราทา] น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๗ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปธนู หน้าไม้ หรือหงอนนาค, ดาวประจําฉัตร หรือ ดาวนกยูง ก็เรียก. |
อนุรูป เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สมควร, เหมาะ, พอเพียง; เป็นไปตาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุรูป ว. สมควร, เหมาะ, พอเพียง; เป็นไปตาม. (ป., ส.). |
อนุโลม เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้แทนกันได้ตามความเหมาะสม, คล้อยตาม; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง นำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกัน แต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตามลําดับ เช่น ท่องแบบอนุโลม, คู่กับ ปฏิโลม คือ ย้อนลําดับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อนุโลม ก. ใช้แทนกันได้ตามความเหมาะสม, คล้อยตาม; (กฎ) นำมาใช้โดยอาศัยหลักการอย่างเดียวกัน แต่ให้แก้ไขในรายละเอียดได้ตามควรแก่กรณี. ว. ตามลําดับ เช่น ท่องแบบอนุโลม, คู่กับ ปฏิโลม คือ ย้อนลําดับ. (ป., ส.). |
อนุวงศ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์ที่เนื่องมา, เชื้อพระวงศ์ชั้นผู้น้อย. | อนุวงศ์ น. วงศ์ที่เนื่องมา, เชื้อพระวงศ์ชั้นผู้น้อย. |
อนุวัต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําตาม, ประพฤติตาม, ปฏิบัติตาม, เขียนเป็น อนุวรรตน์ อนุวัตน์ อนุวัตร หรือ อนุวัติ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุวตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต อนุวรฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อนุวัต ก. ทําตาม, ประพฤติตาม, ปฏิบัติตาม, เขียนเป็น อนุวรรตน์ อนุวัตน์ อนุวัตร หรือ อนุวัติ ก็มี. (ป. อนุวตฺต; ส. อนุวรฺต). |
อนุวาต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | [อะนุวาด] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าดาม, ผ้าทาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนุวาต [อะนุวาด] น. ผ้าดาม, ผ้าทาบ. (ป.). |
อนุศาสก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง อาจารย์ผู้ควบคุมดูแลนักเรียนในหอพักของวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อนุสาสก เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-กอ-ไก่. | อนุศาสก น. อาจารย์ผู้ควบคุมดูแลนักเรียนในหอพักของวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย. (ส.; ป. อนุสาสก). |
อนุศาสน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การสอน; คําชี้แจง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อนุสาสน เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู. | อนุศาสน์ น. การสอน; คําชี้แจง. (ส.; ป. อนุสาสน). |
อนุศาสนาจารย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะนุสาสะนาจาน, อะนุสาดสะนาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง อาจารย์ผู้อบรมศีลธรรมของหน่วยราชการ. | อนุศาสนาจารย์ [อะนุสาสะนาจาน, อะนุสาดสะนาจาน] น. อาจารย์ผู้อบรมศีลธรรมของหน่วยราชการ. |
อนุศิษฏ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง สั่งสอน, ชี้แจง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อนุสิฏฺ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน. | อนุศิษฏ์ ก. สั่งสอน, ชี้แจง. (ส.; ป. อนุสิฏฺ). |
อนุสติ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะนุดสะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ความระลึกถึง; ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง เรียกว่า อนุสติ ๑๐ มีพุทธานุสติเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุสฺสติ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | อนุสติ [อะนุดสะติ] น. ความระลึกถึง; ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง เรียกว่า อนุสติ ๑๐ มีพุทธานุสติเป็นต้น. (ป. อนุสฺสติ). |
อนุสนธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อนุสนธิ น. การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง. (ป.). |
อนุสภากาชาด เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสมาคมสําหรับเด็กเพื่ออบรมตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ขึ้นต่อสภากาชาด. | อนุสภากาชาด (เลิก) น. ชื่อสมาคมสําหรับเด็กเพื่ออบรมตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ขึ้นต่อสภากาชาด. |
อนุสร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ | [อะนุสอน] เป็นคำกริยา หมายถึง ระลึก, คํานึงถึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุสฺสร เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ. | อนุสร [อะนุสอน] ก. ระลึก, คํานึงถึง. (ป. อนุสฺสร). |
อนุสรณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องระลึก, ที่ระลึก. เป็นคำกริยา หมายถึง ระลึก, คำนึงถึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุสฺสรณ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน. | อนุสรณ์ น. เครื่องระลึก, ที่ระลึก. ก. ระลึก, คำนึงถึง. (ป. อนุสฺสรณ). |
อนุสัญญา เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ความตกลงระหว่างประเทศในเรื่องที่สําคัญเฉพาะเรื่อง ที่ทําเป็นตราสารสมบูรณ์แบบเช่นเดียวกับสนธิสัญญา เช่น อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยสงคราม อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยเชลยศึกและผู้บาดเจ็บ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ convention เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-วี-อี-เอ็น-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | อนุสัญญา น. ความตกลงระหว่างประเทศในเรื่องที่สําคัญเฉพาะเรื่อง ที่ทําเป็นตราสารสมบูรณ์แบบเช่นเดียวกับสนธิสัญญา เช่น อนุสัญญากรุงเฮกว่าด้วยสงคราม อนุสัญญาเจนีวาว่าด้วยเชลยศึกและผู้บาดเจ็บ. (อ. convention). |
อนุสัย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง กิเลสที่สงบนิ่งอยู่ในสันดาน, กิเลสอย่างละเอียด มี ๗ อย่าง ได้แก่ ๑. กามราคะ = ความกำหนัดในกาม ๒. ปฏิฆะ = ความขัดใจคือโทสะ ๓. ทิฏฐิ = ความเห็นผิด ๔. วิจิกิจฉา = ความลังเลสงสัย ๕. มานะ = ความถือตัว ๖. ภวราคะ = ความกำหนัดในภพ ๗. อวิชชา = ความไม่รู้แจ้งคือโมหะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนุสย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต อนุศย เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก. | อนุสัย น. กิเลสที่สงบนิ่งอยู่ในสันดาน, กิเลสอย่างละเอียด มี ๗ อย่าง ได้แก่ ๑. กามราคะ = ความกำหนัดในกาม ๒. ปฏิฆะ = ความขัดใจคือโทสะ ๓. ทิฏฐิ = ความเห็นผิด ๔. วิจิกิจฉา = ความลังเลสงสัย ๕. มานะ = ความถือตัว ๖. ภวราคะ = ความกำหนัดในภพ ๗. อวิชชา = ความไม่รู้แจ้งคือโมหะ. (ป. อนุสย; ส. อนุศย). |
อนุสาวรีย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะนุสาวะรี] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่สร้างไว้เป็นที่ระลึกถึงบุคคลหรือเหตุการณ์สําคัญเป็นต้น เช่น อาคาร หลุมฝังศพ รูปปั้น. | อนุสาวรีย์ [อะนุสาวะรี] น. สิ่งที่สร้างไว้เป็นที่ระลึกถึงบุคคลหรือเหตุการณ์สําคัญเป็นต้น เช่น อาคาร หลุมฝังศพ รูปปั้น. |
อนุสาสนี เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | [อะนุสาสะนี] เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งสอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อนุศาสนี เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี. | อนุสาสนี [อะนุสาสะนี] น. คําสั่งสอน. (ป.; ส. อนุศาสนี). |
อนุสาสนีปาฏิหาริย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การสอนเป็นอัศจรรย์ หมายถึง คำสั่งสอนอันอาจจูงใจคนให้นิยมเชื่อถือไปตามได้อย่างน่าอัศจรรย์, เป็นปาฏิหาริย์อย่าง ๑ ในปาฏิหาริย์ ๓ ได้แก่ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์. | อนุสาสนีปาฏิหาริย์ น. การสอนเป็นอัศจรรย์ หมายถึง คำสั่งสอนอันอาจจูงใจคนให้นิยมเชื่อถือไปตามได้อย่างน่าอัศจรรย์, เป็นปาฏิหาริย์อย่าง ๑ ในปาฏิหาริย์ ๓ ได้แก่ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์. |
อเนก, อเนก อเนก เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่ อเนก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่ | [อะเหฺนก, อะเหฺนกกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, หลาย, เช่น อเนกประการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อเนก, อเนก [อะเหฺนก, อะเหฺนกกะ] ว. มาก, หลาย, เช่น อเนกประการ. (ป., ส.). |
อเนกประสงค์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [อะเหฺนกปฺระสง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง แล้วแต่ความต้องการ. | อเนกประสงค์ [อะเหฺนกปฺระสง] ว. ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง แล้วแต่ความต้องการ. |
อเนกวิธ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง | [อะเหฺนกกะวิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลายอย่าง, ต่าง ๆ. | อเนกวิธ [อะเหฺนกกะวิด] ว. หลายอย่าง, ต่าง ๆ. |
อเนกอนันต์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [อะเหฺนกอะนัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมาย, มากหลาย, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ใช้ว่า อเนกอนันตัง. | อเนกอนันต์ [อะเหฺนกอะนัน] ว. มากมาย, มากหลาย, (ปาก) ใช้ว่า อเนกอนันตัง. |
อเนกคุณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน | [อะเหฺนกคุน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. | อเนกคุณ [อะเหฺนกคุน] น. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาได้. (พจน. ๒๔๙๓). |
อเนกรรถประโยค เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย | [อะเนกัดถะปฺระโหฺยก] เป็นคำนาม หมายถึง ประโยคใหญ่ที่มีใจความสำคัญอย่างน้อย ๒ ใจความมารวมกัน และใจความนั้น ๆ จะต้องมีลักษณะเป็นประโยคโดยมีสันธานเป็นบทเชื่อมหรือละสันธานไว้ในฐานที่เข้าใจ. | อเนกรรถประโยค [อะเนกัดถะปฺระโหฺยก] น. ประโยคใหญ่ที่มีใจความสำคัญอย่างน้อย ๒ ใจความมารวมกัน และใจความนั้น ๆ จะต้องมีลักษณะเป็นประโยคโดยมีสันธานเป็นบทเชื่อมหรือละสันธานไว้ในฐานที่เข้าใจ. |
อเนจอนาถ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง | [อะเหฺน็ดอะหฺนาด] เป็นคำกริยา หมายถึง สลดใจเป็นอย่างยิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อนิจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน ว่า ไม่เที่ยง + อนาถ เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง ว่า ไม่มีที่พึ่ง . | อเนจอนาถ [อะเหฺน็ดอะหฺนาด] ก. สลดใจเป็นอย่างยิ่ง. (ป. อนิจฺจ ว่า ไม่เที่ยง + อนาถ ว่า ไม่มีที่พึ่ง). |
อโนชา เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ต้นอังกาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อโนชา น. ต้นอังกาบ. (ป.). |
อโนดาต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสระ ๑ ในสระทั้ง ๗ ในป่าหิมพานต์ ได้แก่ ๑. สระอโนดาต ๒. สระกัณณมุณฑะ ๓. สระรถการะ ๔. สระฉัททันตะ ๕. สระกุณาละ ๖. สระมัณฑากินี ๗. สระสีหัปปปาตะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อโนตตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อโนดาต น. ชื่อสระ ๑ ในสระทั้ง ๗ ในป่าหิมพานต์ ได้แก่ ๑. สระอโนดาต ๒. สระกัณณมุณฑะ ๓. สระรถการะ ๔. สระฉัททันตะ ๕. สระกุณาละ ๖. สระมัณฑากินี ๗. สระสีหัปปปาตะ. (ป. อโนตตฺต). |
อบ เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง ปรุงกลิ่นด้วยควันหรือรมด้วยกลิ่นในที่ที่ควันหรือกลิ่นกระจายออกไปไม่ได้; ทําให้ร้อนหรือสุกด้วยไอนํ้าหรือไอไฟในที่ที่ความร้อนออกไม่ได้; อากาศถ่ายเทไม่ได้. | อบ ก. ปรุงกลิ่นด้วยควันหรือรมด้วยกลิ่นในที่ที่ควันหรือกลิ่นกระจายออกไปไม่ได้; ทําให้ร้อนหรือสุกด้วยไอนํ้าหรือไอไฟในที่ที่ความร้อนออกไม่ได้; อากาศถ่ายเทไม่ได้. |
อบรม เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง แนะนําพรํ่าสอนให้ซึมซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัย, แนะนําชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ, ขัดเกลานิสัย, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับ บ่มนิสัย เป็น อบรมบ่มนิสัย. | อบรม ก. แนะนําพรํ่าสอนให้ซึมซาบเข้าไปจนติดเป็นนิสัย, แนะนําชี้แจงให้เข้าใจในเรื่องที่ต้องการ, ขัดเกลานิสัย, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับ บ่มนิสัย เป็น อบรมบ่มนิสัย. |
อบอวล เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง ตลบ, ฟุ้ง, (ใช้แก่กลิ่น). เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกลิ่นตลบ, มีกลิ่นฟุ้ง. | อบอวล ก. ตลบ, ฟุ้ง, (ใช้แก่กลิ่น). ว. มีกลิ่นตลบ, มีกลิ่นฟุ้ง. |
อบอ้าว เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้อนไม่มีลม. | อบอ้าว ว. ร้อนไม่มีลม. |
อบอุ่น เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อุ่นสบาย; โดยปริยายหมายความว่า ปราศจากความว้าเหว่. | อบอุ่น ว. อุ่นสบาย; โดยปริยายหมายความว่า ปราศจากความว้าเหว่. |
อบเชย เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Cinnamomum วงศ์ Lauraceae ใช้ทํายาและปรุงนํ้าหอม เช่น อบเชยญวน หรือ ฝนแสนห่า (C. bejolghota Sweet), อบเชยจีน (C. aromaticum Nees), อบเชยเทศ (C. verum J. Presl). | อบเชย น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Cinnamomum วงศ์ Lauraceae ใช้ทํายาและปรุงนํ้าหอม เช่น อบเชยญวน หรือ ฝนแสนห่า (C. bejolghota Sweet), อบเชยจีน (C. aromaticum Nees), อบเชยเทศ (C. verum J. Presl). |
อบาย, อบาย อบาย เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก อบาย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [อะบาย, อะบายยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ที่ปราศจากความเจริญ; ความฉิบหาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อบาย, อบาย [อะบาย, อะบายยะ] น. ที่ที่ปราศจากความเจริญ; ความฉิบหาย. (ป.). |
อบายภูมิ เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | [อะบายยะพูม] เป็นคำนาม หมายถึง ภูมิที่เกิดอันปราศจากความเจริญ มี ๔ คือ นรก เปรตวิสัย อสุรกายภูมิ และกําเนิดดิรัจฉาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อปาย เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก. | อบายภูมิ [อะบายยะพูม] น. ภูมิที่เกิดอันปราศจากความเจริญ มี ๔ คือ นรก เปรตวิสัย อสุรกายภูมิ และกําเนิดดิรัจฉาน. (ป., ส. อปาย). |
อบายมุข เขียนว่า ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ | [อะบายยะมุก] เป็นคำนาม หมายถึง ทางแห่งความฉิบหาย, เหตุแห่งความฉิบหาย, มี ๒ หมวด คือ อบายมุข ๔ ได้แก่ ๑. เป็นนักเลงหญิง ๒. เป็นนักเลงสุรา ๓. เป็นนักเลงเล่นการพนัน ๔. คบคนชั่วเป็นมิตร กับ อบายมุข ๖ ได้แก่ ๑. ดื่มนํ้าเมา ๒. เที่ยวกลางคืน ๓. เที่ยวดูการเล่น ๔. เล่นการพนัน ๕. คบคนชั่วเป็นมิตร ๖. เกียจคร้านทําการงาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อบายมุข [อะบายยะมุก] น. ทางแห่งความฉิบหาย, เหตุแห่งความฉิบหาย, มี ๒ หมวด คือ อบายมุข ๔ ได้แก่ ๑. เป็นนักเลงหญิง ๒. เป็นนักเลงสุรา ๓. เป็นนักเลงเล่นการพนัน ๔. คบคนชั่วเป็นมิตร กับ อบายมุข ๖ ได้แก่ ๑. ดื่มนํ้าเมา ๒. เที่ยวกลางคืน ๓. เที่ยวดูการเล่น ๔. เล่นการพนัน ๕. คบคนชั่วเป็นมิตร ๖. เกียจคร้านทําการงาน. (ป.). |
อป มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา | [อะปะ]คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ไม่, ปราศจาก, เช่น อปมงคล = ไม่เป็นมงคล, ปราศจากมงคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อป [อะปะ] คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ไม่, ปราศจาก, เช่น อปมงคล = ไม่เป็นมงคล, ปราศจากมงคล. (ป., ส.). |
อปการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะปะกาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความผิด, โทษ; การทําร้าย, การดูถูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อปการ [อะปะกาน] น. ความผิด, โทษ; การทําร้าย, การดูถูก. (ส.). |
อปจายน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู | [อะปะจายะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงความเคารพ, การนับถือ, การนอบน้อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปจายน [อะปะจายะนะ] น. การแสดงความเคารพ, การนับถือ, การนอบน้อม. (ป., ส.). |
อปจายนธรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงความเคารพ, การนับถือ, การนอบน้อม, การถ่อมตน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อปจายนธมฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | อปจายนธรรม น. การแสดงความเคารพ, การนับถือ, การนอบน้อม, การถ่อมตน. (ป. อปจายนธมฺม). |
อปจายนมัย เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่สําเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตัวต่อผู้ใหญ่ (ใช้แก่บุญ). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อปจายนมัย ว. ที่สําเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตัวต่อผู้ใหญ่ (ใช้แก่บุญ). (ป.). |
อปภาคย์, อัปภาคย์ อปภาคย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด อัปภาคย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะปะพาก, อับปะพาก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปราศจากโชค, เคราะห์ร้าย, วาสนาน้อย, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ อาภัพ เป็น อาภัพอัปภาคย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อปภาคย์, อัปภาคย์ [อะปะพาก, อับปะพาก] ว. ปราศจากโชค, เคราะห์ร้าย, วาสนาน้อย, นิยมใช้เข้าคู่กับคำ อาภัพ เป็น อาภัพอัปภาคย์. (ส.). |
อปมงคล, อัปมงคล อปมงคล เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง อัปมงคล เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | [อะปะ, อับปะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปราศจากมงคล, ไม่เจริญ, เป็นลางร้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปมงคล, อัปมงคล [อะปะ, อับปะ] ว. ปราศจากมงคล, ไม่เจริญ, เป็นลางร้าย. (ป., ส.). |
อปมาน เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [อะปะ] เป็นคำนาม หมายถึง การดูหมิ่น, การดูถูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อปมาน [อะปะ] น. การดูหมิ่น, การดูถูก. (ส.). |
อปยศ, อัปยศ อปยศ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา อัปยศ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา | [อะปะยด, อับปะยด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไร้ยศ, ปราศจากยศ; เสื่อมเสียชื่อเสียง, น่าอับอายขายหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อปยศ, อัปยศ [อะปะยด, อับปะยด] ว. ไร้ยศ, ปราศจากยศ; เสื่อมเสียชื่อเสียง, น่าอับอายขายหน้า. (ส.). |
อปร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ | [อะปะระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อื่นอีก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปร [อะปะระ] ว. อื่นอีก. (ป., ส.). |
อปรภาค เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | [อะปะระพาก] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนอื่นอีก, เวลาอื่นอีก, ภายหลัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อปรภาค [อะปะระพาก] น. ส่วนอื่นอีก, เวลาอื่นอีก, ภายหลัง. (ป.). |
อประมาณ, อัประมาณ อประมาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน อัประมาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [อะปฺระ, อับปฺระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กําหนดจำนวนไม่ได้, จํากัดไม่ได้; น่าอับอาย เช่น ย่อยยับอัประมาณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อปฺปมาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน. | อประมาณ, อัประมาณ [อะปฺระ, อับปฺระ] ว. กําหนดจำนวนไม่ได้, จํากัดไม่ได้; น่าอับอาย เช่น ย่อยยับอัประมาณ. (ส.; ป. อปฺปมาณ). |
อประมาท, อัประมาท อประมาท เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน อัประมาท เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | [อะปฺระหฺมาด, อับปฺระหฺมาด] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่มึนเมา; ความไม่เลินเล่อ, ความระวัง, ความเอาใจใส่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อปฺปมาท เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน. | อประมาท, อัประมาท [อะปฺระหฺมาด, อับปฺระหฺมาด] น. ความไม่มึนเมา; ความไม่เลินเล่อ, ความระวัง, ความเอาใจใส่. (ส.; ป. อปฺปมาท). |
อประไมย, อัประไมย อประไมย เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ยอ-ยัก อัประไมย เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ยอ-ยัก | [อะปฺระไม, อับปฺระไม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นับไม่ได้, ไม่จํากัด, มากมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อปฺรเมย เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี อปฺปเมยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | อประไมย, อัประไมย [อะปฺระไม, อับปฺระไม] ว. นับไม่ได้, ไม่จํากัด, มากมาย. (ส. อปฺรเมย; ป. อปฺปเมยฺย). |
อปรัณณชาติ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-นอ-เนน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะปะรันนะชาด] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารอื่น คือ ถั่ว งา และผักต่าง ๆ (นอกจากข้าว). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อปรณฺณ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน. | อปรัณณชาติ [อะปะรันนะชาด] น. อาหารอื่น คือ ถั่ว งา และผักต่าง ๆ (นอกจากข้าว). (ป. อปรณฺณ). |
อปรา เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [อะปะรา, อับปะรา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง พ่ายแพ้ เช่น ต่อสู้เคี่ยวขับไม่อปรา หาไม่พ่อตาจะต้องริบ. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์. | อปรา [อะปะรา, อับปะรา] (กลอน) ก. พ่ายแพ้ เช่น ต่อสู้เคี่ยวขับไม่อปรา หาไม่พ่อตาจะต้องริบ. (สังข์ทอง). |
อปราชัย, อัปราชัย อปราชัย เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก อัปราชัย เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [อะปะ, อับปะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่แพ้, ความชนะ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง บางทีใช้หมายความว่า แพ้ เช่น คบคนดีเป็นศรีแก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อปราชัย, อัปราชัย [อะปะ, อับปะ] น. ความไม่แพ้, ความชนะ; (กลอน) บางทีใช้หมายความว่า แพ้ เช่น คบคนดีเป็นศรีแก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย. (ป.). |
อปราชิต เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [อะปะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่พ่ายแพ้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปราชิต [อะปะ] ว. ไม่พ่ายแพ้. (ป., ส.). |
อปราธ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง | [อะปะราทะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความผิด, โทษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปราธ [อะปะราทะ] น. ความผิด, โทษ. (ป., ส.). |
อปริมาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [อะปะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กําหนดจํานวนไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปริมาณ [อะปะ] ว. กําหนดจํานวนไม่ได้. (ป., ส.). |
อปลักษณ์, อัปลักษณ์ อปลักษณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด อัปลักษณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [อะปะ, อับปะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่ว (มักใช้แก่รูปร่าง หน้าตา), มีลักษณะที่ถือว่าไม่เป็นมงคล, เช่น หน้าตาอปลักษณ์, รูปร่างอัปลักษณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อปลกฺขณ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-นอ-เนน. | อปลักษณ์, อัปลักษณ์ [อะปะ, อับปะ] ว. ชั่ว (มักใช้แก่รูปร่าง หน้าตา), มีลักษณะที่ถือว่าไม่เป็นมงคล, เช่น หน้าตาอปลักษณ์, รูปร่างอัปลักษณ์. (ส.; ป. อปลกฺขณ). |
อปโลกน์ ๑, อุปโลกน์ อปโลกน์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด อุปโลกน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [อะปะโหฺลก, อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก] เป็นคำกริยา หมายถึง ยกกันขึ้นไป เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อปโลกน เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู. | อปโลกน์ ๑, อุปโลกน์ [อะปะโหฺลก, อุปะโหฺลก, อุบปะโหฺลก] ก. ยกกันขึ้นไป เช่น อุปโลกน์ให้เป็นหัวหน้า. (ป. อปโลกน). |
อปโลกน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๒ | [อะปะโหฺลก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่บอกเล่า เช่น คําอปโลกน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อปโลกน เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-นอ-หนู. | อปโลกน์ ๒ [อะปะโหฺลก] ว. ที่บอกเล่า เช่น คําอปโลกน์. (ป. อปโลกน). |
อปวาท เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | [อะปะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําติเตียน; การว่ากล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปวาท [อะปะ] น. คําติเตียน; การว่ากล่าว. (ป., ส.). |
อปหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะปะ] เป็นคำนาม หมายถึง การปล้น, การขโมย; การเอาไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปหาร [อะปะ] น. การปล้น, การขโมย; การเอาไป. (ป., ส.). |
อปาจี เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี | [อะ] เป็นคำนาม หมายถึง ทิศใต้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อปาจีน เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู. | อปาจี [อะ] น. ทิศใต้. (ป.; ส. อปาจีน). |
อปาจีน เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | [อะ] เป็นคำนาม หมายถึง ทิศใต้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อปาจี เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อี. | อปาจีน [อะ] น. ทิศใต้. (ส.; ป. อปาจี). |
อปาน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [อะปานะ] เป็นคำนาม หมายถึง ลมหายใจออก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อปาน [อะปานะ] น. ลมหายใจออก. (ป., ส.). |
อเปหิ, อัปเปหิ อเปหิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ อัปเปหิ เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ | [อะ, อับ] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ขับไล่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อเปหิ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ ว่า จงหลีกไป . | อเปหิ, อัปเปหิ [อะ, อับ] (ปาก) ก. ขับไล่. (ป. อเปหิ ว่า จงหลีกไป). |
อพพะ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-พาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อะ | [อะพะพะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจํานวนนับอย่างสูง เท่ากับโกฏิยกกําลัง ๑๑. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อพพะ [อะพะพะ] น. ชื่อจํานวนนับอย่างสูง เท่ากับโกฏิยกกําลัง ๑๑. (ป.). |
อพยพ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-พาน-ยอ-ยัก-พอ-พาน ความหมายที่ ๑ | [อบพะยบ] เป็นคำกริยา หมายถึง ย้ายครอบครัวจากถิ่นหนึ่งไปอยู่อีกถิ่นหนึ่ง, ยกพวกย้ายจากถิ่นเดิมไป. | อพยพ ๑ [อบพะยบ] ก. ย้ายครอบครัวจากถิ่นหนึ่งไปอยู่อีกถิ่นหนึ่ง, ยกพวกย้ายจากถิ่นเดิมไป. |
อพยพ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-พาน-ยอ-ยัก-พอ-พาน ความหมายที่ ๒ | [อบพะยบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะ, ส่วนของร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อวยว เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-วอ-แหวน. | อพยพ ๒ [อบพะยบ] (กลอน) น. อวัยวะ, ส่วนของร่างกาย. (ป., ส. อวยว). |
อภว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน | [อะภะวะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่มี, ความเสื่อม, ความเสียหาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภว [อะภะวะ] น. ความไม่มี, ความเสื่อม, ความเสียหาย. (ป., ส.). |
อภัพ, อภัพ อภัพ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน อภัพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน | [อะพับ, อะพับพะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่สมควร, เป็นไปไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภพฺพ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน และมาจากภาษาสันสกฤต อภวฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | อภัพ, อภัพ [อะพับ, อะพับพะ] ว. ไม่สมควร, เป็นไปไม่ได้. (ป. อภพฺพ; ส. อภวฺย). |
อภัพบุคคล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | [อะพับพะบุกคน] เป็นคำนาม หมายถึง คนไม่สมควร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภพฺพปุคฺคล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง. | อภัพบุคคล [อะพับพะบุกคน] น. คนไม่สมควร. (ป. อภพฺพปุคฺคล). |
อภัพผล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง | [อะพับพะผน] เป็นคำนาม หมายถึง ผลที่ไม่สมควร, ผลทราม. | อภัพผล [อะพับพะผน] น. ผลที่ไม่สมควร, ผลทราม. |
อภัย, อภัย อภัย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก อภัย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [อะไพ, อะไพยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่มีภัย, ความไม่ต้องกลัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต , นิยมใช้ประกอบกับคําอื่น เช่น ขออภัย หมายความว่า ขอให้ยกโทษให้ ขออย่าได้ถือโทษ, ให้อภัย หมายความว่า ยกโทษให้. เป็นคำกริยา หมายถึง ยกโทษ เช่น ฉันอภัยให้เธอ. | อภัย, อภัย [อะไพ, อะไพยะ] น. ความไม่มีภัย, ความไม่ต้องกลัว. (ป., ส.), นิยมใช้ประกอบกับคําอื่น เช่น ขออภัย หมายความว่า ขอให้ยกโทษให้ ขออย่าได้ถือโทษ, ให้อภัย หมายความว่า ยกโทษให้. ก. ยกโทษ เช่น ฉันอภัยให้เธอ. |
อภัยทาน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [อะไพยะทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การให้ความไม่มีภัย เช่น ให้อภัยทาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ให้ความไม่มีภัย เช่น เขตอภัยทาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภัยทาน [อะไพยะทาน] น. การให้ความไม่มีภัย เช่น ให้อภัยทาน. ว. ที่ให้ความไม่มีภัย เช่น เขตอภัยทาน. (ป.). |
อภัยโทษ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี | [อะไพยะโทด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ยกโทษหรือเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาหรือลดโทษให้แก่ผู้ต้องคำพิพากษาให้ต้องรับโทษทางอาญาเมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญ. | อภัยโทษ [อะไพยะโทด] (กฎ) ก. ยกโทษหรือเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบาหรือลดโทษให้แก่ผู้ต้องคำพิพากษาให้ต้องรับโทษทางอาญาเมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญ. |
อภิ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ | คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ยิ่ง, วิเศษ, เหนือ, เช่น อภิรมย์ = ยินดียิ่ง, อภิญญาณ = ความรู้วิเศษ, อภิมนุษย์ = มนุษย์ที่เหนือมนุษย์ทั้งหลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิ คําประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต มีความหมายว่า ยิ่ง, วิเศษ, เหนือ, เช่น อภิรมย์ = ยินดียิ่ง, อภิญญาณ = ความรู้วิเศษ, อภิมนุษย์ = มนุษย์ที่เหนือมนุษย์ทั้งหลาย. (ป.). |
อภิฆาต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง เข่นฆ่า, ทำลายล้างให้หมดสิ้น. เป็นคำนาม หมายถึง การเข่นฆ่า, การทำลายล้างให้หมดสิ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิฆาต ก. เข่นฆ่า, ทำลายล้างให้หมดสิ้น. น. การเข่นฆ่า, การทำลายล้างให้หมดสิ้น. (ป., ส.). |
อภิจฉา เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา | [อะพิดฉา] เป็นคำนาม หมายถึง ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิจฉา [อะพิดฉา] น. ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย. (ป.). |
อภิชฌา เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา | [อะพิดชา] เป็นคำนาม หมายถึง ความโลภ, ความอยากได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิชฌา [อะพิดชา] น. ความโลภ, ความอยากได้. (ป.). |
อภิชน, อภิชน อภิชน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู อภิชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | [อะพิชน, อะพิชะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชนผู้สืบมาจากตระกูลสูง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิชน, อภิชน [อะพิชน, อะพิชะนะ] น. ชนผู้สืบมาจากตระกูลสูง. (ป., ส.). |
อภิชนาธิปไตย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [ทิปะไต, ทิบปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง ระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่มีอภิชนเป็นใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภิ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ + ชน เขียนว่า ชอ-ช้าง-นอ-หนู + อธิปเตยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . (อ. aristocracy). | อภิชนาธิปไตย [ทิปะไต, ทิบปะไต] น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่งที่มีอภิชนเป็นใหญ่. (ป. อภิ + ชน + อธิปเตยฺย). (อ. aristocracy). |
อภิชนาธิปไตย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | ดู อภิชน, อภิชน อภิชน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู อภิชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู . | อภิชนาธิปไตย ดู อภิชน, อภิชน. |
อภิชัย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ความชนะ; การปราบปราม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิชัย น. ความชนะ; การปราบปราม. (ป., ส.). |
อภิชาต, อภิชาต อภิชาต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า อภิชาต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | [อะพิชาด, อะพิชาดตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกิดดี, มีตระกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิชาต, อภิชาต [อะพิชาด, อะพิชาดตะ] ว. เกิดดี, มีตระกูล. (ป., ส.). |
อภิชาตบุตร เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง บุตรที่มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา, อติชาตบุตร ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อภิชาตปุตฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี อภิชาตปุตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อภิชาตบุตร น. บุตรที่มีคุณสมบัติสูงกว่าบิดามารดา, อติชาตบุตร ก็ว่า. (ส. อภิชาตปุตฺร; ป. อภิชาตปุตฺต). |
อภิชิต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีชัย, ชนะแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิชิต ว. มีชัย, ชนะแล้ว. (ป., ส.). |
อภิญญา, อภิญญาณ อภิญญา เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา อภิญญาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [อะพินยา, อะพินยาน] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ยิ่ง ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่าง คือ ๑. อิทธิวิธิ การแสดงฤทธิ์ได้ ๒. ทิพโสต หูทิพย์ ๓. เจโตปริยญาณ ญาณรู้จักกําหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ การระลึกชาติได้ ๕. ทิพจักขุ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ ญาณรู้จักทําอาสวะให้สิ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อภิชฺา เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา อภิชฺาน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู . | อภิญญา, อภิญญาณ [อะพินยา, อะพินยาน] น. ความรู้ยิ่ง ในพระพุทธศาสนามี ๖ อย่าง คือ ๑. อิทธิวิธิ การแสดงฤทธิ์ได้ ๒. ทิพโสต หูทิพย์ ๓. เจโตปริยญาณ ญาณรู้จักกําหนดใจผู้อื่น ๔. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ การระลึกชาติได้ ๕. ทิพจักขุ ตาทิพย์ ๖. อาสวักขยญาณ ญาณรู้จักทําอาสวะให้สิ้นไป. (ป.; ส. อภิชฺา, อภิชฺาน). |
อภิณห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-หอ-หีบ | [อะพินหะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอ, ทุกวัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิณห [อะพินหะ] ว. เสมอ, ทุกวัน. (ป.). |
อภิธรรม เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [อะพิทํา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปิฎกหนึ่งในพระไตรปิฎก ได้แก่ ๑. พระวินัยปิฎก ๒. พระสุตตันตปิฎก ๓. พระอภิธรรมปิฎก, ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อภิธรฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี อภิธมฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | อภิธรรม [อะพิทํา] น. ชื่อปิฎกหนึ่งในพระไตรปิฎก ได้แก่ ๑. พระวินัยปิฎก ๒. พระสุตตันตปิฎก ๓. พระอภิธรรมปิฎก, ชื่อธรรมะชั้นสูง มี ๗ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. สังคณี ๒. วิภังค์ ๓. ธาตุกถา ๔. ปุคคลบัญญัติ ๕. กถาวัตถุ ๖. ยมก ๗. ปัฏฐาน นิยมใช้สวดในงานศพ. (ส. อภิธรฺม; ป. อภิธมฺม). |
อภิธาน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง หนังสืออธิบายศัพท์เฉพาะเรื่อง เช่น อภิธานประวัติศาสตร์ไทย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิธาน น. หนังสืออธิบายศัพท์เฉพาะเรื่อง เช่น อภิธานประวัติศาสตร์ไทย. (ป., ส.). |
อภิไธย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภิเธยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต อภิเธย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-ยอ-ยัก. | อภิไธย น. ชื่อ. (ป. อภิเธยฺย; ส. อภิเธย). |
อภินันท, อภินันท์ อภินันท มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน อภินันท์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ความยินดียิ่ง, ความดีใจยิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภินันท, อภินันท์ น. ความยินดียิ่ง, ความดีใจยิ่ง. (ป., ส.). |
อภินันทนาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ความยินดียิ่ง เช่น ด้วยอภินันทนาการ หมายถึง ให้ด้วยความยินดียิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภินนฺทน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู + อาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | อภินันทนาการ น. ความยินดียิ่ง เช่น ด้วยอภินันทนาการ หมายถึง ให้ด้วยความยินดียิ่ง. (ป. อภินนฺทน + อาการ). |
อภินัย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงละคร, การแสดงท่าทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภินัย น. การแสดงละคร, การแสดงท่าทาง. (ป., ส.). |
อภินิหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจแห่งบารมี, อํานาจบุญที่สร้างสมไว้, อํานาจเหนือปรกติธรรมดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภินีหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ และมาจากภาษาสันสกฤต อภิ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ + นิสฺ เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ + หาร เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | อภินิหาร น. อํานาจแห่งบารมี, อํานาจบุญที่สร้างสมไว้, อํานาจเหนือปรกติธรรมดา. (ป. อภินีหาร; ส. อภิ + นิสฺ + หาร). |
อภิเนษกรมณ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [อะพิเนดสะกฺรม] เป็นคำนาม หมายถึง การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อภิ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ + นิษฺกฺรมณ เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี อภินิกฺขมน เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-นอ-หนู. | อภิเนษกรมณ์ [อะพิเนดสะกฺรม] น. การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่. (ส. อภิ + นิษฺกฺรมณ; ป. อภินิกฺขมน). |
อภิบาล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง บํารุงรักษา, ปกครอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อภิปาล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | อภิบาล ก. บํารุงรักษา, ปกครอง. (ป., ส. อภิปาล). |
อภิปรัชญา เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา | [อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา] เป็นคำนาม หมายถึง ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสําคัญของปรัชญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ metaphysics เขียนว่า เอ็ม-อี-ที-เอ-พี-เอช-วาย-เอส-ไอ-ซี-เอส. | อภิปรัชญา [อะพิปฺรัดยา, อะพิปฺรัดชะยา] น. ปรัชญาสาขาหนึ่ง ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสําคัญของปรัชญา. (อ. metaphysics). |
อภิปราย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [อะพิปฺราย] เป็นคำกริยา หมายถึง พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อภิปฺราย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก. | อภิปราย [อะพิปฺราย] ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น. (ส. อภิปฺราย). |
อภิมหาอำนาจ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกประเทศที่มีอํานาจทางด้านเศรษฐกิจและทางทหารสูงกว่าประเทศมหาอํานาจว่า ประเทศอภิมหาอำนาจ. | อภิมหาอำนาจ ว. เรียกประเทศที่มีอํานาจทางด้านเศรษฐกิจและทางทหารสูงกว่าประเทศมหาอํานาจว่า ประเทศอภิมหาอำนาจ. |
อภิมานะ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิมานะ น. ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. (ป., ส.). |
อภิมุข เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ | เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้า เช่น เสนาภิมุข = หัวหน้าทหาร. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หันหน้าตรงไป, ตรงหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิมุข น. หัวหน้า เช่น เสนาภิมุข = หัวหน้าทหาร. ว. หันหน้าตรงไป, ตรงหน้า. (ป., ส.). |
อภิรดี, อภิรติ อภิรดี เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี อภิรติ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [อะพิระ] เป็นคำนาม หมายถึง ความรื่นรมย์ยินดียิ่ง (มักใช้ในเรื่องรักใคร่). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิรดี, อภิรติ [อะพิระ] น. ความรื่นรมย์ยินดียิ่ง (มักใช้ในเรื่องรักใคร่). (ป., ส.). |
อภิรมย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง รื่นเริงยิ่ง, ดีใจยิ่ง, ยินดียิ่ง; พักผ่อน; ใช้ว่า ภิรมย์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อภิรมฺม เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | อภิรมย์ ก. รื่นเริงยิ่ง, ดีใจยิ่ง, ยินดียิ่ง; พักผ่อน; ใช้ว่า ภิรมย์ ก็มี. (ส.; ป. อภิรมฺม). |
อภิรักษ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง รักษา, ระวัง, ป้องกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อภิรกฺข เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่. | อภิรักษ์ ก. รักษา, ระวัง, ป้องกัน. (ส.; ป. อภิรกฺข). |
อภิรัฐมนตรี เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ที่ปรึกษาชั้นสูงของพระมหากษัตริย์. | อภิรัฐมนตรี (เลิก) น. ที่ปรึกษาชั้นสูงของพระมหากษัตริย์. |
อภิราม เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ายินดียิ่ง, เป็นที่พอใจยิ่ง, งดงามยิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิราม ว. น่ายินดียิ่ง, เป็นที่พอใจยิ่ง, งดงามยิ่ง. (ป., ส.). |
อภิรุต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง เสียง, เสียงร้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิรุต น. เสียง, เสียงร้อง. (ป., ส.). |
อภิรุม เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ฉัตรเครื่องสูงอย่างหนึ่ง ใช้ในกระบวนแห่ของหลวง หรือปักเป็นเครื่องประดับเกียรติยศ, โบราณเขียนเป็น อภิรม ก็มี. | อภิรุม น. ฉัตรเครื่องสูงอย่างหนึ่ง ใช้ในกระบวนแห่ของหลวง หรือปักเป็นเครื่องประดับเกียรติยศ, โบราณเขียนเป็น อภิรม ก็มี. |
อภิรูป เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รูปงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิรูป ว. รูปงาม. (ป., ส.). |
อภิลักขิต, อภิลักขิต อภิลักขิต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า อภิลักขิต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [อะพิลักขิด, อะพิลักขิดตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมายไว้, กําหนดไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิลักขิต, อภิลักขิต [อะพิลักขิด, อะพิลักขิดตะ] ว. หมายไว้, กําหนดไว้. (ป.). |
อภิลักขิตกาล, อภิลักขิตสมัย อภิลักขิตกาล เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง อภิลักขิตสมัย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เวลาที่กําหนดไว้, วันกําหนด, (มักนิยมใช้แก่วันทําบุญคล้ายวันเกิดหรือวันทําพิธีประจําปี). | อภิลักขิตกาล, อภิลักขิตสมัย น. เวลาที่กําหนดไว้, วันกําหนด, (มักนิยมใช้แก่วันทําบุญคล้ายวันเกิดหรือวันทําพิธีประจําปี). |
อภิเลปน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การลูบไล้; เครื่องลูบไล้, ของหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิเลปน์ น. การลูบไล้; เครื่องลูบไล้, ของหอม. (ป.). |
อภิวันท์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง กราบไหว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี . | อภิวันท์ ก. กราบไหว้. (ส., ป.). |
อภิวาท, อภิวาทน์ อภิวาท เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน อภิวาทน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การกราบไหว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี . | อภิวาท, อภิวาทน์ น. การกราบไหว้. (ส., ป.). |
อภิเษก เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งตั้งโดยการทําพิธีรดนํ้า เช่นพิธีขึ้นเสวยราชย์ของพระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อภิเสก เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่. | อภิเษก ก. แต่งตั้งโดยการทําพิธีรดนํ้า เช่นพิธีขึ้นเสวยราชย์ของพระเจ้าแผ่นดิน. (ส.; ป. อภิเสก). |
อภิเษกสมรส เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่-สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง แต่งงาน. | อภิเษกสมรส (ราชา) ก. แต่งงาน. |
อภิสมโพธิ, อภิสัมโพธิ อภิสมโพธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ อภิสัมโพธิ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ | [อะพิสมโพด, สําโพทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความตรัสรู้เองด้วยพระปัญญาอันยิ่ง หมายเฉพาะการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อภิสมโพธิ, อภิสัมโพธิ [อะพิสมโพด, สําโพทิ] น. ความตรัสรู้เองด้วยพระปัญญาอันยิ่ง หมายเฉพาะการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. (ป.). |
อภิสมัย เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [อะพิสะไหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ความตรัสรู้, ความบรรลุ, การถึง, ใช้ในคําว่า ธรรมาภิสมัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิสมัย [อะพิสะไหฺม] น. ความตรัสรู้, ความบรรลุ, การถึง, ใช้ในคําว่า ธรรมาภิสมัย. (ป., ส.). |
อภิสมาจาร เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [อะพิสะมาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง มารยาทอันดี, ความประพฤติอันดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิสมาจาร [อะพิสะมาจาน] น. มารยาทอันดี, ความประพฤติอันดี. (ป., ส.). |
อภิสัมโพธิญาณ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [อะพิสำโพทิยาน] เป็นคำนาม หมายถึง ญาณคือความตรัสรู้เองด้วยพระปัญญาอันยิ่ง หมายเฉพาะการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. | อภิสัมโพธิญาณ [อะพิสำโพทิยาน] น. ญาณคือความตรัสรู้เองด้วยพระปัญญาอันยิ่ง หมายเฉพาะการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า. |
อภิสิต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง รดแล้ว, ได้รับการอภิเษกแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อภิสิตฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต อภิสิกฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | อภิสิต ก. รดแล้ว, ได้รับการอภิเษกแล้ว. (ป. อภิสิตฺต; ส. อภิสิกฺต). |
อภิสิทธิ์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สิทธินอกเหนือขอบเขต, สิทธิเหนือกฎหรือระเบียบที่วางไว้, สิทธิที่ได้รับนอกเหนือไปจากกฎหรือระเบียบที่วางไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภิสิทธิ์ น. สิทธินอกเหนือขอบเขต, สิทธิเหนือกฎหรือระเบียบที่วางไว้, สิทธิที่ได้รับนอกเหนือไปจากกฎหรือระเบียบที่วางไว้. (ป., ส.). |
อภูตะ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | [อะพูตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มี, ไม่เกิดขึ้น, ไม่ปรากฏ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อภูตะ [อะพูตะ] ว. ไม่มี, ไม่เกิดขึ้น, ไม่ปรากฏ. (ป., ส.). |
อม เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เม้ม, ขมิบ, ยักเอาไว้. | อม ก. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา เช่น อมภูมิ; กลมกลืน, ปนกัน, เช่น อมเปรี้ยวอมหวาน เขียวอมเหลือง; (ปาก) เม้ม, ขมิบ, ยักเอาไว้. |
อมความ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เก็บใจความสําคัญ, ใช้ถ้อยคำน้อยแต่เก็บความสำคัญไว้ได้มาก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง จำไว้ในใจ, จำใจความได้. | อมความ ก. เก็บใจความสําคัญ, ใช้ถ้อยคำน้อยแต่เก็บความสำคัญไว้ได้มาก; (โบ) จำไว้ในใจ, จำใจความได้. |
อมทุกข์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความทุกข์สุมอยู่ เช่น หน้าตาอมทุกข์. | อมทุกข์ ว. มีความทุกข์สุมอยู่ เช่น หน้าตาอมทุกข์. |
อมปาก เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง หุบปากไว้, ไม่ยอมพูดในสิ่งที่ควรพูด, หุบปากหุบคํา ก็ว่า. | อมปาก (โบ) ก. หุบปากไว้, ไม่ยอมพูดในสิ่งที่ควรพูด, หุบปากหุบคํา ก็ว่า. |
อมพระมาพูด เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ใช้ในการพูดโดยอ้างพระหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประกอบเป็นพยาน มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ต่อให้อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ. | อมพระมาพูด (สำ) ใช้ในการพูดโดยอ้างพระหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประกอบเป็นพยาน มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ต่อให้อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ. |
อมพะนำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นิ่งอึ้งไม่พูดจา, อําพะนํา ก็ว่า. | อมพะนำ ว. นิ่งอึ้งไม่พูดจา, อําพะนํา ก็ว่า. |
อมเพลิง เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | [เพฺลิง] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้เสาที่มีเปลือกและกระพี้เป็นชั้น ๆ ว่า เสาอมเพลิง ถือว่าเป็นเสาไม่ดี. | อมเพลิง [เพฺลิง] น. เรียกไม้เสาที่มีเปลือกและกระพี้เป็นชั้น ๆ ว่า เสาอมเพลิง ถือว่าเป็นเสาไม่ดี. |
อมภูมิ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | [พูม] เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ยอมแสดงความรู้ทั้ง ๆ ที่มีความรู้ บางทีใช้หมายถึงทำท่าทางคล้าย ๆ รู้ แต่ความจริงไม่รู้ เช่น ทำเป็นอมภูมิ. | อมภูมิ [พูม] ก. ไม่ยอมแสดงความรู้ทั้ง ๆ ที่มีความรู้ บางทีใช้หมายถึงทำท่าทางคล้าย ๆ รู้ แต่ความจริงไม่รู้ เช่น ทำเป็นอมภูมิ. |
อมมือ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เดียงสา (ใช้แก่เด็ก) ในคําว่า เด็กอมมือ. | อมมือ ว. ไม่เดียงสา (ใช้แก่เด็ก) ในคําว่า เด็กอมมือ. |
อมยิ้ม เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ้มน้อย ๆ โดยไม่เผยอริมฝีปาก. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยน้ำตาล มีสีต่าง ๆ เป็นรูปกลม ๆ หรือแบน ๆ เสียบไม้. | อมยิ้ม ว. ยิ้มน้อย ๆ โดยไม่เผยอริมฝีปาก. น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยน้ำตาล มีสีต่าง ๆ เป็นรูปกลม ๆ หรือแบน ๆ เสียบไม้. |
อมโรค เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขี้โรค. | อมโรค ว. ขี้โรค. |
อมเลือดอมฝาด เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีผิวพรรณผุดผ่อง. | อมเลือดอมฝาด ว. มีผิวพรรณผุดผ่อง. |
อมเลือดอมหนอง เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเลือดและหนองปนกันอยู่ข้างใน เช่น ฝีอมเลือดอมหนอง. | อมเลือดอมหนอง ว. มีเลือดและหนองปนกันอยู่ข้างใน เช่น ฝีอมเลือดอมหนอง. |
อมหนอง เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กลัดหนอง, มีหนองคั่งอยู่. | อมหนอง ก. กลัดหนอง, มีหนองคั่งอยู่. |
อ้ม เขียนว่า ออ-อ่าง-ไม้-โท-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเนียม. ในวงเล็บ ดู เนียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ (๒). | อ้ม (ถิ่นอีสาน) น. ต้นเนียม. [ดู เนียม ๑ (๒)]. |
อมต, อมตะ อมต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า อมตะ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | [อะมะตะ, อะมะตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตาย เช่น อมตธรรม, เป็นที่นิยมยั่งยืน เช่น เพลงอมตะ. เป็นคำนาม หมายถึง พระนิพพาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อมฺฤต เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า. | อมต, อมตะ [อะมะตะ, อะมะตะ] ว. ไม่ตาย เช่น อมตธรรม, เป็นที่นิยมยั่งยืน เช่น เพลงอมตะ. น. พระนิพพาน. (ป.; ส. อมฺฤต). |
อมตบท เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง ทางพระนิพพาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี อมตปท เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาสันสกฤต อมฺฤตปท เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน. | อมตบท น. ทางพระนิพพาน. (ป. อมตปท; ส. อมฺฤตปท). |
อมนุษย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะมะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่มิใช่มนุษย์ (หมายรวมทั้ง เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย ภูตผีปิศาจ เป็นต้น) แต่โดยมากหมายถึง ภูตผีปิศาจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อมนุสฺส เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ. | อมนุษย์ [อะมะ] น. ผู้ที่มิใช่มนุษย์ (หมายรวมทั้ง เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย ภูตผีปิศาจ เป็นต้น) แต่โดยมากหมายถึง ภูตผีปิศาจ. (ส.; ป. อมนุสฺส). |
อมร, อมร อมร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ อมร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ | [อะมอน, อะมอนระ, อะมะระ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ไม่ตาย, เทวดา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตาย, ไม่เสื่อมสูญ, ยั่งยืน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | อมร, อมร [อะมอน, อะมอนระ, อะมะระ] น. ผู้ไม่ตาย, เทวดา. ว. ไม่ตาย, ไม่เสื่อมสูญ, ยั่งยืน. (ป., ส.). |
อมรโคยานทวีป เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง ทวีปใหญ่อยู่ทางทิศตะวันตกของเขาพระสุเมรุเป็นทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป ได้แก่ อุตรกุรุทวีปหรืออุตรกุรูทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป. | อมรโคยานทวีป น. ทวีปใหญ่อยู่ทางทิศตะวันตกของเขาพระสุเมรุเป็นทวีป ๑ ใน ๔ ทวีป ได้แก่ อุตรกุรุทวีปหรืออุตรกุรูทวีป บุพวิเทหทวีป ชมพูทวีป และอมรโคยานทวีป. |
อมรบดี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [อะมะระบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง จอมเทวดา คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อมรปติ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | อมรบดี [อะมะระบอดี] น. จอมเทวดา คือ พระอินทร์. (ส. อมรปติ). |
อมรรัตน์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [อะมอนระ] เป็นคำนาม หมายถึง เพชร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อมรรัตน์ [อะมอนระ] น. เพชร. (ส.). |
อมรราช เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | [อะมอนระราด] เป็นคำนาม หมายถึง ราชาของเทวดา คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อมรราช [อะมอนระราด] น. ราชาของเทวดา คือ พระอินทร์. (ส.). |
อมรสตรี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [อะมะระสัดตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง นางสวรรค์, นางฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อมรสตรี [อะมะระสัดตฺรี] น. นางสวรรค์, นางฟ้า. (ส.). |
อมรา เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง อมร. | อมรา (กลอน) น. อมร. |
อมราวดี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเมืองของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อมราวดี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี. | อมราวดี น. ชื่อเมืองของพระอินทร์. (ส. อมราวดี). |
อมรินทร์, อมเรนทร์ อมรินทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด อมเรนทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต อมร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ + อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | อมรินทร์, อมเรนทร์ น. พระอินทร์. (ส. อมร + อินฺทฺร). |
อมเรศ, อมเรศวร อมเรศ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา อมเรศวร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [อะมะเรด, เรสวน] เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. | อมเรศ, อมเรศวร [อะมะเรด, เรสวน] น. พระอินทร์. |
อมรา เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | ดู อมร, อมร อมร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ อมร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ . | อมรา ดู อมร, อมร. |
อมราวดี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | ดู อมร, อมร อมร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ อมร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ . | อมราวดี ดู อมร, อมร. |
อมรินทร์, อมเรนทร์ อมรินทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด อมเรนทร์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู อมร, อมร อมร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ อมร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ . | อมรินทร์, อมเรนทร์ ดู อมร, อมร. |
อมเรศ, อมเรศวร อมเรศ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา อมเรศวร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | ดู อมร, อมร อมร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ อมร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ . | อมเรศ, อมเรศวร ดู อมร, อมร. |
อมฤต, อมฤต อมฤต เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า อมฤต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า | [อะมะริด, รึด, ริดตะ, รึดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าทิพย์ เรียกว่า นํ้าอมฤต; เครื่องทิพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อมต เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า. | อมฤต, อมฤต [อะมะริด, รึด, ริดตะ, รึดตะ] น. นํ้าทิพย์ เรียกว่า นํ้าอมฤต; เครื่องทิพย์. (ส.; ป. อมต). |
อมฤตบท เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน | [อะมะรึดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ทางพระนิพพาน. | อมฤตบท [อะมะรึดตะ] น. ทางพระนิพพาน. |
อมฤตรส เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สอ-เสือ | [อะมะรึดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง น้ำทิพย์; พระธรรม (ในพระพุทธศาสนา). | อมฤตรส [อะมะรึดตะ] น. น้ำทิพย์; พระธรรม (ในพระพุทธศาสนา). |
อมฤตยู เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-รึ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู | [อะมะรึดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่ตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อมฤตยู [อะมะรึดตะ] น. ความไม่ตาย. (ส.). |
อมัจจะ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง อํามาตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต อมาตฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | อมัจจะ น. อํามาตย์. (ป.; ส. อมาตฺย). |
อมัตร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง หม้อนํ้า, ภาชนะสําหรับใส่นํ้าดื่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | อมัตร น. หม้อนํ้า, ภาชนะสําหรับใส่นํ้าดื่ม. (ส.). |
อมาตย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [อะหฺมาด] เป็นคำนาม หมายถึง อำมาตย์, ข้าราชการ, ข้าเฝ้า; ที่ปรึกษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี อมจฺจ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน. | อมาตย์ [อะหฺมาด] น. อำมาตย์, ข้าราชการ, ข้าเฝ้า; ที่ปรึกษา. (ส.; ป. อมจฺจ). |
อมาวสี, อมาวสุ, อมาวาสี อมาวสี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี อมาวสุ เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ อมาวาสี เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง วันดับ, วันที่พระจันทร์และพระอาทิตย์ร่วมราศีและองศาเดียวกัน ตรงกับแรม ๑๕ ค่ำหรือแรม ๑๔ ค่ำในเดือนขาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | อมาวสี, อมาวสุ, อมาวาสี น. วันดับ, วันที่พระจันทร์และพระอาทิตย์ร่วมราศีและองศาเดียวกัน ตรงกับแรม ๑๕ ค่ำหรือแรม ๑๔ ค่ำในเดือนขาด. (ป.). |