หม่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะมัว ๆ หรือคล้ำ ๆ (ใช้แก่สี) เช่น สีฟ้าหม่น สีเขียวหม่น.หม่น ว. มีลักษณะมัว ๆ หรือคล้ำ ๆ (ใช้แก่สี) เช่น สีฟ้าหม่น สีเขียวหม่น.
หม่นหมอง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ผ่องใส, ไม่สบายใจ, ไม่เบิกบาน, เช่น หน้าตาหม่นหมอง จิตใจหม่นหมอง, หมองหม่น ก็ว่า.หม่นหมอง ว. ไม่ผ่องใส, ไม่สบายใจ, ไม่เบิกบาน, เช่น หน้าตาหม่นหมอง จิตใจหม่นหมอง, หมองหม่น ก็ว่า.
หม่นไหม้ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีทุกข์ร้อนตรมตรอมใจ.หม่นไหม้ ว. มีทุกข์ร้อนตรมตรอมใจ.
หมวก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่[หฺมวก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมศีรษะมีรูปต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องประดับหรือกันแดดกันฝนเป็นต้น.หมวก [หฺมวก] น. เครื่องสวมศีรษะมีรูปต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องประดับหรือกันแดดกันฝนเป็นต้น.
หมวกกะโล่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง หมวกกันแดดชนิดหนึ่ง ทรงคลุ่ม มีปีกแข็งโดยรอบ โครงทําด้วยไม้ฉําฉาหรือไม้ก๊อกเป็นต้นแล้วหุ้มผ้า หรือทําด้วยใบลาน.หมวกกะโล่ น. หมวกกันแดดชนิดหนึ่ง ทรงคลุ่ม มีปีกแข็งโดยรอบ โครงทําด้วยไม้ฉําฉาหรือไม้ก๊อกเป็นต้นแล้วหุ้มผ้า หรือทําด้วยใบลาน.
หมวกกะหลาป๋า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง หมวกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่อย่างละเอียด รูปทรงสูง ผู้หญิงนิยมใช้ในเวลาแข่งเรือ มีดอกไม้จีนเสียบ เป็นของเก่าสมัยต้นรัชกาลที่ ๕ ขึ้นไป.หมวกกะหลาป๋า น. หมวกชนิดหนึ่งสานด้วยไม้ไผ่อย่างละเอียด รูปทรงสูง ผู้หญิงนิยมใช้ในเวลาแข่งเรือ มีดอกไม้จีนเสียบ เป็นของเก่าสมัยต้นรัชกาลที่ ๕ ขึ้นไป.
หมวกกันน็อก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง (ปาก) หมวกนิรภัย.หมวกกันน็อก น. (ปาก) หมวกนิรภัย.
หมวกแก๊ป เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง หมวกทหารตํารวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า.หมวกแก๊ป น. หมวกทหารตํารวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า.
หมวกแจว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่สวมหัวแจวสําหรับจับ.หมวกแจว น. ไม้ที่สวมหัวแจวสําหรับจับ.
หมวกทรงหม้อตาล เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง หมวกที่มีรูปทรงคล้ายหม้อตาลอย่างหมวกที่พลทหารเรือและจ่าทหารเรือเป็นต้นสวม. ในวงเล็บ รูปภาพ หมวกทรงหม้อตาล.หมวกทรงหม้อตาล น. หมวกที่มีรูปทรงคล้ายหม้อตาลอย่างหมวกที่พลทหารเรือและจ่าทหารเรือเป็นต้นสวม. (รูปภาพ หมวกทรงหม้อตาล).
หมวกนิรภัย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง หมวกสำหรับสวมป้องกันหรือลดอันตรายเมื่อศีรษะได้รับความกระทบกระเทือนเป็นต้น, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง หมวกกันน็อก.หมวกนิรภัย น. หมวกสำหรับสวมป้องกันหรือลดอันตรายเมื่อศีรษะได้รับความกระทบกระเทือนเป็นต้น, (ปาก) หมวกกันน็อก.
หมวกหนีบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมศีรษะแบบหนึ่ง ทำด้วยผ้าหรือสักหลาด รูปทรงคล้ายซองจดหมายอย่างยาว.หมวกหนีบ น. เครื่องสวมศีรษะแบบหนึ่ง ทำด้วยผ้าหรือสักหลาด รูปทรงคล้ายซองจดหมายอย่างยาว.
หมวกหู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ขอบหูตอนบน.หมวกหู น. ขอบหูตอนบน.
หมวกหูกระต่าย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมศีรษะแบบหนึ่ง ทําด้วยผ้าหรือสักหลาดสีต่าง ๆ รูปทรงกระบอกสั้น ๆ มีแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าติดขอบหมวกสําหรับปกใบหูทั้ง ๒ ข้าง. ในวงเล็บ รูปภาพ หมวกหูกระต่าย.หมวกหูกระต่าย น. เครื่องสวมศีรษะแบบหนึ่ง ทําด้วยผ้าหรือสักหลาดสีต่าง ๆ รูปทรงกระบอกสั้น ๆ มีแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าติดขอบหมวกสําหรับปกใบหูทั้ง ๒ ข้าง. (รูปภาพ หมวกหูกระต่าย).
หมวกเห็ด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่เป็นดอกของเห็ด.หมวกเห็ด น. ส่วนที่เป็นดอกของเห็ด.
หมวกเหล็ก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง หมวกสำหรับทหารหรือตำรวจสวมเพื่อป้องกันอันตรายจากอาวุธเป็นต้น.หมวกเหล็ก น. หมวกสำหรับทหารหรือตำรวจสวมเพื่อป้องกันอันตรายจากอาวุธเป็นต้น.
หมวด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก[หฺมวด] เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มที่ประกอบด้วยหลายหมู่ เช่น หมวดหนังสือ วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยหมู่หนังสือเคมี หมู่หนังสือฟิสิกส์ เป็นต้น; กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น มีจำนวนไม่เกิน ๔ หมู่ มีหัวหน้าเรียกว่า ผู้บังคับหมวด หรือทั่ว ๆ ไปเรียกว่า ผู้หมวด, ถ้าเป็นทหารบกหรือตำรวจจะต้องมียศเป็นร้อยตรี ร้อยโท หรือร้อยตำรวจตรี ร้อยตำรวจโท, ถ้าเป็นทหารเรือหรือทหารอากาศจะต้องมียศเป็นเรือตรี เรือโท; เรียกสิ่งที่ขมวดไว้เป็นจุกเดียวกัน.หมวด [หฺมวด] น. กลุ่มที่ประกอบด้วยหลายหมู่ เช่น หมวดหนังสือ วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยหมู่หนังสือเคมี หมู่หนังสือฟิสิกส์ เป็นต้น; กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น มีจำนวนไม่เกิน ๔ หมู่ มีหัวหน้าเรียกว่า ผู้บังคับหมวด หรือทั่ว ๆ ไปเรียกว่า ผู้หมวด, ถ้าเป็นทหารบกหรือตำรวจจะต้องมียศเป็นร้อยตรี ร้อยโท หรือร้อยตำรวจตรี ร้อยตำรวจโท, ถ้าเป็นทหารเรือหรือทหารอากาศจะต้องมียศเป็นเรือตรี เรือโท; เรียกสิ่งที่ขมวดไว้เป็นจุกเดียวกัน.
หมวน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขุ่น.หมวน (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ว. ขุ่น.
หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้, ผู้ชํานาญ, เช่น หมองู หมอนวด; ผู้ตรวจรักษาโรค เช่น หมอฟัน หมอเด็ก.หมอ ๑ น. ผู้รู้, ผู้ชํานาญ, เช่น หมองู หมอนวด; ผู้ตรวจรักษาโรค เช่น หมอฟัน หมอเด็ก.
หมอขวัญ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้พิธีทําขวัญ, หมอทำขวัญ ก็เรียก; ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอเฒ่า ก็เรียก.หมอขวัญ น. ผู้รู้พิธีทําขวัญ, หมอทำขวัญ ก็เรียก; ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอเฒ่า ก็เรียก.
หมอความ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่องอรรถคดี, ทนาย หรือ ทนายความ ก็เรียก.หมอความ (ปาก) น. ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ว่าต่างแก้ต่างคู่ความในเรื่องอรรถคดี, ทนาย หรือ ทนายความ ก็เรียก.
หมอแคน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความชำนาญในการเป่าแคน, อีสานเรียก ช่างแคน.หมอแคน น. ผู้มีความชำนาญในการเป่าแคน, อีสานเรียก ช่างแคน.
หมองู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความชำนาญในการจับงูเห่ามาเลี้ยงเพื่อนำไปแสดง.หมองู น. ผู้มีความชำนาญในการจับงูเห่ามาเลี้ยงเพื่อนำไปแสดง.
หมองูตายเพราะงู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ชำนาญในการเอางูเห่ามาเลี้ยงเป็นอาชีพก็อาจถูกงูเห่ากัดตายเพราะความประมาทได้, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีความรู้อาจตายหรือพลาดท่าเสียทีเพราะความรู้ของตนก็ได้.หมองูตายเพราะงู น. ผู้ที่ชำนาญในการเอางูเห่ามาเลี้ยงเป็นอาชีพก็อาจถูกงูเห่ากัดตายเพราะความประมาทได้, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีความรู้อาจตายหรือพลาดท่าเสียทีเพราะความรู้ของตนก็ได้.
หมอเฒ่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอขวัญ ก็เรียก.หมอเฒ่า น. ผู้มีความรู้ทางคชศาสตร์และเป็นหัวหน้าในการจับช้าง, หมอขวัญ ก็เรียก.
หมอดู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทํานายโชคชะตาราศี.หมอดู น. ผู้ทํานายโชคชะตาราศี.
หมอตำแย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีอาชีพทําคลอดตามแผนโบราณ.หมอตำแย น. หญิงที่มีอาชีพทําคลอดตามแผนโบราณ.
หมอทำขวัญ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รู้พิธีทำขวัญ, หมอขวัญ ก็เรียก.หมอทำขวัญ น. ผู้รู้พิธีทำขวัญ, หมอขวัญ ก็เรียก.
หมอนวด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความชำนาญในการนวดเพื่อให้คลายจากความเจ็บปวดหรือเมื่อยขบ.หมอนวด น. ผู้มีความชำนาญในการนวดเพื่อให้คลายจากความเจ็บปวดหรือเมื่อยขบ.
หมอน้อย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ที่ใช้ในการนวดเช่นนมไม้; เรียกตัวปลิงที่ใช้กอกเลือดว่าหมอน้อย.หมอน้อย ๑ น. อุปกรณ์ที่ใช้ในการนวดเช่นนมไม้; เรียกตัวปลิงที่ใช้กอกเลือดว่าหมอน้อย.
หมอน้ำมัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานาญในการขี่ช้างตกมัน.หมอน้ำมัน น. ผู้ชํานาญในการขี่ช้างตกมัน.
หมอผี เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่เชื่อกันว่ามีอำนาจเลี้ยง ควบคุม ใช้งานและปราบผีเป็นต้นได้.หมอผี น. ผู้ที่เชื่อกันว่ามีอำนาจเลี้ยง ควบคุม ใช้งานและปราบผีเป็นต้นได้.
หมอพัดโตนด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ดอ-เด็ก[–ตะโหฺนด] เป็นคำนาม หมายถึง หมอรักษาโรคช้างในทางยา.หมอพัดโตนด [–ตะโหฺนด] น. หมอรักษาโรคช้างในทางยา.
หมอยา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีความรู้ในการใช้ยารักษาโรค.หมอยา (ปาก) น. ผู้มีความรู้ในการใช้ยารักษาโรค.
หมอลำ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานาญในการขับร้องแบบอีสาน.หมอลำ น. ผู้ชํานาญในการขับร้องแบบอีสาน.
หมอเสน่ห์ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่เชื่อกันว่ารู้วิชาอาคมทำให้คนรักกันหรือชังกัน.หมอเสน่ห์ น. ผู้ที่เชื่อกันว่ารู้วิชาอาคมทำให้คนรักกันหรือชังกัน.
หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เรียกเด็กด้วยความเอ็นดูว่า หมอนั่น หมอนี่, ใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ เรียกผู้ใหญ่ด้วยความหมั่นไส้เป็นต้น, (ใช้แก่ผู้ชาย), เช่น อย่าไปฟังหมอนะ, บางทีก็ใช้ว่า อ้ายหมอนั่น อ้ายหมอนี่ หรือ เจ้าหมอนั่น เจ้าหมอนี่.หมอ ๒ (ปาก) ใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒ เรียกเด็กด้วยความเอ็นดูว่า หมอนั่น หมอนี่, ใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓ เรียกผู้ใหญ่ด้วยความหมั่นไส้เป็นต้น, (ใช้แก่ผู้ชาย), เช่น อย่าไปฟังหมอนะ, บางทีก็ใช้ว่า อ้ายหมอนั่น อ้ายหมอนี่ หรือ เจ้าหมอนั่น เจ้าหมอนี่.
หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Anabas testudineus ในวงศ์ Anabantidae ลําตัวป้อม แบนข้าง ท้องกลม คอดหางกว้าง หัวโต ปากซึ่งอยู่ปลายสุดของหัวกว้างและเชิดขึ้นเล็กน้อย ยืดหดไม่ได้ ฟันเล็กแต่แข็งแรง เกล็ดแข็ง ขอบเป็นจักคล้ายหนามยึดแน่นกับหนังและคลุมตลอดทั้งลําตัวและหัว กระดูกแผ่นปิดเหงือกหยักเป็นหนาม ใช้แถกเพื่อช่วยยึดยันให้เคลื่อนไปบนบกได้ดี ขอบครีบต่าง ๆ กลม ลําตัวและครีบมีสีดําคลํ้า ส่วนปลาขนาดเล็กมีสีจางกว่าและมีลายบั้งพาดลําตัวเป็นระยะ ๆ อาศัยอยู่ในแหล่งนํ้าแทบทุกประเภท พบขึ้นมาบนบกในฤดูฝนเสมอ ซึ่งเป็นธรรมชาติการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยแบบหนึ่ง และยังแสดงให้เห็นความสามารถในการหายใจในที่ดอนได้อีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, หมอไทย หรือ สะเด็ด ก็เรียก, อีสานเรียก เข็ง.หมอ ๓ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Anabas testudineus ในวงศ์ Anabantidae ลําตัวป้อม แบนข้าง ท้องกลม คอดหางกว้าง หัวโต ปากซึ่งอยู่ปลายสุดของหัวกว้างและเชิดขึ้นเล็กน้อย ยืดหดไม่ได้ ฟันเล็กแต่แข็งแรง เกล็ดแข็ง ขอบเป็นจักคล้ายหนามยึดแน่นกับหนังและคลุมตลอดทั้งลําตัวและหัว กระดูกแผ่นปิดเหงือกหยักเป็นหนาม ใช้แถกเพื่อช่วยยึดยันให้เคลื่อนไปบนบกได้ดี ขอบครีบต่าง ๆ กลม ลําตัวและครีบมีสีดําคลํ้า ส่วนปลาขนาดเล็กมีสีจางกว่าและมีลายบั้งพาดลําตัวเป็นระยะ ๆ อาศัยอยู่ในแหล่งนํ้าแทบทุกประเภท พบขึ้นมาบนบกในฤดูฝนเสมอ ซึ่งเป็นธรรมชาติการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยแบบหนึ่ง และยังแสดงให้เห็นความสามารถในการหายใจในที่ดอนได้อีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, หมอไทย หรือ สะเด็ด ก็เรียก, อีสานเรียก เข็ง.
หมอตาล เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Helostoma temminckii ในวงศ์ Anabantidae ลําตัวแบนข้างและกว้างมากกว่าปลาหมอ ปากยืดหดได้ และมีนิสัยเอาปากชนกับตัวอื่น จึงเรียกกันว่า ปลาจูบ พื้นลําตัวและครีบสีนํ้าตาลอ่อนหรือขาวนวล พบในเขตที่ลุ่ม ขนาดยาวได้ถึง ๓๐ เซนติเมตร, ใบตาล อีตาล อีโก๊ะ หรือ วี ก็เรียก.หมอตาล น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Helostoma temminckii ในวงศ์ Anabantidae ลําตัวแบนข้างและกว้างมากกว่าปลาหมอ ปากยืดหดได้ และมีนิสัยเอาปากชนกับตัวอื่น จึงเรียกกันว่า ปลาจูบ พื้นลําตัวและครีบสีนํ้าตาลอ่อนหรือขาวนวล พบในเขตที่ลุ่ม ขนาดยาวได้ถึง ๓๐ เซนติเมตร, ใบตาล อีตาล อีโก๊ะ หรือ วี ก็เรียก.
หม่อ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลูกวัวหรือควายเล็ก ๆ ว่า ลูกหม่อ.หม่อ น. เรียกลูกวัวหรือควายเล็ก ๆ ว่า ลูกหม่อ.
หม้อ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะประเภทหนึ่ง มีรูปทรงต่าง ๆ สำหรับใส่ของหรือใช้งานบางอย่าง, เรียกตามสิ่งที่ใช้ทำก็มี เช่น หม้อดิน หม้อทองเหลือง หม้ออะลูมิเนียม, เรียกตามสิ่งที่บรรจุก็มี เช่น หม้อข้าว หม้อน้ำมนตร์, เรียกตามวัตถุประสงค์ที่ใช้สอยก็มี เช่น หม้อตุ๋น หม้อนึ่ง.หม้อ น. ภาชนะประเภทหนึ่ง มีรูปทรงต่าง ๆ สำหรับใส่ของหรือใช้งานบางอย่าง, เรียกตามสิ่งที่ใช้ทำก็มี เช่น หม้อดิน หม้อทองเหลือง หม้ออะลูมิเนียม, เรียกตามสิ่งที่บรรจุก็มี เช่น หม้อข้าว หม้อน้ำมนตร์, เรียกตามวัตถุประสงค์ที่ใช้สอยก็มี เช่น หม้อตุ๋น หม้อนึ่ง.
หม้อกระดี่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง หม้อแกงขนาดใหญ่ปากกว้าง ทำด้วยดิน มีขีดเป็นรอยโดยรอบ.หม้อกระดี่ น. หม้อแกงขนาดใหญ่ปากกว้าง ทำด้วยดิน มีขีดเป็นรอยโดยรอบ.
หม้อเกลือ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง หม้อตาลใส่เกลือเม็ด ใช้สำหรับตั้งไฟให้ร้อน นำมาห่อหรือพันด้วยใบพลับพลึง ใช้นาบท้องและตามตัวหญิงแรกคลอดบุตร เพื่อคลายความเมื่อยตึงตัวเป็นต้น.หม้อเกลือ น. หม้อตาลใส่เกลือเม็ด ใช้สำหรับตั้งไฟให้ร้อน นำมาห่อหรือพันด้วยใบพลับพลึง ใช้นาบท้องและตามตัวหญิงแรกคลอดบุตร เพื่อคลายความเมื่อยตึงตัวเป็นต้น.
หม้อแกง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมหวานชนิดหนึ่ง ทำด้วยกะทิ ไข่ น้ำตาล ใส่ถาดผิงไฟ สุกแล้วมักโรยหอมเจียว เรียกว่า ขนมหม้อแกง.หม้อแกง น. ชื่อขนมหวานชนิดหนึ่ง ทำด้วยกะทิ ไข่ น้ำตาล ใส่ถาดผิงไฟ สุกแล้วมักโรยหอมเจียว เรียกว่า ขนมหม้อแกง.
หม้อขาง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง กระทะที่ทำด้วยเหล็กขาง.หม้อขาง (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) น. กระทะที่ทำด้วยเหล็กขาง.
หม้อตาล เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะดินเผามีรูปร่างคล้ายหม้อทรงเตี้ยสําหรับใส่นํ้าตาลโตนด, เรียกหมวกที่มีรูปทรงคล้ายหม้อตาลอย่างหมวกที่พลทหารเรือและจ่าทหารเรือเป็นต้นสวมว่า หมวกทรงหม้อตาล. ในวงเล็บ รูปภาพ หม้อตาล.หม้อตาล ๑ น. ภาชนะดินเผามีรูปร่างคล้ายหม้อทรงเตี้ยสําหรับใส่นํ้าตาลโตนด, เรียกหมวกที่มีรูปทรงคล้ายหม้อตาลอย่างหมวกที่พลทหารเรือและจ่าทหารเรือเป็นต้นสวมว่า หมวกทรงหม้อตาล. (รูปภาพ หม้อตาล).
หม้อตาล เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมหวานชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีเป็นรูปทรงหม้อตาลขนาดเล็กแล้วหยอดน้ำตาล มีสีต่าง ๆ.หม้อตาล ๒ น. ชื่อขนมหวานชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีเป็นรูปทรงหม้อตาลขนาดเล็กแล้วหยอดน้ำตาล มีสีต่าง ๆ.
หม้อทะนน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หม้อดินขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีขีดเป็นรอยโดยรอบสําหรับใส่นํ้า นํ้าตาลโตนด เป็นต้น, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง หม้อคะนน.หม้อทะนน น. หม้อดินขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีขีดเป็นรอยโดยรอบสําหรับใส่นํ้า นํ้าตาลโตนด เป็นต้น, (ปาก) หม้อคะนน.
หม้อน้ำ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง หม้อโลหะขนาดใหญ่ ใช้ต้มนํ้าทําให้เกิดไอนํ้าเดือดที่มีแรงดันสูงเพื่อหมุนเครื่องจักรเป็นต้น; อุปกรณ์ของเครื่องยนต์บางชนิด สําหรับบรรจุนํ้าเพื่อระบายความร้อนของเครื่องยนต์.หม้อน้ำ น. หม้อโลหะขนาดใหญ่ ใช้ต้มนํ้าทําให้เกิดไอนํ้าเดือดที่มีแรงดันสูงเพื่อหมุนเครื่องจักรเป็นต้น; อุปกรณ์ของเครื่องยนต์บางชนิด สําหรับบรรจุนํ้าเพื่อระบายความร้อนของเครื่องยนต์.
หม้อแปลง, หม้อแปลงไฟ หม้อแปลง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-งอ-งู หม้อแปลงไฟ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าสําหรับแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้สูงขึ้นหรือตํ่าลง ชนิดแรกเรียกว่า หม้อแปลงขึ้น ชนิดหลังเรียกว่า หม้อแปลงลง.หม้อแปลง, หม้อแปลงไฟ น. อุปกรณ์ไฟฟ้าสําหรับแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้าให้สูงขึ้นหรือตํ่าลง ชนิดแรกเรียกว่า หม้อแปลงขึ้น ชนิดหลังเรียกว่า หม้อแปลงลง.
หม้อไฟ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ รูปทรงคล้ายชาม ก้นหม้อมีเชิง ตรงกลางมีกระบอกสูงขึ้นมาจากใต้ก้นหม้อสำหรับใส่ถ่านติดไฟ ปากหม้อมีฝาปิด ใช้สำหรับใส่เกาเหลา แกงจืด เป็นต้น, หม้อหยวนโล้ ก็เรียก.หม้อไฟ น. ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ รูปทรงคล้ายชาม ก้นหม้อมีเชิง ตรงกลางมีกระบอกสูงขึ้นมาจากใต้ก้นหม้อสำหรับใส่ถ่านติดไฟ ปากหม้อมีฝาปิด ใช้สำหรับใส่เกาเหลา แกงจืด เป็นต้น, หม้อหยวนโล้ ก็เรียก.
หม้อหนู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง หม้อดินขนาดเล็กสำหรับต้มน้ำกระสายยาเป็นต้น.หม้อหนู น. หม้อดินขนาดเล็กสำหรับต้มน้ำกระสายยาเป็นต้น.
หม้อหยวนโล้ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-ไม้-โทดู หม้อไฟ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน.หม้อหยวนโล้ ดู หม้อไฟ.
หม้ออวย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง หม้อดินหรือหม้อเคลือบที่มีด้ามหรือหูสำหรับจับหรือหิ้ว.หม้ออวย น. หม้อดินหรือหม้อเคลือบที่มีด้ามหรือหูสำหรับจับหรือหิ้ว.
หมอก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[หฺมอก] เป็นคำนาม หมายถึง ละอองน้ำขนาดเล็กมากที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เกิดจากการกลั่นตัวของไอนํ้า ลอยอยู่ในอากาศ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเทาแก่อย่างสีเมฆ, เป็นฝ้ามัว เช่น ตาหมอก.หมอก [หฺมอก] น. ละอองน้ำขนาดเล็กมากที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เกิดจากการกลั่นตัวของไอนํ้า ลอยอยู่ในอากาศ. ว. สีเทาแก่อย่างสีเมฆ, เป็นฝ้ามัว เช่น ตาหมอก.
หม้อแกงค่าง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู หม้อแกงลิง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.หม้อแกงค่าง ดู หม้อแกงลิง.
หม้อแกงลิง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Nepenthes ampullaria Jack ในวงศ์ Nepenthaceae ชอบขึ้นในป่าพรุทางภาคใต้ ปลายใบเปลี่ยนเป็นรูปกระเปาะมีฝาปิด ใช้ดักจับแมลง, หม้อข้าวหม้อแกงลิง หรือ หม้อแกงค่าง ก็เรียก.หม้อแกงลิง น. ชื่อไม้เถาชนิด Nepenthes ampullaria Jack ในวงศ์ Nepenthaceae ชอบขึ้นในป่าพรุทางภาคใต้ ปลายใบเปลี่ยนเป็นรูปกระเปาะมีฝาปิด ใช้ดักจับแมลง, หม้อข้าวหม้อแกงลิง หรือ หม้อแกงค่าง ก็เรียก.
หม้อข้าวหม้อแกงลิง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งูดู หม้อแกงลิง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู.หม้อข้าวหม้อแกงลิง ดู หม้อแกงลิง.
หมอง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู[หฺมอง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขุ่น, มัว, เช่น เครื่องแก้วหมอง เครื่องเงินหมอง, ไม่ผ่องใส, ไม่แจ่มใส, เช่น หน้าหมอง.หมอง [หฺมอง] ว. ขุ่น, มัว, เช่น เครื่องแก้วหมอง เครื่องเงินหมอง, ไม่ผ่องใส, ไม่แจ่มใส, เช่น หน้าหมอง.
หมองใจ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ขุ่นใจ, มีใจไม่ผ่องใส; ขัดเคืองกัน.หมองใจ ก. ขุ่นใจ, มีใจไม่ผ่องใส; ขัดเคืองกัน.
หมองมัว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แจ่มใส, ไม่เบิกบาน.หมองมัว ว. ไม่แจ่มใส, ไม่เบิกบาน.
หมองหม่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ผ่องใส, ไม่สบายใจ, ไม่เบิกบาน, หม่นหมอง ก็ว่า.หมองหม่น ว. ไม่ผ่องใส, ไม่สบายใจ, ไม่เบิกบาน, หม่นหมอง ก็ว่า.
หมองหมาง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ผ่องใสเพราะมีความขุ่นเคืองใจ.หมองหมาง ว. ไม่ผ่องใสเพราะมีความขุ่นเคืองใจ.
หม่อง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อผู้ชายพม่า (พม่า หม่อง ว่า น้อง); เรียกยาขี้ผึ้งชนิดหนึ่งใช้ทา นวด เป็นต้น ว่า ยาหม่อง.หม่อง น. คํานําหน้าชื่อผู้ชายพม่า (พม่า หม่อง ว่า น้อง); เรียกยาขี้ผึ้งชนิดหนึ่งใช้ทา นวด เป็นต้น ว่า ยาหม่อง.
หมอช้างเหยียบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pristolepis fasciatus ในวงศ์ Nandidae พบทั่วไป รูปร่างคล้ายปลาหมอ หรือ ปลาเสือ แต่แบนข้างและกว้างกว่า ข้างตัวมีลายคลํ้าหลายลายพาดขวาง ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร, ช้างเหยียบ กระตรับ ตะกรับหน้านวล ก๋า หรือ อีก๋า ก็เรียก.หมอช้างเหยียบ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pristolepis fasciatus ในวงศ์ Nandidae พบทั่วไป รูปร่างคล้ายปลาหมอ หรือ ปลาเสือ แต่แบนข้างและกว้างกว่า ข้างตัวมีลายคลํ้าหลายลายพาดขวาง ขนาดยาวได้ถึง ๒๐ เซนติเมตร, ช้างเหยียบ กระตรับ ตะกรับหน้านวล ก๋า หรือ อีก๋า ก็เรียก.
หมอไทย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยักดู หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๓.หมอไทย ดู หมอ ๓.
หมอน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู[หฺมอน] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับหนุนศีรษะหรือหนุนสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น, เรียกตามรูปทรงก็มี เช่น หมอนขวาน หมอนตะพาบ หมอนหน้าอิฐ, เรียกตามวัตถุประสงค์ที่ใช้สอยก็มี เช่น หมอนหนุนศีรษะ หมอนหนุนเท้า หมอนหนุนรางรถไฟ, เรียกตามวัตถุที่ใช้ทำก็มี เช่น หมอนไม้ หมอนอิฐ; เครื่องสําหรับอัดดินปืนในลํากล้องให้แน่น.หมอน [หฺมอน] น. เครื่องสําหรับหนุนศีรษะหรือหนุนสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น, เรียกตามรูปทรงก็มี เช่น หมอนขวาน หมอนตะพาบ หมอนหน้าอิฐ, เรียกตามวัตถุประสงค์ที่ใช้สอยก็มี เช่น หมอนหนุนศีรษะ หมอนหนุนเท้า หมอนหนุนรางรถไฟ, เรียกตามวัตถุที่ใช้ทำก็มี เช่น หมอนไม้ หมอนอิฐ; เครื่องสําหรับอัดดินปืนในลํากล้องให้แน่น.
หมอนขวาน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หมอนที่ทําหน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายขวาน ใช้อิง.หมอนขวาน น. หมอนที่ทําหน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยมคล้ายขวาน ใช้อิง.
หมอนข้าง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หมอนที่มีลักษณะกลมยาวเกินกึ่งกาย นิยมวางข้าง ๆ ยาวไปตามที่นอน.หมอนข้าง น. หมอนที่มีลักษณะกลมยาวเกินกึ่งกาย นิยมวางข้าง ๆ ยาวไปตามที่นอน.
หม่อน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Morus alba L. ในวงศ์ Moraceae ใช้ใบสําหรับเลี้ยงตัวไหม ผลสุกกินได้.หม่อน น. ชื่อไม้ต้นชนิด Morus alba L. ในวงศ์ Moraceae ใช้ใบสําหรับเลี้ยงตัวไหม ผลสุกกินได้.
หมอนทอง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. (๒) ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง.หมอนทอง น. (๑) ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. (๒) ชื่อทุเรียนพันธุ์หนึ่ง.
หมอน้อย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ ดูใน หมอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑.หมอน้อย ๑ ดูใน หมอ ๑.
หมอน้อย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Murraya koenigii (L.) Spreng. ในวงศ์ Rutaceae ใบมีขนนุ่ม ใช้ทํายาได้.หมอน้อย ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Murraya koenigii (L.) Spreng. ในวงศ์ Rutaceae ใบมีขนนุ่ม ใช้ทํายาได้.
หมอบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้[หฺมอบ] เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่คู้เข่าลงและยอบตัวให้ท่อนแขนส่วนล่างราบอยู่กับพื้น, ยอบตัวลงในอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สิ้นเรี่ยวสิ้นแรง, ลุกไม่ขึ้น, เช่น ถูกตีเสียหมอบ เป็นไข้เสียหมอบ.หมอบ [หฺมอบ] ก. กิริยาที่คู้เข่าลงและยอบตัวให้ท่อนแขนส่วนล่างราบอยู่กับพื้น, ยอบตัวลงในอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น; (ปาก) สิ้นเรี่ยวสิ้นแรง, ลุกไม่ขึ้น, เช่น ถูกตีเสียหมอบ เป็นไข้เสียหมอบ.
หมอบกระแต เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หมอบนิ่งไม่มีทางสู้.หมอบกระแต (สำ) ก. หมอบนิ่งไม่มีทางสู้.
หมอบกราบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง หมอบแล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่ประนมอยู่กับพื้น.หมอบกราบ ก. หมอบแล้วน้อมศีรษะลงจดมือที่ประนมอยู่กับพื้น.
หมอบราบคาบแก้ว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมตามโดยไม่ขัดขืน, ยอมแพ้โดยดี.หมอบราบคาบแก้ว (สำ) ก. ยอมตามโดยไม่ขัดขืน, ยอมแพ้โดยดี.
หม่อม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสามัญที่เป็นภรรยาของเจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือหม่อมเจ้า, บุตรชายหญิงของพระองค์เจ้าหรือหม่อมเจ้า, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือ หม่อมเจ้า ที่ต้องโทษถูกถอดจากบรรดาศักดิ์, คํานําหน้าชื่อราชนิกุล ราชินีกุลชั้นผู้ใหญ่ทั้งชายหญิงที่ไม่มีตําแหน่ง, คํานําหน้าชื่อหญิงสามัญซึ่งไม่มีบรรดาศักดิ์ได้เป็นภรรยาของเจ้าคุณราชพันธ์ในตระกูลบุนนาคทั้ง ๓ ชั้น เช่น หม่อมปาน หม่อมรอด, คํานําหน้านามบุคคลที่เป็นผู้ดีมีตระกูลทั้งชายหญิง เช่น เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา สมัยธนบุรี เรียกว่า หม่อมบุนนาค.หม่อม น. หญิงสามัญที่เป็นภรรยาของเจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือหม่อมเจ้า, บุตรชายหญิงของพระองค์เจ้าหรือหม่อมเจ้า, (โบ) เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือ หม่อมเจ้า ที่ต้องโทษถูกถอดจากบรรดาศักดิ์, คํานําหน้าชื่อราชนิกุล ราชินีกุลชั้นผู้ใหญ่ทั้งชายหญิงที่ไม่มีตําแหน่ง, คํานําหน้าชื่อหญิงสามัญซึ่งไม่มีบรรดาศักดิ์ได้เป็นภรรยาของเจ้าคุณราชพันธ์ในตระกูลบุนนาคทั้ง ๓ ชั้น เช่น หม่อมปาน หม่อมรอด, คํานําหน้านามบุคคลที่เป็นผู้ดีมีตระกูลทั้งชายหญิง เช่น เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา สมัยธนบุรี เรียกว่า หม่อมบุนนาค.
หม่อมเจ้า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้านามโอรสธิดาในพระองค์เจ้าชั้นพระบรมวงศ์.หม่อมเจ้า น. คํานําหน้านามโอรสธิดาในพระองค์เจ้าชั้นพระบรมวงศ์.
หม่อมฉัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูดสําหรับเจ้านายที่มีศักดิ์เสมอกันหรือสําหรับผู้หญิงใช้พูดกับเจ้านาย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.หม่อมฉัน ส. คําใช้แทนตัวผู้พูดสําหรับเจ้านายที่มีศักดิ์เสมอกันหรือสําหรับผู้หญิงใช้พูดกับเจ้านาย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
หม่อมราชวงศ์ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อบุตรของหม่อมเจ้า.หม่อมราชวงศ์ น. คํานําหน้าชื่อบุตรของหม่อมเจ้า.
หม่อมหลวง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง คํานําหน้าชื่อบุตรของหม่อมราชวงศ์.หม่อมหลวง น. คํานําหน้าชื่อบุตรของหม่อมราชวงศ์.
หม่อมห้าม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสามัญที่เป็นเมียของเจ้านาย, ใช้คํานําหน้านามว่า หม่อม.หม่อมห้าม น. หญิงสามัญที่เป็นเมียของเจ้านาย, ใช้คํานําหน้านามว่า หม่อม.
หมอย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก[หฺมอย] เป็นคำนาม หมายถึง ขนที่ของลับ; เรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นเป็นฝอยที่ปลายฝักข้าวโพดว่า หมอยข้าวโพด. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง เรียกหนวดว่า หมอยปาก เคราว่า หมอยคาง ขนรักแร้ว่า หมอยแร้.หมอย [หฺมอย] น. ขนที่ของลับ; เรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นเป็นฝอยที่ปลายฝักข้าวโพดว่า หมอยข้าวโพด. (ถิ่น–พายัพ) เรียกหนวดว่า หมอยปาก เคราว่า หมอยคาง ขนรักแร้ว่า หมอยแร้.
หม้อห้อม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเสื้อคอกลม แขนสั้นผ่าอกตลอด มักย้อมสีนํ้าเงินเข้มหรือดํา ว่า เสื้อหม้อห้อม, เขียนเป็น ม่อห้อม หรือ ม่อฮ่อม ก็มี.หม้อห้อม (ถิ่น–พายัพ) น. เรียกเสื้อคอกลม แขนสั้นผ่าอกตลอด มักย้อมสีนํ้าเงินเข้มหรือดํา ว่า เสื้อหม้อห้อม, เขียนเป็น ม่อห้อม หรือ ม่อฮ่อม ก็มี.
หมัก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง แช่ไว้, เก็บทิ้งไว้; ปล่อยให้พักฟื้นเพื่อให้หายบอบชํ้า (ใช้แก่ปลากัด) เช่น เอาปลากัดไปหมักไว้, ทอด ก็ว่า.หมัก ก. แช่ไว้, เก็บทิ้งไว้; ปล่อยให้พักฟื้นเพื่อให้หายบอบชํ้า (ใช้แก่ปลากัด) เช่น เอาปลากัดไปหมักไว้, ทอด ก็ว่า.
หมักหมม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-หอ-หีบ-มอ-ม้า-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ทิ้งไว้ให้คั่งค้างอยู่มาก ๆ เช่น เขาชอบหมักหมมงานไว้เสมอ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทิ้งไว้ให้คั่งค้างอยู่มาก ๆ เช่น เสื้อผ้าใช้แล้วก็ทิ้งหมักหมมไว้ ไม่รู้จักเก็บไปซักเสียที.หมักหมม ก. ทิ้งไว้ให้คั่งค้างอยู่มาก ๆ เช่น เขาชอบหมักหมมงานไว้เสมอ. ว. ที่ทิ้งไว้ให้คั่งค้างอยู่มาก ๆ เช่น เสื้อผ้าใช้แล้วก็ทิ้งหมักหมมไว้ ไม่รู้จักเก็บไปซักเสียที.
หมัด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงขนาดเล็กหลายชนิดในอันดับ Siphonaptera ตัวยาวประมาณ ๕ มิลลิเมตร ไม่มีปีก ลําตัวแบนข้าง มีขนเรียงเป็นแถวข้างลําตัวบริเวณปล้องแต่ละปล้อง หัวและอกเล็กกว่าท้อง ขายาว กระโดดได้เก่ง ปากเป็นชนิดเจาะดูด ดูดเลือดคนและสัตว์กินเป็นอาหาร เช่น หมัดคน (Pulex irritans) หมัดหมา (Ctenocephalides canis) หมัดหนู (Xenopsylla cheopsis) ในวงศ์ Pulicidae.หมัด ๑ น. ชื่อแมลงขนาดเล็กหลายชนิดในอันดับ Siphonaptera ตัวยาวประมาณ ๕ มิลลิเมตร ไม่มีปีก ลําตัวแบนข้าง มีขนเรียงเป็นแถวข้างลําตัวบริเวณปล้องแต่ละปล้อง หัวและอกเล็กกว่าท้อง ขายาว กระโดดได้เก่ง ปากเป็นชนิดเจาะดูด ดูดเลือดคนและสัตว์กินเป็นอาหาร เช่น หมัดคน (Pulex irritans) หมัดหมา (Ctenocephalides canis) หมัดหนู (Xenopsylla cheopsis) ในวงศ์ Pulicidae.
หมัด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กําปั้น, มือที่กําแน่นสําหรับชกหรือทุบเป็นต้น.หมัด ๒ น. กําปั้น, มือที่กําแน่นสําหรับชกหรือทุบเป็นต้น.
หมัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายดิบเป็นต้นที่ใช้คลุกกับชัน นํ้ามันยาง สําหรับยัดแนวเรือ.หมัน ๑ น. ด้ายดิบเป็นต้นที่ใช้คลุกกับชัน นํ้ามันยาง สําหรับยัดแนวเรือ.
หมัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cordia cochinchinensis Pierre ในวงศ์ Ehretiaceae เปลือกใช้ทําปอได้.หมัน ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cordia cochinchinensis Pierre ในวงศ์ Ehretiaceae เปลือกใช้ทําปอได้.
หมัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่สามารถมีบุตรได้; ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ เช่น งานนี้ทำไปก็เป็นหมัน.หมัน ๓ ว. ไม่สามารถมีบุตรได้; ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ เช่น งานนี้ทำไปก็เป็นหมัน.
หมั่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขยัน, ทําหรือประพฤติบ่อย ๆ อย่างเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, เช่น หมั่นทำการบ้าน หมั่นมาหา.หมั่น ก. ขยัน, ทําหรือประพฤติบ่อย ๆ อย่างเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, เช่น หมั่นทำการบ้าน หมั่นมาหา.
หมั้น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มอบสิ่งของให้ฝ่ายหญิงเพื่อแสดงความมั่นหมายว่าจะแต่งงานด้วย. เป็นคำนาม หมายถึง (กฎ) การที่ฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแล้วของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง; เรียกของที่มอบให้นั้นว่า ของหมั้น, ถ้าเป็นทอง เรียกว่า ทองหมั้น, ถ้าเป็นแหวน เรียกว่า แหวนหมั้น, ผู้ที่หมั้นกันแล้ว เรียกว่า คู่หมั้น.หมั้น ก. มอบสิ่งของให้ฝ่ายหญิงเพื่อแสดงความมั่นหมายว่าจะแต่งงานด้วย. น. (กฎ) การที่ฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่หญิงเพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแล้วของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง; เรียกของที่มอบให้นั้นว่า ของหมั้น, ถ้าเป็นทอง เรียกว่า ทองหมั้น, ถ้าเป็นแหวน เรียกว่า แหวนหมั้น, ผู้ที่หมั้นกันแล้ว เรียกว่า คู่หมั้น.
หมั่นไส้ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง ชังนํ้าหน้า, รู้สึกขวางหูขวางตา; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ชวนให้รู้สึกเอ็นดู, (มักใช้แก่เด็ก), เช่น เด็กคนนี้อ้วนแก้มยุ้ย น่าหมั่นไส้, มันไส้ ก็ว่า.หมั่นไส้ ก. ชังนํ้าหน้า, รู้สึกขวางหูขวางตา; (ปาก) ชวนให้รู้สึกเอ็นดู, (มักใช้แก่เด็ก), เช่น เด็กคนนี้อ้วนแก้มยุ้ย น่าหมั่นไส้, มันไส้ ก็ว่า.
หมับ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คำสำหรับประกอบกิริยาที่เอาอะไร ๆ ไปอย่างฉับไวไม่รีรอ เช่น คว้าหมับ ฉวยหมับ หยิบหมับ, มับ ก็ว่า.หมับ ว. คำสำหรับประกอบกิริยาที่เอาอะไร ๆ ไปอย่างฉับไวไม่รีรอ เช่น คว้าหมับ ฉวยหมับ หยิบหมับ, มับ ก็ว่า.
หมับ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของปากที่หุบเข้าแล้วอ้าออกอย่างเร็ว, มับ ๆ ก็ว่า.หมับ ๆ ว. อาการของปากที่หุบเข้าแล้วอ้าออกอย่างเร็ว, มับ ๆ ก็ว่า.
หมา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Canidae ลําตัวมีขนปกคลุม มีเขี้ยว ๒ คู่ ตีนหน้ามี ๕ นิ้ว ตีนหลังมี ๔ นิ้ว ซ่อนเล็บไม่ได้ อวัยวะเพศของตัวผู้มีกระดูกอยู่ภายใน ๑ ชิ้น ที่ยังคงเป็นสัตว์ป่า เช่น หมาใน (Cuon alpinus) ที่เลี้ยงเป็นสัตว์บ้าน คือ ชนิด Canis familiaris.หมา ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Canidae ลําตัวมีขนปกคลุม มีเขี้ยว ๒ คู่ ตีนหน้ามี ๕ นิ้ว ตีนหลังมี ๔ นิ้ว ซ่อนเล็บไม่ได้ อวัยวะเพศของตัวผู้มีกระดูกอยู่ภายใน ๑ ชิ้น ที่ยังคงเป็นสัตว์ป่า เช่น หมาใน (Cuon alpinus) ที่เลี้ยงเป็นสัตว์บ้าน คือ ชนิด Canis familiaris.
หมากลางถนน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ถอ-ถุง-นอ-หนู-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หมาที่ไม่มีเจ้าของ, โดยปริยายใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบคนที่ไม่มีสังกัด ไม่มีญาติพี่น้อง ยากจนอนาถา ไม่มีใครเหลียวแล เช่น เขาตายอย่างหมากลางถนน.หมากลางถนน น. หมาที่ไม่มีเจ้าของ, โดยปริยายใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบคนที่ไม่มีสังกัด ไม่มีญาติพี่น้อง ยากจนอนาถา ไม่มีใครเหลียวแล เช่น เขาตายอย่างหมากลางถนน.
หมากัดไม่เห่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ต่อสู้หรือตอบโต้โดยไม่เตือนล่วงหน้า.หมากัดไม่เห่า (สำ) น. คนที่ต่อสู้หรือตอบโต้โดยไม่เตือนล่วงหน้า.
หมากัดอย่ากัดตอบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง อย่าลดตัวลงไปต่อสู้หรือต่อปากต่อคำกับคนพาลหรือคนที่มีศักดิ์ต่ำกว่า.หมากัดอย่ากัดตอบ (สำ) ก. อย่าลดตัวลงไปต่อสู้หรือต่อปากต่อคำกับคนพาลหรือคนที่มีศักดิ์ต่ำกว่า.
หมาขี้ไม่มีใครยกหาง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ชอบยกตัวเอง, คนโอ้อวด.หมาขี้ไม่มีใครยกหาง (สำ) น. คนที่ชอบยกตัวเอง, คนโอ้อวด.
หมาขี้เรื้อน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่น่ารังเกียจ ไม่ควรคบหาสมาคมด้วย (ใช้กล่าวถึงผู้อื่นด้วยความดูถูกเหยียดหยาม).หมาขี้เรื้อน (สำ) น. คนที่น่ารังเกียจ ไม่ควรคบหาสมาคมด้วย (ใช้กล่าวถึงผู้อื่นด้วยความดูถูกเหยียดหยาม).
หมาจนตรอก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ฮึดสู้อย่างสุดชีวิตเพราะไม่มีทางเลือก ในสำนวนว่า สู้เหมือนหมาจนตรอก.หมาจนตรอก (สำ) น. คนที่ฮึดสู้อย่างสุดชีวิตเพราะไม่มีทางเลือก ในสำนวนว่า สู้เหมือนหมาจนตรอก.
หมาจิ้งจอก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-จอ-จาน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมาชนิด Canis aureus ในวงศ์ Canidae ขนตามลําตัวสีเทาอมนํ้าตาล มีขนลักษณะคล้ายอานม้าบริเวณไหล่ ปากแหลม หูตั้งแหลมตรง หางเป็นพวง เขี้ยวและฟันคมมาก กลางวันมักนอนอยู่ในโพรงดิน ออกหากินในเวลากลางคืน กินเนื้อสัตว์.หมาจิ้งจอก น. ชื่อหมาชนิด Canis aureus ในวงศ์ Canidae ขนตามลําตัวสีเทาอมนํ้าตาล มีขนลักษณะคล้ายอานม้าบริเวณไหล่ ปากแหลม หูตั้งแหลมตรง หางเป็นพวง เขี้ยวและฟันคมมาก กลางวันมักนอนอยู่ในโพรงดิน ออกหากินในเวลากลางคืน กินเนื้อสัตว์.
หมาถูกน้ำร้อน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีความเดือดร้อน กระวนกระวาย วิ่งพล่านไปหาที่พึ่งต่าง ๆ เปรียบเสมือนหมาที่ถูกน้ำร้อนลวก ร้องเสียงดังวิ่งพล่านไปด้วยความเจ็บปวดทุรนทุราย.หมาถูกน้ำร้อน (สำ) น. คนที่มีความเดือดร้อน กระวนกระวาย วิ่งพล่านไปหาที่พึ่งต่าง ๆ เปรียบเสมือนหมาที่ถูกน้ำร้อนลวก ร้องเสียงดังวิ่งพล่านไปด้วยความเจ็บปวดทุรนทุราย.
หมาใน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมาชนิด Cuon alpinus ในวงศ์ Canidae ขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเทา หางสีคลํ้ายาวเป็นพวง อาศัยอยู่ตามป่าทึบ ออกหากินเป็นฝูงเวลาเช้ามืดและพลบคํ่า ล่าสัตว์อื่นกิน เช่น เก้ง กวาง หมูป่า สัตว์เล็ก ๆ.หมาใน น. ชื่อหมาชนิด Cuon alpinus ในวงศ์ Canidae ขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเทา หางสีคลํ้ายาวเป็นพวง อาศัยอยู่ตามป่าทึบ ออกหากินเป็นฝูงเวลาเช้ามืดและพลบคํ่า ล่าสัตว์อื่นกิน เช่น เก้ง กวาง หมูป่า สัตว์เล็ก ๆ.
หมาในรางหญ้า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, หมาหวงราง ก็ว่า.หมาในรางหญ้า (สำ) น. คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, หมาหวงราง ก็ว่า.
หมาบ้าพาลกระแชง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่อาละวาดพาลหาเรื่องทำให้วุ่นวายทั่วไปหมด.หมาบ้าพาลกระแชง (สำ) น. คนที่อาละวาดพาลหาเรื่องทำให้วุ่นวายทั่วไปหมด.
หมาป่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมาหลายชนิดในวงศ์ Canidae มีถิ่นกําเนิดเกือบทั่วทุกภูมิภาคของโลก ขนลําตัวมีสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาลเทา เทาปนแดง ฟันและเขี้ยวคมมาก นิสัยดุร้าย ส่วนใหญ่หากินเป็นฝูง กินเนื้อสัตว์ เช่น ชนิด Canis vulpes พบในทวีปอเมริกาเหนือ, ชนิด Chrysocyon brachyurus พบในทวีปอเมริกาใต้, ชนิด Canis lupus พบในทวีปยุโรป, ชนิด Fennecus zerda พบในทวีปแอฟริกา, หมาจิ้งจอก (Canis aureus) และหมาใน (Cuon alpinus) พบในทวีปเอเชีย.หมาป่า น. ชื่อหมาหลายชนิดในวงศ์ Canidae มีถิ่นกําเนิดเกือบทั่วทุกภูมิภาคของโลก ขนลําตัวมีสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาลเทา เทาปนแดง ฟันและเขี้ยวคมมาก นิสัยดุร้าย ส่วนใหญ่หากินเป็นฝูง กินเนื้อสัตว์ เช่น ชนิด Canis vulpes พบในทวีปอเมริกาเหนือ, ชนิด Chrysocyon brachyurus พบในทวีปอเมริกาใต้, ชนิด Canis lupus พบในทวีปยุโรป, ชนิด Fennecus zerda พบในทวีปแอฟริกา, หมาจิ้งจอก (Canis aureus) และหมาใน (Cuon alpinus) พบในทวีปเอเชีย.
หมาลอบกัด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ลอบทำร้ายหรือกลั่นแกล้งผู้อื่นลับหลัง.หมาลอบกัด (สำ) น. คนที่ลอบทำร้ายหรือกลั่นแกล้งผู้อื่นลับหลัง.
หมาไล่เนื้อ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่รับใช้ผู้อื่นเมื่อเวลายังทำประโยชน์ให้ได้ ผู้เป็นนายก็เมตตาเลี้ยงดู แต่เมื่อทำประโยชน์ไม่ได้แล้ว ผู้เป็นนายก็ทอดทิ้งไม่ไยดีหรือหาเรื่องลงโทษขับไล่ไสส่งเป็นต้น เปรียบเสมือนหมาไล่เนื้อ เมื่อแก่สิ้นเขี้ยวสิ้นเล็บ ใช้ไล่ล่าสัตว์ไม่ได้ เจ้าของก็ไม่เมตตาเลี้ยงดูอีกต่อไป.หมาไล่เนื้อ (สำ) น. คนที่รับใช้ผู้อื่นเมื่อเวลายังทำประโยชน์ให้ได้ ผู้เป็นนายก็เมตตาเลี้ยงดู แต่เมื่อทำประโยชน์ไม่ได้แล้ว ผู้เป็นนายก็ทอดทิ้งไม่ไยดีหรือหาเรื่องลงโทษขับไล่ไสส่งเป็นต้น เปรียบเสมือนหมาไล่เนื้อ เมื่อแก่สิ้นเขี้ยวสิ้นเล็บ ใช้ไล่ล่าสัตว์ไม่ได้ เจ้าของก็ไม่เมตตาเลี้ยงดูอีกต่อไป.
หมาสองราง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทำตัวเข้าด้วยทั้ง ๒ ฝ่าย.หมาสองราง (สำ) น. คนที่ทำตัวเข้าด้วยทั้ง ๒ ฝ่าย.
หมาหมู่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มคนที่กลุ้มรุมทําร้ายคนคนเดียว.หมาหมู่ (ปาก) น. กลุ่มคนที่กลุ้มรุมทําร้ายคนคนเดียว.
หมาหยอกไก่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอาการที่ชายหยอกล้อหญิงในทำนองชู้สาวเป็นทีเล่นทีจริง.หมาหยอกไก่ (สำ) น. เรียกอาการที่ชายหยอกล้อหญิงในทำนองชู้สาวเป็นทีเล่นทีจริง.
หมาหวงก้าง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่หวงของที่ตนไม่มีสิทธิ์, คนที่กันท่าคนอื่นในสิ่งที่ตนได้ใช้ประโยชน์แล้วหรือใช้ประโยชน์ไม่ได้.หมาหวงก้าง (สำ) น. คนที่หวงของที่ตนไม่มีสิทธิ์, คนที่กันท่าคนอื่นในสิ่งที่ตนได้ใช้ประโยชน์แล้วหรือใช้ประโยชน์ไม่ได้.
หมาหวงราง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-วอ-แหวน-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, หมาในรางหญ้า ก็ว่า.หมาหวงราง (สำ) น. คนที่หวงแหนสิ่งที่ตนเองกินหรือใช้ไม่ได้ แต่ไม่ยอมให้คนอื่นกินหรือใช้, หมาในรางหญ้า ก็ว่า.
หมาหัวเน่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนซึ่งเป็นที่รังเกียจของคนอื่นจนไม่สามารถเข้ากับใครได้, คนที่ไม่มีใครรักหรือคบหา.หมาหัวเน่า (สำ) น. คนซึ่งเป็นที่รังเกียจของคนอื่นจนไม่สามารถเข้ากับใครได้, คนที่ไม่มีใครรักหรือคบหา.
หมาหางด้วน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทําอะไรผิดพลาดจนได้รับความอับอายแล้วชวนให้ผู้อื่นทําตามโดยยกย่องการกระทํานั้นว่าดี ควรเอาอย่าง.หมาหางด้วน (สำ) น. คนที่ทําอะไรผิดพลาดจนได้รับความอับอายแล้วชวนให้ผู้อื่นทําตามโดยยกย่องการกระทํานั้นว่าดี ควรเอาอย่าง.
หมาเห็นข้าวเปลือก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่อยากได้สิ่งที่เป็นประโยชน์หรืออำนวยความสุขสำราญให้แก่ตน แต่สุดความสามารถที่จะเอามาใช้หรืออำนวยประโยชน์ให้แก่ตนได้.หมาเห็นข้าวเปลือก (สำ) น. คนที่อยากได้สิ่งที่เป็นประโยชน์หรืออำนวยความสุขสำราญให้แก่ตน แต่สุดความสามารถที่จะเอามาใช้หรืออำนวยประโยชน์ให้แก่ตนได้.
หมาเห่าใบตองแห้ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ชอบพูดเอะอะแสดงว่าเก่ง แต่ไม่กล้าจริง.หมาเห่าใบตองแห้ง (สำ) น. คนที่ชอบพูดเอะอะแสดงว่าเก่ง แต่ไม่กล้าจริง.
หมาเห่าไม่กัด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ดีแต่ส่งเสียงเอะอะอวดเก่ง แต่ไม่ยอมต่อสู้หรือตอบโต้.หมาเห่าไม่กัด (สำ) น. คนที่ดีแต่ส่งเสียงเอะอะอวดเก่ง แต่ไม่ยอมต่อสู้หรือตอบโต้.
หมา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ ทำด้วยกาบปูเลเป็นต้น, ตีหมา ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู timba เขียนว่า ที-ไอ-เอ็ม-บี-เอ.หมา ๒ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ภาชนะสำหรับตักน้ำขึ้นจากบ่อ ทำด้วยกาบปูเลเป็นต้น, ตีหมา ก็เรียก. (ม. timba).
หม่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กิน เช่น ในห้องมีของกินมาก เข้าไปหม่าเสียซิ; ปล่อยไว้ไม่เป็นระเบียบ เช่น เสื้อผ้าข้าวของไม่เก็บ หม่าไว้เต็มห้อง; หมัก, แช่ให้อ่อนตัว, เช่น หม่าข้าว หม่าแป้ง หม่าปูน.หม่า (ปาก) ก. กิน เช่น ในห้องมีของกินมาก เข้าไปหม่าเสียซิ; ปล่อยไว้ไม่เป็นระเบียบ เช่น เสื้อผ้าข้าวของไม่เก็บ หม่าไว้เต็มห้อง; หมัก, แช่ให้อ่อนตัว, เช่น หม่าข้าว หม่าแป้ง หม่าปูน.
หม้า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, งามมาก. เป็นคำกริยา หมายถึง เล่นรื่นเริง.หม้า (โบ; กลอน) ว. งาม, งามมาก. ก. เล่นรื่นเริง.
หมาก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกปาล์มหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Palmae โดยเฉพาะชนิด Areca catechu L. ผลมีรสฝาด ใช้เคี้ยวกินกับปูน พลู ซึ่งรวมเรียกว่า กินหมาก และใช้ฟอกหนัง, ผลที่ยังไม่แก่เรียก หมากดิบ, ผลที่แก่จัดเรียก หมากสง, เนื้อหมากที่ฝานบาง ๆ ตากแห้ง ลักษณะคล้ายอีแปะ เรียก หมากอีแปะ, ผลแก่จัดที่เก็บไว้ทั้งเปลือกเพื่อไว้กินนาน ๆ เรียก หมากยับ.หมาก ๑ น. ชื่อเรียกปาล์มหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Palmae โดยเฉพาะชนิด Areca catechu L. ผลมีรสฝาด ใช้เคี้ยวกินกับปูน พลู ซึ่งรวมเรียกว่า กินหมาก และใช้ฟอกหนัง, ผลที่ยังไม่แก่เรียก หมากดิบ, ผลที่แก่จัดเรียก หมากสง, เนื้อหมากที่ฝานบาง ๆ ตากแห้ง ลักษณะคล้ายอีแปะ เรียก หมากอีแปะ, ผลแก่จัดที่เก็บไว้ทั้งเปลือกเพื่อไว้กินนาน ๆ เรียก หมากยับ.
หมากกรอก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากสงทั้งเปลือกที่ตากแดดให้แห้งสนิทจนเมื่อเขย่าเนื้อหมากที่อยู่ข้างในจะกลิ้งไปมาได้ จึงผ่าเอาเนื้อข้างในออกมาเก็บไว้กิน, หมากเม็ด ก็เรียก.หมากกรอก น. ผลหมากสงทั้งเปลือกที่ตากแดดให้แห้งสนิทจนเมื่อเขย่าเนื้อหมากที่อยู่ข้างในจะกลิ้งไปมาได้ จึงผ่าเอาเนื้อข้างในออกมาเก็บไว้กิน, หมากเม็ด ก็เรียก.
หมากกระเตอะ, หมากหน้ากระเตอะ หมากกระเตอะ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ หมากหน้ากระเตอะ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากที่มีหน้าจวนแก่.หมากกระเตอะ, หมากหน้ากระเตอะ น. ผลหมากที่มีหน้าจวนแก่.
หมากกั๊ก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากสงทั้งเปลือกที่ผ่าตามยาวออกเป็น ๔ ซีก แล้วนำไปตากแดดให้แห้งจนเปลือกล่อนหลุดออก เพื่อเก็บเนื้อไว้กินได้นาน ๆ.หมากกั๊ก น. ผลหมากสงทั้งเปลือกที่ผ่าตามยาวออกเป็น ๔ ซีก แล้วนำไปตากแดดให้แห้งจนเปลือกล่อนหลุดออก เพื่อเก็บเนื้อไว้กินได้นาน ๆ.
หมากเขียว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปาล์มชนิด Ptychosperma macarthurii Nichols. ในวงศ์ Palmae ก้านและใบเขียว.หมากเขียว น. ชื่อปาล์มชนิด Ptychosperma macarthurii Nichols. ในวงศ์ Palmae ก้านและใบเขียว.
หมากคัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนูดู เต่าร้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู.หมากคัน ดู เต่าร้าง.
หมากจุก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหมากดิบสดที่นำมาเจียนอย่างหมากเจียน แล้วจึงซอยตามยาวออกเป็นชิ้นบาง ๆ ตากแดดให้แห้ง.หมากจุก น. เนื้อหมากดิบสดที่นำมาเจียนอย่างหมากเจียน แล้วจึงซอยตามยาวออกเป็นชิ้นบาง ๆ ตากแดดให้แห้ง.
หมากเจียน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากดิบสดที่ผ่าตามยาวออกเป็นซีก ๆ นำมาเจียน ใช้กินกับพลูที่บ้ายปูน หรือตากให้แห้งเพื่อเก็บไว้กินได้นาน ๆ.หมากเจียน น. ผลหมากดิบสดที่ผ่าตามยาวออกเป็นซีก ๆ นำมาเจียน ใช้กินกับพลูที่บ้ายปูน หรือตากให้แห้งเพื่อเก็บไว้กินได้นาน ๆ.
หมากซอย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหมากดิบสดที่ผ่าออกเป็น ๔ ซีก รูปคล้ายกลีบส้ม นำมาซอยขวางเป็นชิ้นรูปสามเหลี่ยมบาง ๆ ตากแดดให้แห้ง.หมากซอย น. เนื้อหมากดิบสดที่ผ่าออกเป็น ๔ ซีก รูปคล้ายกลีบส้ม นำมาซอยขวางเป็นชิ้นรูปสามเหลี่ยมบาง ๆ ตากแดดให้แห้ง.
หมากดิบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง หมากที่ยังไม่แก่.หมากดิบ น. หมากที่ยังไม่แก่.
หมากแดง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปาล์มชนิด Cyrtostachys renda Blume ในวงศ์ Palmae กาบและก้านแดง.หมากแดง น. ชื่อปาล์มชนิด Cyrtostachys renda Blume ในวงศ์ Palmae กาบและก้านแดง.
หมากป่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เศษเนื้อหมากที่เหลือจากการทำหมากซอย หมากหน้าแว่น เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยรวมกันเข้า ตากแดดให้แห้ง.หมากป่น น. เศษเนื้อหมากที่เหลือจากการทำหมากซอย หมากหน้าแว่น เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยรวมกันเข้า ตากแดดให้แห้ง.
หมากแปะ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหมากดิบสดทั้งลูกที่นำมาหั่นให้เป็นแผ่นกลมบาง ๆ ตากแดดจนแห้งแข็ง, หมากอีแปะ หรือ หมากหน้าแว่น ก็เรียก.หมากแปะ น. เนื้อหมากดิบสดทั้งลูกที่นำมาหั่นให้เป็นแผ่นกลมบาง ๆ ตากแดดจนแห้งแข็ง, หมากอีแปะ หรือ หมากหน้าแว่น ก็เรียก.
หมากฝรั่ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ของเคี้ยวเล่นอย่างหนึ่ง ทําจากสารคล้ายยางไม้ มักหุ้มด้วยสารหวาน แล้วปรุงให้มีกลิ่นและรสต่าง ๆ เมื่อเคี้ยวจะยืดหยุ่นคล้ายยาง.หมากฝรั่ง น. ของเคี้ยวเล่นอย่างหนึ่ง ทําจากสารคล้ายยางไม้ มักหุ้มด้วยสารหวาน แล้วปรุงให้มีกลิ่นและรสต่าง ๆ เมื่อเคี้ยวจะยืดหยุ่นคล้ายยาง.
หมากเม็ด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากสงทั้งเปลือกที่ตากแดดให้แห้งสนิทจนเมื่อเขย่าเนื้อหมากที่อยู่ข้างในจะกลิ้งไปมาได้ จึงผ่าเอาเนื้อข้างในออกมาเก็บไว้กิน, หมากกรอก ก็เรียก.หมากเม็ด น. ผลหมากสงทั้งเปลือกที่ตากแดดให้แห้งสนิทจนเมื่อเขย่าเนื้อหมากที่อยู่ข้างในจะกลิ้งไปมาได้ จึงผ่าเอาเนื้อข้างในออกมาเก็บไว้กิน, หมากกรอก ก็เรียก.
หมากยับ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง หมากที่เก็บไว้ทั้งเปลือกเพื่อไว้กินได้นาน ๆ.หมากยับ น. หมากที่เก็บไว้ทั้งเปลือกเพื่อไว้กินได้นาน ๆ.
หมากลิง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปาล์มชนิด Areca triandra Roxb. ในวงศ์ Palmae.หมากลิง น. ชื่อปาล์มชนิด Areca triandra Roxb. ในวงศ์ Palmae.
หมากสง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หมากที่แก่จัด.หมากสง น. หมากที่แก่จัด.
หมากสมัด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[หฺมากสะหฺมัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมาก พลูจีบ และยาเส้น จัดเป็นชุดสำหรับขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺลาถฺมาต่ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก.หมากสมัด [หฺมากสะหฺมัด] น. ผลหมาก พลูจีบ และยาเส้น จัดเป็นชุดสำหรับขาย. (ข. สฺลาถฺมาต่).
หมากสุก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากแก่จัด เปลือกสีส้มอมแดง เมื่อผ่าจะเห็นเนื้อในแข็งมาก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกสีส้มอมแดงอย่างสีเปลือกหมากสุก ว่า สีหมากสุก.หมากสุก น. ผลหมากแก่จัด เปลือกสีส้มอมแดง เมื่อผ่าจะเห็นเนื้อในแข็งมาก. ว. เรียกสีส้มอมแดงอย่างสีเปลือกหมากสุก ว่า สีหมากสุก.
หมากหน้าแก่, หมากหน้าฝาด หมากหน้าแก่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก หมากหน้าฝาด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากอย่างดี เมื่อผ่าสดจะเห็นว่ามีเนื้อมาก สีออกส้มหรือน้ำตาลแดง มีวุ้นน้อย หน้าหมากมียางเยิ้มเป็นมัน มีลายเส้นในเนื้อมาก รสฝาด.หมากหน้าแก่, หมากหน้าฝาด น. ผลหมากอย่างดี เมื่อผ่าสดจะเห็นว่ามีเนื้อมาก สีออกส้มหรือน้ำตาลแดง มีวุ้นน้อย หน้าหมากมียางเยิ้มเป็นมัน มีลายเส้นในเนื้อมาก รสฝาด.
หมากหน้าแว่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหมากดิบสดทั้งลูกที่นำมาหั่นให้เป็นแผ่นกลมบาง ๆ ตากแดดจนแห้งแข็ง, หมากแปะ หรือ หมากอีแปะ ก็เรียก.หมากหน้าแว่น น. เนื้อหมากดิบสดทั้งลูกที่นำมาหั่นให้เป็นแผ่นกลมบาง ๆ ตากแดดจนแห้งแข็ง, หมากแปะ หรือ หมากอีแปะ ก็เรียก.
หมากหน้าหวาน, หมากหน้าอ่อน หมากหน้าหวาน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู หมากหน้าอ่อน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากอ่อน เมื่อผ่าสดจะเห็นว่าเนื้อมีสีเหลืองซีดหรือเกือบขาว มีวุ้นสีขุ่น ๆ อยู่ตรงกลางมาก มีลายเส้นในเนื้อน้อย รสไม่ฝาด.หมากหน้าหวาน, หมากหน้าอ่อน น. ผลหมากอ่อน เมื่อผ่าสดจะเห็นว่าเนื้อมีสีเหลืองซีดหรือเกือบขาว มีวุ้นสีขุ่น ๆ อยู่ตรงกลางมาก มีลายเส้นในเนื้อน้อย รสไม่ฝาด.
หมากหลุม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากที่เกิดจากการนำหมากสุกทั้งเปลือกบรรจุลงในหลุมที่ลึกประมาณ ๑ ศอก ราดน้ำพอชุ่มแล้วปิดคลุมปากหลุมให้มิดชิด ทิ้งไว้จนเปลือกเน่า เพื่อเก็บไว้กินแรมปี.หมากหลุม น. ผลหมากที่เกิดจากการนำหมากสุกทั้งเปลือกบรรจุลงในหลุมที่ลึกประมาณ ๑ ศอก ราดน้ำพอชุ่มแล้วปิดคลุมปากหลุมให้มิดชิด ทิ้งไว้จนเปลือกเน่า เพื่อเก็บไว้กินแรมปี.
หมากหอม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง หมากแห้งที่ป่นเป็นผง ผสมกับเครื่องเทศบางอย่างที่มีกลิ่นหอม ใช้กินควบกับหมากและพลูที่บ้ายปูน หรืออมดับกลิ่นปาก.หมากหอม น. หมากแห้งที่ป่นเป็นผง ผสมกับเครื่องเทศบางอย่างที่มีกลิ่นหอม ใช้กินควบกับหมากและพลูที่บ้ายปูน หรืออมดับกลิ่นปาก.
หมากเหลือง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปาล์มชนิด Chrysalidocarpus lutescens Wendl. ในวงศ์ Palmae กาบเหลือง ปลูกเป็นไม้ประดับ.หมากเหลือง น. ชื่อปาล์มชนิด Chrysalidocarpus lutescens Wendl. ในวงศ์ Palmae กาบเหลือง ปลูกเป็นไม้ประดับ.
หมากแห้ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หมากที่ตากแห้งเพื่อเก็บไว้กินนาน ๆ.หมากแห้ง น. หมากที่ตากแห้งเพื่อเก็บไว้กินนาน ๆ.
หมากไห เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ เป็นคำนาม หมายถึง ผลหมากที่เกิดจากการนำหมากสุกมาลอกผิวนอกออก บรรจุลงในไหให้เต็ม เติมน้ำสะอาดพอท่วม ปิดฝาให้แน่น ทิ้งไว้จนเปลือกเน่า เพื่อเก็บไว้กินแรมปี.หมากไห น. ผลหมากที่เกิดจากการนำหมากสุกมาลอกผิวนอกออก บรรจุลงในไหให้เต็ม เติมน้ำสะอาดพอท่วม ปิดฝาให้แน่น ทิ้งไว้จนเปลือกเน่า เพื่อเก็บไว้กินแรมปี.
หมากอีแปะ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง หมากที่ฝานบาง ๆ ตากแห้ง ลักษณะคล้ายอีแปะ.หมากอีแปะ น. หมากที่ฝานบาง ๆ ตากแห้ง ลักษณะคล้ายอีแปะ.
หมาก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผลไม้ เช่น หมากขาม แต่เสียงมักกร่อนเป็น มะ เช่น มะขาม.หมาก ๒ น. ผลไม้ เช่น หมากขาม แต่เสียงมักกร่อนเป็น มะ เช่น มะขาม.
หมาก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสิ่งของที่เป็นหน่วยเป็นลูกว่า หมาก เช่น หมากเก็บ หมากรุก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ลักษณนามเรียกของที่เป็นเม็ดเป็นลูกว่า หมาก เช่น แสงสิบหมาก ว่า พลอยสิบเม็ด.หมาก ๓ น. เรียกสิ่งของที่เป็นหน่วยเป็นลูกว่า หมาก เช่น หมากเก็บ หมากรุก; (โบ) ลักษณนามเรียกของที่เป็นเม็ดเป็นลูกว่า หมาก เช่น แสงสิบหมาก ว่า พลอยสิบเม็ด.
หมากเก็บ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นของเด็กใช้เม็ดกรวดหรือลูกไม้โยนแล้วเก็บ มีวิธีการเล่นและกติกาต่าง ๆ.หมากเก็บ น. การเล่นของเด็กใช้เม็ดกรวดหรือลูกไม้โยนแล้วเก็บ มีวิธีการเล่นและกติกาต่าง ๆ.
หมากไข่หำ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน และภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ลูกอัณฑะ, หำ หรือ ไข่หำ ก็เรียก.หมากไข่หำ (ถิ่น–อีสาน, พายัพ) น. ลูกอัณฑะ, หำ หรือ ไข่หำ ก็เรียก.
หมากแยก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากเดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันอย่างกระดานหมากรุก.หมากแยก น. การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากเดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันอย่างกระดานหมากรุก.
หมากรุก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากซึ่งมีรูปและชื่อต่างกันได้แก่ ขุน เรือ ม้า โคน เม็ด และเบี้ย เดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันเรียกว่า กระดานหมากรุก.หมากรุก น. การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากซึ่งมีรูปและชื่อต่างกันได้แก่ ขุน เรือ ม้า โคน เม็ด และเบี้ย เดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันเรียกว่า กระดานหมากรุก.
หมากฮอส เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ฮอ-นก-ฮูก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากเดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันเหมือนกระดานหมากรุก แต่ระบายสี ๒ สีสลับกันทุกตา เดินหมากตามตาทแยง.หมากฮอส น. การเล่นชนิดหนึ่ง ใช้ตัวหมากเดินบนกระดานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบ่งเป็น ๖๔ ตาเท่า ๆ กันเหมือนกระดานหมากรุก แต่ระบายสี ๒ สีสลับกันทุกตา เดินหมากตามตาทแยง.
หมากข่วง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกําจัด. ในวงเล็บ ดู กําจัด เขียนว่า กอ-ไก่-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑.หมากข่วง (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นกําจัด. (ดู กําจัด ๑).
หมากแข้ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นมะเขือพวง, ต้นมะแว้ง. ในวงเล็บ ดู มะเขือพวง เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-วอ-แหวน-งอ-งู ที่ มะเขือ และ มะแว้ง เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-งอ-งู .หมากแข้ง (ถิ่น–อีสาน) น. ต้นมะเขือพวง, ต้นมะแว้ง. (ดู มะเขือพวง ที่ มะเขือ และ มะแว้ง).
หมากทัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นพุทรา. ในวงเล็บ ดู พุทรา เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา.หมากทัน (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) น. ต้นพุทรา. (ดู พุทรา).
หมากผาง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-งอ-งูดู มงโกรย เขียนว่า มอ-ม้า-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ยอ-ยัก (๒).หมากผาง ดู มงโกรย (๒).
หมากผู้หมากเมีย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Cordyline fruticosa (L.) Goeppert ในวงศ์ Agavaceae ใช้ทํายาได้, พันธุ์ใบแคบเรียก หมากผู้, พันธุ์ใบกว้างเรียก หมากเมีย.หมากผู้หมากเมีย น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Cordyline fruticosa (L.) Goeppert ในวงศ์ Agavaceae ใช้ทํายาได้, พันธุ์ใบแคบเรียก หมากผู้, พันธุ์ใบกว้างเรียก หมากเมีย.
หมากม่วน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นท้อ. ในวงเล็บ ดู ท้อ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒.หมากม่วน (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นท้อ. (ดู ท้อ ๒).
หมากมาศ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลาดู มะแข่น เขียนว่า มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-นอ-หนู.หมากมาศ ดู มะแข่น.
หมากเม่า, หมากเม่าควาย หมากเม่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา หมากเม่าควาย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Antidesma velutinosum Blume ในวงศ์ Stilaginaceae.หมากเม่า, หมากเม่าควาย น. ชื่อไม้ต้นชนิด Antidesma velutinosum Blume ในวงศ์ Stilaginaceae.
หมากหนาม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้าดู เล็บเหยี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน.หมากหนาม ดู เล็บเหยี่ยว.
หมากหอมควาย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทํายา. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓.หมากหอมควาย น. ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทํายา. (พจน. ๒๔๙๓).
หมาง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง (โบ) กระดาก เช่น หมางกัน คือ กระดากกัน หมางหน้า คือ กระดากหน้า, อาการที่ห่างเหินกันเพราะขุ่นเคืองใจหรือผิดใจกันเป็นต้น เช่น คนคู่นี้แต่ก่อนก็ดูสนิทสนมกันดี แต่เดี๋ยวนี้ดูเขาหมางกันไป, หมาง ๆ ก็ว่า, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น บาดหมาง หมองหมาง หมางใจ.หมาง ก. (โบ) กระดาก เช่น หมางกัน คือ กระดากกัน หมางหน้า คือ กระดากหน้า, อาการที่ห่างเหินกันเพราะขุ่นเคืองใจหรือผิดใจกันเป็นต้น เช่น คนคู่นี้แต่ก่อนก็ดูสนิทสนมกันดี แต่เดี๋ยวนี้ดูเขาหมางกันไป, หมาง ๆ ก็ว่า, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น บาดหมาง หมองหมาง หมางใจ.
หมางใจ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดใจ, ขุ่นเคืองใจ.หมางใจ ก. ผิดใจ, ขุ่นเคืองใจ.
หมางเมิน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ห่างเหินเพราะขุ่นเคืองใจจนไม่อยากเห็นหน้า.หมางเมิน ก. ห่างเหินเพราะขุ่นเคืองใจจนไม่อยากเห็นหน้า.
หมาด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แห้งไม่สนิท, เกือบแห้ง, เช่น ผ้านี้ยังหมาดอยู่.หมาด ว. แห้งไม่สนิท, เกือบแห้ง, เช่น ผ้านี้ยังหมาดอยู่.
หมาด ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เพิ่งได้หรือเสร็จเป็นต้นมาใหม่ ๆ เช่น เขาเพิ่งได้เลื่อนตำแหน่งมาหมาด ๆ.หมาด ๆ (ปาก) ว. ที่เพิ่งได้หรือเสร็จเป็นต้นมาใหม่ ๆ เช่น เขาเพิ่งได้เลื่อนตำแหน่งมาหมาด ๆ.
หมามุ่ย, หมามุ้ย หมามุ่ย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก หมามุ้ย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Mucuna วงศ์ Leguminosae ฝักมีขนคันมาก เช่น ชนิด M. gigantea DC. ฝักแบนใหญ่, ชนิด M. pruriens DC. ฝักกลม ขนาดเล็กกว่าชนิดแรก.หมามุ่ย, หมามุ้ย น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Mucuna วงศ์ Leguminosae ฝักมีขนคันมาก เช่น ชนิด M. gigantea DC. ฝักแบนใหญ่, ชนิด M. pruriens DC. ฝักกลม ขนาดเล็กกว่าชนิดแรก.
หมาไม้ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Martes flavigula ในวงศ์ Mustelidae หัวคล้ายหมา ใบหูกลม ขอบหูขาว ลําตัวยาวสีนํ้าตาลอ่อน หางยาว ขนที่คาง ลําคอ และหน้าอกสีเหลือง ขนด้านบนของหัวสีดํา เล็บแหลมคม กินผลไม้และเนื้อสัตว์ ว่องไวมาก กลิ่นแรง อาศัยอยู่บนต้นไม้เป็นส่วนใหญ่.หมาไม้ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Martes flavigula ในวงศ์ Mustelidae หัวคล้ายหมา ใบหูกลม ขอบหูขาว ลําตัวยาวสีนํ้าตาลอ่อน หางยาว ขนที่คาง ลําคอ และหน้าอกสีเหลือง ขนด้านบนของหัวสีดํา เล็บแหลมคม กินผลไม้และเนื้อสัตว์ ว่องไวมาก กลิ่นแรง อาศัยอยู่บนต้นไม้เป็นส่วนใหญ่.
หมาย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือราชการที่ใช้เกณฑ์ เกาะกุม หรือ เรียกตัว เป็นต้น เช่น หมายเกณฑ์ หมายจับ หมายศาล, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง หนังสือคําสั่งของศาลหรือเจ้าพนักงานสั่งให้กระทําการ หรือห้ามกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หมายเกณฑ์ หมายจับ หมายค้น หมายเรียก. เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่ง เช่น เป้าที่หมายไว้, คาด, กะ, เช่น หมายว่าจะได้ผล หมายว่าจะพบ, ขีดไว้เป็นเครื่องกําหนด เช่น หมายหัวกระดาษ ใช้ปูนหมายหัวไว้.หมาย น. หนังสือราชการที่ใช้เกณฑ์ เกาะกุม หรือ เรียกตัว เป็นต้น เช่น หมายเกณฑ์ หมายจับ หมายศาล, (กฎ) หนังสือคําสั่งของศาลหรือเจ้าพนักงานสั่งให้กระทําการ หรือห้ามกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น หมายเกณฑ์ หมายจับ หมายค้น หมายเรียก. ก. มุ่ง เช่น เป้าที่หมายไว้, คาด, กะ, เช่น หมายว่าจะได้ผล หมายว่าจะพบ, ขีดไว้เป็นเครื่องกําหนด เช่น หมายหัวกระดาษ ใช้ปูนหมายหัวไว้.
หมายกำหนดการ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เอกสารแจ้งกําหนดขั้นตอนของงานพระราชพิธีที่จะต้องอ้างพระบรมราชโองการ คือขึ้นต้นด้วยข้อความว่า “นายกรัฐมนตรีหรือเลขาธิการพระราชวัง รับพระบรมราชโองการเหนือเกล้าฯ สั่งว่า” เสมอไป.หมายกำหนดการ น. เอกสารแจ้งกําหนดขั้นตอนของงานพระราชพิธีที่จะต้องอ้างพระบรมราชโองการ คือขึ้นต้นด้วยข้อความว่า “นายกรัฐมนตรีหรือเลขาธิการพระราชวัง รับพระบรมราชโองการเหนือเกล้าฯ สั่งว่า” เสมอไป.
หมายเกณฑ์ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือสั่งเกณฑ์ซึ่งเจ้าพนักงานปกครองท้องที่ออกไปถึงผู้ถูกเกณฑ์แรงงาน หรือเจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินที่ถูกเกณฑ์.หมายเกณฑ์ (กฎ) น. หนังสือสั่งเกณฑ์ซึ่งเจ้าพนักงานปกครองท้องที่ออกไปถึงผู้ถูกเกณฑ์แรงงาน หรือเจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สินที่ถูกเกณฑ์.
หมายขัง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หมายอาญาที่ศาลสั่งให้ขังผู้ต้องหาหรือจําเลยไว้ระหว่างสอบสวนไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณา.หมายขัง (กฎ) น. หมายอาญาที่ศาลสั่งให้ขังผู้ต้องหาหรือจําเลยไว้ระหว่างสอบสวนไต่สวนมูลฟ้องหรือพิจารณา.
หมายค้น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หมายอาญาที่สั่งให้เจ้าหน้าที่ตรวจค้น เพื่อยึดสิ่งของหรือจับกุมบุคคลซึ่งมีหมายให้จับ หรือเพื่อช่วยบุคคลซึ่งถูกหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย.หมายค้น (กฎ) น. หมายอาญาที่สั่งให้เจ้าหน้าที่ตรวจค้น เพื่อยึดสิ่งของหรือจับกุมบุคคลซึ่งมีหมายให้จับ หรือเพื่อช่วยบุคคลซึ่งถูกหน่วงเหนี่ยวหรือกักขังโดยมิชอบด้วยกฎหมาย.
หมายความ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งจะกล่าวถึง.หมายความ ก. มุ่งจะกล่าวถึง.
หมายความว่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ตีความว่า, แปลความว่า.หมายความว่า ก. ตีความว่า, แปลความว่า.
หมายจับ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หมายอาญาที่สั่งให้เจ้าหน้าที่จับกุมผู้ต้องหาหรือจําเลย.หมายจับ (กฎ) น. หมายอาญาที่สั่งให้เจ้าหน้าที่จับกุมผู้ต้องหาหรือจําเลย.
หมายจำคุก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หมายอาญาที่ศาลสั่งให้จําคุกผู้ต้องคําพิพากษาให้จําคุกหรือประหารชีวิต.หมายจำคุก (กฎ) น. หมายอาญาที่ศาลสั่งให้จําคุกผู้ต้องคําพิพากษาให้จําคุกหรือประหารชีวิต.
หมายใจ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน เป็นคำกริยา หมายถึง ปองไว้, มุ่งหวังไว้, คาดไว้.หมายใจ ก. ปองไว้, มุ่งหวังไว้, คาดไว้.
หมายตัว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง กําหนดตัวไว้.หมายตัว ก. กําหนดตัวไว้.
หมายตา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง มองไว้ด้วยความมั่นหมาย, มั่นหมายใจไว้.หมายตา ก. มองไว้ด้วยความมั่นหมาย, มั่นหมายใจไว้.
หมายน้ำบ่อหน้า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งหวังจะได้สิ่งที่ยังมาไม่ถึง.หมายน้ำบ่อหน้า (สำ) ก. มุ่งหวังจะได้สิ่งที่ยังมาไม่ถึง.
หมายบังคับคดี เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หมายที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษายื่นคำขอต่อศาลเพื่อให้มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล.หมายบังคับคดี (กฎ) น. หมายที่เจ้าหนี้ตามคำพิพากษายื่นคำขอต่อศาลเพื่อให้มีการบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล.
หมายปล่อย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หมายอาญาที่ศาลสั่งให้ปล่อยตัวบุคคลที่ต้องขังหรือจําคุกตามหมายศาล.หมายปล่อย (กฎ) น. หมายอาญาที่ศาลสั่งให้ปล่อยตัวบุคคลที่ต้องขังหรือจําคุกตามหมายศาล.
หมายมั่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งหมายอย่างแน่วแน่, มั่นหมาย ก็ว่า.หมายมั่น ก. มุ่งหมายอย่างแน่วแน่, มั่นหมาย ก็ว่า.
หมายมั่นปั้นมือ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่งมั่นจะเอาหรือจะเป็นให้ได้.หมายมั่นปั้นมือ (สำ) ก. มุ่งมั่นจะเอาหรือจะเป็นให้ได้.
หมายยา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ฉลากยา.หมายยา น. ฉลากยา.
หมายรับสั่ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หมายที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสั่งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการพระราชพิธีเป็นการภายในตอนล่างสุดของหมายเขียนว่า “ทั้งนี้ให้จัดการตามหน้าที่และกำหนดวันตามรับสั่งอย่าให้ขาดเหลือ ถ้าสงสัยให้ถามผู้รับรับสั่งโดยหน้าที่ราชการ”.หมายรับสั่ง น. หมายที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสั่งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการพระราชพิธีเป็นการภายในตอนล่างสุดของหมายเขียนว่า “ทั้งนี้ให้จัดการตามหน้าที่และกำหนดวันตามรับสั่งอย่าให้ขาดเหลือ ถ้าสงสัยให้ถามผู้รับรับสั่งโดยหน้าที่ราชการ”.
หมายเรียก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ในคดีอาญา หมายถึง หมายสั่งให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาที่พนักงานสอบสวน หรือมาที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจชั้นผู้ใหญ่ หรือมาศาลเนื่องในการสอบสวน การไต่สวนมูลฟ้อง การพิจารณาคดีหรือการอย่างอื่น ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, ในคดีแพ่ง หมายถึง หมายซึ่งศาลออกเรียกบุคคลเข้ามาเป็นคู่ความในคดีแพ่ง หรือเรียกบุคคลมาเป็นพยาน หรือให้ส่งพยานหลักฐานให้ศาล; หมายที่นายอําเภอออกเรียกบุคคลที่เป็นทหารกองเกินมาตรวจเลือกเข้าเป็นทหารกองประจําการ.หมายเรียก (กฎ) น. ในคดีอาญา หมายถึง หมายสั่งให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งมาที่พนักงานสอบสวน หรือมาที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจชั้นผู้ใหญ่ หรือมาศาลเนื่องในการสอบสวน การไต่สวนมูลฟ้อง การพิจารณาคดีหรือการอย่างอื่น ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, ในคดีแพ่ง หมายถึง หมายซึ่งศาลออกเรียกบุคคลเข้ามาเป็นคู่ความในคดีแพ่ง หรือเรียกบุคคลมาเป็นพยาน หรือให้ส่งพยานหลักฐานให้ศาล; หมายที่นายอําเภอออกเรียกบุคคลที่เป็นทหารกองเกินมาตรวจเลือกเข้าเป็นทหารกองประจําการ.
หมายเลข เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่ เป็นคำนาม หมายถึง เลขลําดับ เช่น หมายเลขโทรศัพท์, ลําดับที่ เช่น ผู้ประกวดหมายเลข ๑.หมายเลข น. เลขลําดับ เช่น หมายเลขโทรศัพท์, ลําดับที่ เช่น ผู้ประกวดหมายเลข ๑.
หมายหน้า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ประมาทหน้า, ดูถูก, เช่น หมายหน้าไว้ว่าจะต้องสอบตกแน่ ๆ; ตราหน้า เช่น เขาถูกหมายหน้าว่าเป็นคนไม่ดี.หมายหน้า ก. ประมาทหน้า, ดูถูก, เช่น หมายหน้าไว้ว่าจะต้องสอบตกแน่ ๆ; ตราหน้า เช่น เขาถูกหมายหน้าว่าเป็นคนไม่ดี.
หมายหัว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง จดจำไว้ด้วยความประสงค์ร้าย เช่น เขาถูกพวกนักเลงหมายหัวไว้ว่าจะต้องหาทางกำจัดให้ได้, คาดหมายไว้ว่าจะเป็นไปในทางไม่ดี เช่น เด็กคนนี้ถูกหมายหัวไว้ว่าจะต้องสอบตกแน่ ๆ.หมายหัว ก. จดจำไว้ด้วยความประสงค์ร้าย เช่น เขาถูกพวกนักเลงหมายหัวไว้ว่าจะต้องหาทางกำจัดให้ได้, คาดหมายไว้ว่าจะเป็นไปในทางไม่ดี เช่น เด็กคนนี้ถูกหมายหัวไว้ว่าจะต้องสอบตกแน่ ๆ.
หมายเหตุ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง คำอธิบาย ข้อความ หรือข้อมูลเพิ่มเติม.หมายเหตุ น. คำอธิบาย ข้อความ หรือข้อมูลเพิ่มเติม.
หมายอาญา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือบงการซึ่งออกตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สั่งให้เจ้าหน้าที่จับ ขัง จําคุก หรือปล่อยผู้ต้องหา จําเลยหรือนักโทษ หรือให้ทําการค้น รวมทั้งสําเนาหมายเช่นนี้อันได้รับรองว่าถูกต้อง และคําบอกกล่าวทางโทรเลขว่าได้ออกหมายจับแล้วด้วย.หมายอาญา (กฎ) น. หนังสือบงการซึ่งออกตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สั่งให้เจ้าหน้าที่จับ ขัง จําคุก หรือปล่อยผู้ต้องหา จําเลยหรือนักโทษ หรือให้ทําการค้น รวมทั้งสําเนาหมายเช่นนี้อันได้รับรองว่าถูกต้อง และคําบอกกล่าวทางโทรเลขว่าได้ออกหมายจับแล้วด้วย.
หม้าย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ม่าย.หม้าย ๑ ว. ม่าย.
หม้าย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ดู กระดูกค่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู.หม้าย ๒ ดู กระดูกค่าง.
หมาร่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อต่อหลายชนิดในวงศ์ Sphecidae ใช้ดินเหนียวทํารังขนาดกําปั้นหรือเล็กกว่าติดตามฝ้า คาน เสาบ้าน หรือบริเวณที่ร่มอื่น ๆ ในรังมีหนอนหรือเหยื่อที่ถูกต่อยให้สลบเพื่อเป็นอาหารของลูกอ่อน เช่น ชนิด Eumenes petiolata.หมาร่า น. ชื่อต่อหลายชนิดในวงศ์ Sphecidae ใช้ดินเหนียวทํารังขนาดกําปั้นหรือเล็กกว่าติดตามฝ้า คาน เสาบ้าน หรือบริเวณที่ร่มอื่น ๆ ในรังมีหนอนหรือเหยื่อที่ถูกต่อยให้สลบเพื่อเป็นอาหารของลูกอ่อน เช่น ชนิด Eumenes petiolata.
หม่ำ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กิน (มักใช้แก่เด็กทารก).หม่ำ (ปาก) ก. กิน (มักใช้แก่เด็กทารก).
หม้ำ, หม้ำตับ หม้ำ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ หม้ำตับ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ใช้ตับวัวหรือควายสับให้ละเอียด คลุกข้าวสุก เกลือและเครื่องหอมขยําให้เข้ากันแล้วยัดในไส้หมู, นํ้าตับ ก็เรียก.หม้ำ, หม้ำตับ (ถิ่น–อีสาน) น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ใช้ตับวัวหรือควายสับให้ละเอียด คลุกข้าวสุก เกลือและเครื่องหอมขยําให้เข้ากันแล้วยัดในไส้หมู, นํ้าตับ ก็เรียก.
หมิ่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาท่าทาง พูดจา หรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะต่ำต้อยหรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, ดูหมิ่น หรือ ดูหมิ่นถิ่นแคลน ก็ว่า.หมิ่น ๑ ก. แสดงกิริยาท่าทาง พูดจา หรือเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร เป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะต่ำต้อยหรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, ดูหมิ่น หรือ ดูหมิ่นถิ่นแคลน ก็ว่า.
หมิ่นประมาท เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาวาจาดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อความผิดทางอาญาฐานใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทําให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง.หมิ่นประมาท ก. แสดงกิริยาวาจาดูถูกเหยียดหยามผู้อื่น. (กฎ) น. ชื่อความผิดทางอาญาฐานใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะทําให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง.
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน[หฺมิ่นพฺระบอรมมะเดชานุพาบ] เป็นคำกริยา หมายถึง กระทําการอันเป็นการหมิ่นประมาทหรือดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์.หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ [หฺมิ่นพฺระบอรมมะเดชานุพาบ] ก. กระทําการอันเป็นการหมิ่นประมาทหรือดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์.
หมิ่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ในที่เกือบตก เกือบพลาดตก.หมิ่น ๒ ว. ในที่เกือบตก เกือบพลาดตก.
หมิ่นเหม่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เข้าไปหรืออยู่ในสถานที่หรือสถานการณ์ใกล้อันตรายหรือเสียหายเป็นต้น, ล่อแหลม.หมิ่นเหม่ ว. อาการที่เข้าไปหรืออยู่ในสถานที่หรือสถานการณ์ใกล้อันตรายหรือเสียหายเป็นต้น, ล่อแหลม.
หมี เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Ursidae ตาและใบหูกลมเล็ก ริมฝีปากยื่นแยกห่างออกจากเหงือกสามารถยืนและเดินด้วยขาหลังได้ ประสาทการดมกลิ่นดีกว่าประสาทตาและหู กินพืชและสัตว์ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ หมีควาย (Selenarctos thibetanus) ตัวใหญ่ ขนยาวดํา ที่อกมีขนสีขาว รูปง่าม และ หมีหมา หรือ หมีคน (Helarctos malayanus) ตัวเล็กกว่าหมีควาย ขนสั้นดํา ที่อกมีขนสีขาวรูปคล้ายเกือกม้า.หมี น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Ursidae ตาและใบหูกลมเล็ก ริมฝีปากยื่นแยกห่างออกจากเหงือกสามารถยืนและเดินด้วยขาหลังได้ ประสาทการดมกลิ่นดีกว่าประสาทตาและหู กินพืชและสัตว์ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิด คือ หมีควาย (Selenarctos thibetanus) ตัวใหญ่ ขนยาวดํา ที่อกมีขนสีขาว รูปง่าม และ หมีหมา หรือ หมีคน (Helarctos malayanus) ตัวเล็กกว่าหมีควาย ขนสั้นดํา ที่อกมีขนสีขาวรูปคล้ายเกือกม้า.
หมี่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแป้งข้าวเจ้าที่โรยเป็นเส้นลงในนํ้าเดือดพอสุกแล้วนํามาตากแห้งว่า เส้นหมี่, ชื่ออาหารประเภทหนึ่งที่ทําด้วยเส้นหมี่ เช่น หมี่กรอบ หมี่กะทิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .หมี่ ๑ น. เรียกแป้งข้าวเจ้าที่โรยเป็นเส้นลงในนํ้าเดือดพอสุกแล้วนํามาตากแห้งว่า เส้นหมี่, ชื่ออาหารประเภทหนึ่งที่ทําด้วยเส้นหมี่ เช่น หมี่กรอบ หมี่กะทิ. (จ.).
หมี่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผ้าชนิดหนึ่ง ทอโดยเอาเชือกมัดด้ายหรือไหมเป็นเปลาะ ๆ ตามลาย แล้วย้อมสี เมื่อทอแล้วจะได้ลวดลายต่าง ๆ ตามที่มัดไว้, ผ้ามัดหมี่ ก็เรียก.หมี่ ๒ น. ชื่อผ้าชนิดหนึ่ง ทอโดยเอาเชือกมัดด้ายหรือไหมเป็นเปลาะ ๆ ตามลาย แล้วย้อมสี เมื่อทอแล้วจะได้ลวดลายต่าง ๆ ตามที่มัดไว้, ผ้ามัดหมี่ ก็เรียก.
หมีเหม็น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Litsea glutinosa (Lour.) C.B. Rob. ในวงศ์ Lauraceae ใบรูปรี มีขนนุ่ม ดอกสีเหลืองอ่อน.หมีเหม็น น. ชื่อไม้ต้นชนิด Litsea glutinosa (Lour.) C.B. Rob. ในวงศ์ Lauraceae ใบรูปรี มีขนนุ่ม ดอกสีเหลืองอ่อน.
หมึก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าที่ใช้ในการขีดเขียน ตามปรกติมีสีดําจัด จึงใช้เปรียบกับของดำว่า ดำเป็นหมึก, น้ำหมึก ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ; โดยปริยายหมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ขีดเขียนหรือพิมพ์หนังสือเป็นต้น เช่น หมึกแดง หมึกแห้ง หมึกพิมพ์ หมึกพิมพ์ลายมือ.หมึก ๑ น. นํ้าที่ใช้ในการขีดเขียน ตามปรกติมีสีดําจัด จึงใช้เปรียบกับของดำว่า ดำเป็นหมึก, น้ำหมึก ก็ว่า. (จ.); โดยปริยายหมายถึงสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ขีดเขียนหรือพิมพ์หนังสือเป็นต้น เช่น หมึกแดง หมึกแห้ง หมึกพิมพ์ หมึกพิมพ์ลายมือ.
หมึกจีน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แท่งหมึกสีดำ ก่อนใช้ต้องฝนกับน้ำ แล้วใช้พู่กันป้ายเขียน.หมึกจีน น. แท่งหมึกสีดำ ก่อนใช้ต้องฝนกับน้ำ แล้วใช้พู่กันป้ายเขียน.
หมึก เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ดู ปลาหมึก เขียนว่า ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่.หมึก ๒ ดู ปลาหมึก.
หมืน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นผื่นขึ้นมาก ๆ ตามผิวเนื้อ.หมืน (ถิ่น–พายัพ) ก. เป็นผื่นขึ้นมาก ๆ ตามผิวเนื้อ.
หมื่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จํานวนนับเท่ากับ ๑๐ พัน.หมื่น ๑ ว. จํานวนนับเท่ากับ ๑๐ พัน.
หมื่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อบรรดาศักดิ์ในราชการ เหนือพันขึ้นไป.หมื่น ๒ (โบ) น. ชื่อบรรดาศักดิ์ในราชการ เหนือพันขึ้นไป.
หมื่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทะลึ่ง, ทะเล้น.หมื่น ๓ (ปาก) ว. ทะลึ่ง, ทะเล้น.
หมุด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับตรึงหรืออุดรู; เรียกเข็มที่หัวเป็นปุ่ม ใช้กลัดกระดาษหรือผ้าเป็นต้น ว่า เข็มหมุด; ผ้ากอซที่ใช้สอดเข้าไปในโพรงฝีเป็นต้นเพื่อซับของเหลวภายใน.หมุด น. เครื่องสําหรับตรึงหรืออุดรู; เรียกเข็มที่หัวเป็นปุ่ม ใช้กลัดกระดาษหรือผ้าเป็นต้น ว่า เข็มหมุด; ผ้ากอซที่ใช้สอดเข้าไปในโพรงฝีเป็นต้นเพื่อซับของเหลวภายใน.
หมุน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หันเวียนไปในแนวโค้ง เช่น โลกหมุน, ทําให้หันเวียนไปในแนวโค้ง เช่น หมุนเข็มนาฬิกา, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง นำสิ่งของไปจำนำหรือขายเพื่อเอาเงินมาใช้.หมุน ก. หันเวียนไปในแนวโค้ง เช่น โลกหมุน, ทําให้หันเวียนไปในแนวโค้ง เช่น หมุนเข็มนาฬิกา, (ปาก) นำสิ่งของไปจำนำหรือขายเพื่อเอาเงินมาใช้.
หมุนเงิน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เงินเปลี่ยนมือโดยวิธีให้กู้หรือลงทุนเป็นต้นเพื่อมุ่งผลประโยชน์.หมุนเงิน ก. ทําให้เงินเปลี่ยนมือโดยวิธีให้กู้หรือลงทุนเป็นต้นเพื่อมุ่งผลประโยชน์.
หมุนเวียน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เวียนไป, เปลี่ยนมือไป.หมุนเวียน ก. เวียนไป, เปลี่ยนมือไป.
หมุบ, หมุบ ๆ หมุบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ หมุบ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก [หฺมุบ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หยิบ กัด หรือเคี้ยวโดยเร็ว เช่น พอได้โอกาสก็คว้าหมุบ ปลาฮุบเหยื่อหมุบ ๆ.หมุบ, หมุบ ๆ [หฺมุบ] ว. อาการที่หยิบ กัด หรือเคี้ยวโดยเร็ว เช่น พอได้โอกาสก็คว้าหมุบ ปลาฮุบเหยื่อหมุบ ๆ.
หมุบหมับ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หยิบฉวยหรือกินโดยเร็ว เช่น แย่งกันกินหมุบหมับ, บางทีก็ใช้แยกกัน เช่นคว้าคนละหมุบคนละหมับ.หมุบหมับ ว. อาการที่หยิบฉวยหรือกินโดยเร็ว เช่น แย่งกันกินหมุบหมับ, บางทีก็ใช้แยกกัน เช่นคว้าคนละหมุบคนละหมับ.
หมุบหมิบ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ริมฝีปากเผยอขึ้นและหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากที่พูดอย่างไม่ออกเสียง เช่น ทำปากหมุบหมิบ สวดมนต์หมุบหมิบ, ขมุบขมิบ ก็ว่า.หมุบหมิบ ว. อาการที่ริมฝีปากเผยอขึ้นและหุบลงโดยเร็ว, อาการของปากที่พูดอย่างไม่ออกเสียง เช่น ทำปากหมุบหมิบ สวดมนต์หมุบหมิบ, ขมุบขมิบ ก็ว่า.
หมุ่ย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงฆ้อง, มุย ก็ว่า.หมุ่ย ว. เสียงอย่างเสียงฆ้อง, มุย ก็ว่า.
หมุยขาว เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวนดู กระเบียน เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู (๒).หมุยขาว ดู กระเบียน (๒).
หมู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดในวงศ์ Suidae เป็นสัตว์กีบคู่ ตัวอ้วน จมูกและปากยื่นยาว มีทั้งที่เป็นสัตว์เลี้ยงและที่เป็นสัตว์ป่า หาอาหารโดยใช้จมูกดุด; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง บุคคลที่อาจหลอกหรือเอาชนะได้ง่าย เช่น นักมวยต่างประเทศคนนี้อย่าไปคิดว่าหมูนะ.หมู ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดในวงศ์ Suidae เป็นสัตว์กีบคู่ ตัวอ้วน จมูกและปากยื่นยาว มีทั้งที่เป็นสัตว์เลี้ยงและที่เป็นสัตว์ป่า หาอาหารโดยใช้จมูกดุด; (ปาก) บุคคลที่อาจหลอกหรือเอาชนะได้ง่าย เช่น นักมวยต่างประเทศคนนี้อย่าไปคิดว่าหมูนะ.
หมูเขาจะหามเอาคานเข้าไปสอด เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่เข้าไปขัดขวางขณะที่ผู้อื่นทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งกําลังจะสําเร็จ.หมูเขาจะหามเอาคานเข้าไปสอด (สำ) น. คนที่เข้าไปขัดขวางขณะที่ผู้อื่นทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งกําลังจะสําเร็จ.
หมูเขี้ยวตัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่คิดว่าจะหลอกหรือเอาชนะได้ง่าย ๆ แต่กลับปรากฏว่าตรงกันข้าม เช่น นักมวยที่สั่งมาชกโดยคิดว่าจะเป็นหมู กลับกลายเป็นหมูเขี้ยวตันไป.หมูเขี้ยวตัน (ปาก) น. บุคคลที่คิดว่าจะหลอกหรือเอาชนะได้ง่าย ๆ แต่กลับปรากฏว่าตรงกันข้าม เช่น นักมวยที่สั่งมาชกโดยคิดว่าจะเป็นหมู กลับกลายเป็นหมูเขี้ยวตันไป.
หมูแดง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหมูคลุกนํ้าซีอิ๊วหรือเต้าหู้ยี้เป็นต้นแล้วย่างให้สุกระอุ.หมูแดง น. เนื้อหมูคลุกนํ้าซีอิ๊วหรือเต้าหู้ยี้เป็นต้นแล้วย่างให้สุกระอุ.
หมูตั้ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทําด้วยหัวหมู หูหมู หนังหมู แล่เป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมเครื่องปรุงแล้วเคี่ยวให้เข้ากัน อัดเป็นแท่งแข็ง เวลากินหั่นเป็นชิ้น ๆ จิ้มนํ้าจิ้มหรือยำเป็นต้น.หมูตั้ง น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทําด้วยหัวหมู หูหมู หนังหมู แล่เป็นชิ้นเล็ก ๆ ผสมเครื่องปรุงแล้วเคี่ยวให้เข้ากัน อัดเป็นแท่งแข็ง เวลากินหั่นเป็นชิ้น ๆ จิ้มนํ้าจิ้มหรือยำเป็นต้น.
หมูเทโพ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงคั่วส้มชนิดหนึ่ง ใช้หมูแทนปลาแกงกับผักบุ้งเป็นต้น.หมูเทโพ น. ชื่อแกงคั่วส้มชนิดหนึ่ง ใช้หมูแทนปลาแกงกับผักบุ้งเป็นต้น.
หมูแนม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารว่าง มีหลายแบบ เช่น หมูแนมสด (แบบปลาแนม) หมูแนมแข็ง หมูแนมญวน, หมูแนมสดทำด้วยเนื้อหมูไม่ติดมันบดหรือโขลกรวมกับข่าและแป้งแดงจีน ทำให้สุกด้วยการผัดในน้ำสะเออะให้เนื้อหมูกระจายแล้วผสมด้วยมันหมูแข็งและหนังหมูต้มสุกหั่นชิ้นเล็ก ๆ ยาว ๆ ข้าวคั่วป่นเป็นต้น ปรุงรสเปรี้ยว เค็มและหวาน รับประทานกับผักสด เช่น ใบทองหลาง ใบผักกาดหอม, หมูแนมแข็งต้องห่อหมูที่โขลกหรือบดและผสมเครื่องปรุงแล้วด้วยใบทองหลางที่ซ้อนบนใบตอง มัดแน่น เก็บไว้ ๓ วัน จึงปิ้งทั้งห่อ แกะออกรับประทานกับผักและน้ำจิ้ม หรือรับประทานแบบเมี่ยงเครื่องสด, หมูแนมญวนใช้เนื้อหมูล้วนสับ ใส่เกลือรวนให้สุก ใส่ยอดสะระแหน่และแตงกวาหั่น แล้วห่อด้วยข้าวเกรียบแก้ว ตัดเป็นคำ ๆ รับประทานกับน้ำจิ้มและผักต่าง ๆ.หมูแนม น. ชื่ออาหารว่าง มีหลายแบบ เช่น หมูแนมสด (แบบปลาแนม) หมูแนมแข็ง หมูแนมญวน, หมูแนมสดทำด้วยเนื้อหมูไม่ติดมันบดหรือโขลกรวมกับข่าและแป้งแดงจีน ทำให้สุกด้วยการผัดในน้ำสะเออะให้เนื้อหมูกระจายแล้วผสมด้วยมันหมูแข็งและหนังหมูต้มสุกหั่นชิ้นเล็ก ๆ ยาว ๆ ข้าวคั่วป่นเป็นต้น ปรุงรสเปรี้ยว เค็มและหวาน รับประทานกับผักสด เช่น ใบทองหลาง ใบผักกาดหอม, หมูแนมแข็งต้องห่อหมูที่โขลกหรือบดและผสมเครื่องปรุงแล้วด้วยใบทองหลางที่ซ้อนบนใบตอง มัดแน่น เก็บไว้ ๓ วัน จึงปิ้งทั้งห่อ แกะออกรับประทานกับผักและน้ำจิ้ม หรือรับประทานแบบเมี่ยงเครื่องสด, หมูแนมญวนใช้เนื้อหมูล้วนสับ ใส่เกลือรวนให้สุก ใส่ยอดสะระแหน่และแตงกวาหั่น แล้วห่อด้วยข้าวเกรียบแก้ว ตัดเป็นคำ ๆ รับประทานกับน้ำจิ้มและผักต่าง ๆ.
หมูในเล้า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่อยู่ในเงื้อมมือ.หมูในเล้า (สำ) น. สิ่งที่อยู่ในเงื้อมมือ.
หมูในอวย เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่อยู่ในกํามือ.หมูในอวย (สำ) น. สิ่งที่อยู่ในกํามือ.
หมูป่า เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมูซึ่งเป็นต้นกําเนิดของหมูบ้าน รูปร่างลักษณะคล้ายหมูบ้าน แต่ปากและจมูกยื่นยาวกว่าปลายบานใช้สําหรับดุดดิน ลําตัวมีขนดกหยาบสีดํา ๆ ขนแผงคอยาว ตัวผู้มีเขี้ยวใหญ่ยื่นยาวพ้นปาก กินพืช ลูกอ่อนสีนํ้าตาลอ่อน มีลายขาวเป็นทางตามยาว ในประเทศไทยเป็นชนิด Sus scrofa พบในป่าทุกภาค.หมูป่า น. ชื่อหมูซึ่งเป็นต้นกําเนิดของหมูบ้าน รูปร่างลักษณะคล้ายหมูบ้าน แต่ปากและจมูกยื่นยาวกว่าปลายบานใช้สําหรับดุดดิน ลําตัวมีขนดกหยาบสีดํา ๆ ขนแผงคอยาว ตัวผู้มีเขี้ยวใหญ่ยื่นยาวพ้นปาก กินพืช ลูกอ่อนสีนํ้าตาลอ่อน มีลายขาวเป็นทางตามยาว ในประเทศไทยเป็นชนิด Sus scrofa พบในป่าทุกภาค.
หมูไปไก่มา เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ลักษณะของการถ้อยทีถ้อยอาศัยกันด้วยการให้สิ่งของแลกเปลี่ยนหรือตอบแทนซึ่งกันและกันเป็นต้น.หมูไปไก่มา (สำ) ลักษณะของการถ้อยทีถ้อยอาศัยกันด้วยการให้สิ่งของแลกเปลี่ยนหรือตอบแทนซึ่งกันและกันเป็นต้น.
หมูแผ่น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ของกินทําด้วยเนื้อหมูแล่เป็นแผ่นบาง ๆ ปรุงรส ผึ่งแดดให้แห้ง แล้วปิ้งให้สุก.หมูแผ่น น. ของกินทําด้วยเนื้อหมูแล่เป็นแผ่นบาง ๆ ปรุงรส ผึ่งแดดให้แห้ง แล้วปิ้งให้สุก.
หมูยอ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ของกินทําด้วยเนื้อหมูผสมเครื่องปรุงบดแล้วอัดเป็นแท่ง และนึ่งให้สุก.หมูยอ น. ของกินทําด้วยเนื้อหมูผสมเครื่องปรุงบดแล้วอัดเป็นแท่ง และนึ่งให้สุก.
หมูสามชั้น เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหมูส่วนท้องที่ชําแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อ.หมูสามชั้น น. เนื้อหมูส่วนท้องที่ชําแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อ.
หมูหย็อง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ของกินทำด้วยหมูเนื้อแดงปรุงรส ต้มเคี่ยวให้เปื่อยจนงวด นำไปผัดจนแห้ง ขยี้ให้เป็นฝอย.หมูหย็อง น. ของกินทำด้วยหมูเนื้อแดงปรุงรส ต้มเคี่ยวให้เปื่อยจนงวด นำไปผัดจนแห้ง ขยี้ให้เป็นฝอย.
หมูหัน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ลูกหมูผ่าเอาเครื่องในออก เสียบเหล็กหมุนย่างจนหนังสุกกรอบ.หมูหัน น. ลูกหมูผ่าเอาเครื่องในออก เสียบเหล็กหมุนย่างจนหนังสุกกรอบ.
หมูแฮม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-ฮอ-นก-ฮูก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ขาหลังของหมูแช่น้ำเกลือแล้วรมควัน, แฮม ก็ว่า.หมูแฮม น. ขาหลังของหมูแช่น้ำเกลือแล้วรมควัน, แฮม ก็ว่า.
หมู ๒, หมู ๆ หมู ความหมายที่ ๒ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู หมู ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ไม้-ยะ-มก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ง่าย, สะดวก, เช่น วิชาคำนวณสำหรับเขาแล้วหมูมาก เขาเลือกทำแต่งานหมู ๆ.หมู ๒, หมู ๆ (ปาก) ว. ง่าย, สะดวก, เช่น วิชาคำนวณสำหรับเขาแล้วหมูมาก เขาเลือกทำแต่งานหมู ๆ.
หมูสนาม เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลที่ด้อยฝีมือหรือมีเล่ห์เหลี่ยมไหวพริบไม่ทันผู้อื่น.หมูสนาม น. บุคคลหรือคณะบุคคลที่ด้อยฝีมือหรือมีเล่ห์เหลี่ยมไหวพริบไม่ทันผู้อื่น.
หมู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Botia วงศ์ Cobitidae ลําตัวยาว แบนข้าง คอดหางใหญ่ มีหนวด ๓ คู่ หนังหนาคลุมเกล็ดมิด มีเขี้ยวพับเก็บได้ในร่องบริเวณด้านหน้าของตา เช่น หมูขาว (B. modesta) หมูลาย (B. hymenophysa). (๒) ดู ซ่อนทราย เขียนว่า ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก (๑).หมู ๓ น. (๑) ชื่อปลานํ้าจืดในสกุล Botia วงศ์ Cobitidae ลําตัวยาว แบนข้าง คอดหางใหญ่ มีหนวด ๓ คู่ หนังหนาคลุมเกล็ดมิด มีเขี้ยวพับเก็บได้ในร่องบริเวณด้านหน้าของตา เช่น หมูขาว (B. modesta) หมูลาย (B. hymenophysa). (๒) ดู ซ่อนทราย (๑).
หมู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ใบพลูสดหั่นผสมฝิ่นแล้วนํามาสูบ.หมู ๔ (ปาก) น. ใบพลูสดหั่นผสมฝิ่นแล้วนํามาสูบ.
หมู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเรือขุดชนิดเล็ก ลักษณะคล้ายเรือพายม้า แต่หัวจะเรียวเล็กกว่าเรือพายม้ามาก ว่า เรือหมู.หมู ๕ น. เรียกเรือขุดชนิดเล็ก ลักษณะคล้ายเรือพายม้า แต่หัวจะเรียวเล็กกว่าเรือพายม้ามาก ว่า เรือหมู.
หมู เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขวานชนิดหนึ่ง ด้ามสั้น สันหนา ใช้ตัด ถาก และฟัน.หมู ๖ น. ชื่อขวานชนิดหนึ่ง ด้ามสั้น สันหนา ใช้ตัด ถาก และฟัน.
หมู่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มชนิดเดียวกัน เช่น หมู่ดาว หมู่เมฆ, พวกชนิดเดียวกัน เช่น หมู่มนุษย์ หมู่โจร; กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น มีจำนวนไม่เกิน ๑๐ คน มีหัวหน้าเรียกว่า ผู้บังคับหมู่ หรือทั่ว ๆ ไปเรียกว่า ผู้หมู่, ถ้าเป็นทหารบกหรือตำรวจจะต้องมียศเป็นนายสิบ, ถ้าเป็นทหารเรือหรือทหารอากาศจะต้องมียศเป็นจ่า.หมู่ ๑ น. กลุ่มชนิดเดียวกัน เช่น หมู่ดาว หมู่เมฆ, พวกชนิดเดียวกัน เช่น หมู่มนุษย์ หมู่โจร; กำลังพลของทหาร ตำรวจ เป็นต้น มีจำนวนไม่เกิน ๑๐ คน มีหัวหน้าเรียกว่า ผู้บังคับหมู่ หรือทั่ว ๆ ไปเรียกว่า ผู้หมู่, ถ้าเป็นทหารบกหรือตำรวจจะต้องมียศเป็นนายสิบ, ถ้าเป็นทหารเรือหรือทหารอากาศจะต้องมียศเป็นจ่า.
หมู่บ้าน เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ท้องที่ที่รวมบ้านหลายบ้านให้อยู่ในความปกครองอันเดียวกัน และมีประกาศจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านเป็นหัวหน้าปกครอง.หมู่บ้าน (กฎ) น. ท้องที่ที่รวมบ้านหลายบ้านให้อยู่ในความปกครองอันเดียวกัน และมีประกาศจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน มีผู้ใหญ่บ้านเป็นหัวหน้าปกครอง.
หมู่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ระยะเวลา เช่น หมู่นี้สุขภาพไม่ค่อยดี หมู่นั้นไม่ว่าง.หมู่ ๒ น. ระยะเวลา เช่น หมู่นี้สุขภาพไม่ค่อยดี หมู่นั้นไม่ว่าง.
หมู่ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ ดู คอแดง เขียนว่า คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู.หมู่ ๓ ดู คอแดง.
หมูน้ำ เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำดู พะยูน เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-นอ-หนู.หมูน้ำ ดู พะยูน.
หมูสี เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะพร้าวพันธุ์หนึ่งของชนิด Cocos nucifera L. มี ๒ พันธุ์ย่อย คือ หมูสีหม้อ ต้นขนาดกลาง และหมูสีเล็ก ต้นขนาดเล็ก.หมูสี ๑ น. ชื่อมะพร้าวพันธุ์หนึ่งของชนิด Cocos nucifera L. มี ๒ พันธุ์ย่อย คือ หมูสีหม้อ ต้นขนาดกลาง และหมูสีเล็ก ต้นขนาดเล็ก.
หมูสี เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตาไม้เสาเรือนที่สูงจากพื้นดินประมาณศอกหนึ่ง ถือว่าเป็นเสามีลักษณะไม่ดี; เรียกจอมปลวกขนาดย่อมที่ขึ้นใต้ถุนบ้านว่า ปลวกหมูสี.หมูสี ๒ น. เรียกตาไม้เสาเรือนที่สูงจากพื้นดินประมาณศอกหนึ่ง ถือว่าเป็นเสามีลักษณะไม่ดี; เรียกจอมปลวกขนาดย่อมที่ขึ้นใต้ถุนบ้านว่า ปลวกหมูสี.
หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง หมูหริ่ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู หมูหรึ่ง เขียนว่า หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Arctonyx collaris ในวงศ์ Mustelidae ขนบนลําตัวมีแถบขาวพาดจากจมูกไปถึงบนหัว จมูกคล้ายหมู หางสั้น ขนใต้คอขาว เล็บยาวและคมมากใช้ขุดดินเพื่อหาอาหาร กินพืช ผลไม้ และสัตว์เล็ก ๆ.หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Arctonyx collaris ในวงศ์ Mustelidae ขนบนลําตัวมีแถบขาวพาดจากจมูกไปถึงบนหัว จมูกคล้ายหมู หางสั้น ขนใต้คอขาว เล็บยาวและคมมากใช้ขุดดินเพื่อหาอาหาร กินพืช ผลไม้ และสัตว์เล็ก ๆ.
หย–, หัย หย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก หัย เขียนว่า หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก [หะยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หย–, หัย [หะยะ–] น. ม้า. (ป., ส.).
หโยดม เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ม้าอย่างดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี หย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก + อุตฺตม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า .หโยดม น. ม้าอย่างดี. (ป. หย + อุตฺตม).
หยก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หินแก้วมีลักษณะแข็งเป็นสีต่าง ๆ ใช้ทําเครื่องประดับและเครื่องใช้เป็นต้น ถือว่าเป็นของมีราคา.หยก ๑ น. หินแก้วมีลักษณะแข็งเป็นสีต่าง ๆ ใช้ทําเครื่องประดับและเครื่องใช้เป็นต้น ถือว่าเป็นของมีราคา.
หยก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ยกขึ้นลงค่อย ๆ ในคําว่า หยกเบ็ด.หยก ๒ ก. ยกขึ้นลงค่อย ๆ ในคําว่า หยกเบ็ด.
หยก ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพิ่งทํามาเร็ว ๆ นี้, สด ๆ ร้อน ๆ, เช่น บอกอยู่หยก ๆ ไม่น่าลืมเลย มาถึงหยก ๆ โดนใช้งานเสียแล้ว.หยก ๆ ว. เพิ่งทํามาเร็ว ๆ นี้, สด ๆ ร้อน ๆ, เช่น บอกอยู่หยก ๆ ไม่น่าลืมเลย มาถึงหยก ๆ โดนใช้งานเสียแล้ว.
หย่ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สูงขึ้น เช่น หย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น หย่งฟาง หย่งผม หย่งเส้นบะหมี่, โหย่ง ก็ว่า.หย่ง ๑ ก. ทําให้สูงขึ้น เช่น หย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น หย่งฟาง หย่งผม หย่งเส้นบะหมี่, โหย่ง ก็ว่า.
หย่ง ๒, หย่ง ๆ หย่ง ความหมายที่ ๒ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู หย่ง ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตนสูงขึ้นหรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินหย่ง ๆ วิ่งหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าหย่ง หรือ รอยเท้าหย่ง ๆ, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งหย่ง หรือ นั่งหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่ง โหย่ง หรือ โหย่ง ๆ ก็ว่า.หย่ง ๒, หย่ง ๆ ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทําให้ตนสูงขึ้นหรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินหย่ง ๆ วิ่งหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าหย่ง หรือ รอยเท้าหย่ง ๆ, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งหย่ง หรือ นั่งหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่ง โหย่ง หรือ โหย่ง ๆ ก็ว่า.
หยด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ไหลหรือทําให้ไหลหลุดออกมาเป็นหยาด ๆ เช่น น้ำหยด. เป็นคำนาม หมายถึง หยาดของเหลวที่ไหลหลุดออกมา เช่น หยดน้ำ หยดหมึก, ลักษณนามใช้เรียกสิ่งที่ไหลหลุดออกมาเช่นนั้น เช่น นํ้าหยดหนึ่ง นํ้าหมึก ๒ หยด.หยด ก. ไหลหรือทําให้ไหลหลุดออกมาเป็นหยาด ๆ เช่น น้ำหยด. น. หยาดของเหลวที่ไหลหลุดออกมา เช่น หยดน้ำ หยดหมึก, ลักษณนามใช้เรียกสิ่งที่ไหลหลุดออกมาเช่นนั้น เช่น นํ้าหยดหนึ่ง นํ้าหมึก ๒ หยด.
หยดย้อย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไพเราะจับใจ เช่น สำนวนหยดย้อย, ชดช้อยอ่อนหวาน เช่น งามหยดย้อย.หยดย้อย ว. ไพเราะจับใจ เช่น สำนวนหยดย้อย, ชดช้อยอ่อนหวาน เช่น งามหยดย้อย.
หยวก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลําต้นกล้วย เช่น หั่นหยวกต้มกับรำให้หมูกิน, บางทีก็เรียกว่า หยวกกล้วย เช่น แพหยวกกล้วย, ส่วนในหรือแกนอ่อนของลำต้นเทียมของกล้วย มีสีขาว กินได้ เช่น ต้มหยวก แกงหยวก, กาบกล้วย ในคำว่า แทงหยวก; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ไม่แข็งแน่น เช่น มีดเล่มนี้คมมาก ตัดกิ่งไม้ได้ง่ายเหมือนฟันหยวก, ใช้เปรียบผิวที่ขาวมากว่า ขาวเหมือนหยวก.หยวก ๑ น. ลําต้นกล้วย เช่น หั่นหยวกต้มกับรำให้หมูกิน, บางทีก็เรียกว่า หยวกกล้วย เช่น แพหยวกกล้วย, ส่วนในหรือแกนอ่อนของลำต้นเทียมของกล้วย มีสีขาว กินได้ เช่น ต้มหยวก แกงหยวก, กาบกล้วย ในคำว่า แทงหยวก; (ปาก) ไม่แข็งแน่น เช่น มีดเล่มนี้คมมาก ตัดกิ่งไม้ได้ง่ายเหมือนฟันหยวก, ใช้เปรียบผิวที่ขาวมากว่า ขาวเหมือนหยวก.
หยวก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพริกพันธุ์หนึ่งของชนิด Capsicum annuum L. วงศ์ Solanaceae ผลใหญ่ป้อม เมื่ออ่อนสีเหลืองอมเขียว.หยวก ๒ น. ชื่อพริกพันธุ์หนึ่งของชนิด Capsicum annuum L. วงศ์ Solanaceae ผลใหญ่ป้อม เมื่ออ่อนสีเหลืองอมเขียว.
หยวบ, หยวบ ๆ หยวบ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ หยวบ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยวบ, ยวบ ๆ.หยวบ, หยวบ ๆ ว. ยวบ, ยวบ ๆ.
หยอก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เล่นหรือล้อไม่จริงจัง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ในประโยคปฏิเสธ หมายความว่า มาก เช่น เก่งไม่หยอก คือ เก่งมาก.หยอก ก. เล่นหรือล้อไม่จริงจัง. ว. ใช้ในประโยคปฏิเสธ หมายความว่า มาก เช่น เก่งไม่หยอก คือ เก่งมาก.
หยอกเย้า เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง สัพยอก, กระเซ้าเย้าแหย่, เย้าหยอก ก็ว่า.หยอกเย้า ก. สัพยอก, กระเซ้าเย้าแหย่, เย้าหยอก ก็ว่า.
หยอกเอิน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หยอกในทำนองชู้สาว.หยอกเอิน ก. หยอกในทำนองชู้สาว.
หย็อกหย็อย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะเป็นเส้นหยิก ๆ งอ ๆ อย่างผมเด็กเล็ก ๆ.หย็อกหย็อย ว. มีลักษณะเป็นเส้นหยิก ๆ งอ ๆ อย่างผมเด็กเล็ก ๆ.
หย็อง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กลัว, ไม่สู้, หวาดกลัว, เช่น พอเห็นคู่ต่อสู้ก็หย็องเสียแล้ว. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการหวาดกลัว เช่น พอถูกขู่เข้าหน่อยก็ทําท่าหย็อง.หย็อง ๑ ก. กลัว, ไม่สู้, หวาดกลัว, เช่น พอเห็นคู่ต่อสู้ก็หย็องเสียแล้ว. ว. มีอาการหวาดกลัว เช่น พอถูกขู่เข้าหน่อยก็ทําท่าหย็อง.
หย็อง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เป็นฝอยฟู ๆ เช่น เอาเนื้อหมูไปหย็อง, เรียกเนื้อหมูหรือเนื้อไก่ที่ทําให้เป็นฝอยฟู ๆ ว่า หมูหย็อง ไก่หย็อง.หย็อง ๒ ก. ทําให้เป็นฝอยฟู ๆ เช่น เอาเนื้อหมูไปหย็อง, เรียกเนื้อหมูหรือเนื้อไก่ที่ทําให้เป็นฝอยฟู ๆ ว่า หมูหย็อง ไก่หย็อง.
หย่อง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งสําหรับใส่หมากพลู มีรูปเหมือนถาดขอบสูง มีตีน โดยมากทําด้วยทองเหลือง; เครื่องรองรับไม้แม่กำพองประจำช่องหน้าต่าง; ส่วนประกอบของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น ซอสามสาย ซอด้วง ขิม ไวโอลิน ใช้รองรับสายเพื่อรับแรงสั่นสะเทือนจากสายลงสู่เครื่องดนตรีให้เสียงกังวานขึ้น, ส่วนประกอบของจะเข้ ใช้หนุนสายเพื่อมิให้แตะนมจะเข้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นั่งชันเข่าทั้ง ๒ ข้างโดยก้นไม่ถึงพื้น เรียกว่า นั่งหย่อง หรือ นั่งยอง ๆ.หย่อง น. สิ่งสําหรับใส่หมากพลู มีรูปเหมือนถาดขอบสูง มีตีน โดยมากทําด้วยทองเหลือง; เครื่องรองรับไม้แม่กำพองประจำช่องหน้าต่าง; ส่วนประกอบของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย เช่น ซอสามสาย ซอด้วง ขิม ไวโอลิน ใช้รองรับสายเพื่อรับแรงสั่นสะเทือนจากสายลงสู่เครื่องดนตรีให้เสียงกังวานขึ้น, ส่วนประกอบของจะเข้ ใช้หนุนสายเพื่อมิให้แตะนมจะเข้. ว. อาการที่นั่งชันเข่าทั้ง ๒ ข้างโดยก้นไม่ถึงพื้น เรียกว่า นั่งหย่อง หรือ นั่งยอง ๆ.
หย่อง ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหย่า ๆ (ใช้แก่กิริยาวิ่ง).หย่อง ๆ ว. เหย่า ๆ (ใช้แก่กิริยาวิ่ง).
หย็องกรอด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก[หฺย็องกฺรอด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซูบผอมมีท่าทางคล้ายคนอิดโรย.หย็องกรอด [หฺย็องกฺรอด] ว. ซูบผอมมีท่าทางคล้ายคนอิดโรย.
หย็องแหย็ง, หย็องแหย็ง ๆ หย็องแหย็ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู หย็องแหย็ง ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําท่าเล่น ๆ ไม่เอาจริงเอาจัง เช่น นักมวยคู่นี้มัวแต่เต้นหย็องแหย็ง ๆ ไม่ชกกันเสียที; ไม่มีท่าทาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น เต้นหย็องแหย็ง กระโดดหย็องแหย็ง ๆ.หย็องแหย็ง, หย็องแหย็ง ๆ ว. ทําท่าเล่น ๆ ไม่เอาจริงเอาจัง เช่น นักมวยคู่นี้มัวแต่เต้นหย็องแหย็ง ๆ ไม่ชกกันเสียที; ไม่มีท่าทาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น เต้นหย็องแหย็ง กระโดดหย็องแหย็ง ๆ.
หยอด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่ลงหรือเทลงคราวละน้อย ๆ; แถมคําชมหรือคําพูดคมคาย.หยอด ก. ใส่ลงหรือเทลงคราวละน้อย ๆ; แถมคําชมหรือคําพูดคมคาย.
หยอดหลุม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่ง โดยวิธีโยนสิ่งของเช่นสตางค์เป็นต้นลงหลุม.หยอดหลุม น. การเล่นชนิดหนึ่ง โดยวิธีโยนสิ่งของเช่นสตางค์เป็นต้นลงหลุม.
หยอน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง หวาดเสียว.หยอน ก. หวาดเสียว.
หย่อน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ตึง, ผ่อนไม่ให้ตึง, ค่อย ๆ ผ่อนลงมาจากที่สูง; ถอย เช่น หย่อนกําลัง, คลาย เช่น หย่อนอารมณ์, ทุเลา เช่น ลดหย่อน; เบาลง, น้อย, ไม่เต็ม, เช่น กิโลหย่อนไป ๒ ขีด บาทหย่อนสลึง หย่อนสมรรถภาพ.หย่อน ก. ไม่ตึง, ผ่อนไม่ให้ตึง, ค่อย ๆ ผ่อนลงมาจากที่สูง; ถอย เช่น หย่อนกําลัง, คลาย เช่น หย่อนอารมณ์, ทุเลา เช่น ลดหย่อน; เบาลง, น้อย, ไม่เต็ม, เช่น กิโลหย่อนไป ๒ ขีด บาทหย่อนสลึง หย่อนสมรรถภาพ.
หย่อนใจ, หย่อนอารมณ์ หย่อนใจ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน หย่อนอารมณ์ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง คลายอารมณ์, พักผ่อน.หย่อนใจ, หย่อนอารมณ์ ก. คลายอารมณ์, พักผ่อน.
หย่อม, หย่อม ๆ หย่อม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า หย่อม ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำนาม หมายถึง หมู่เล็ก ๆ, กองเล็ก ๆ, เช่น หญ้าขึ้นเป็นหย่อม ๆ.หย่อม, หย่อม ๆ น. หมู่เล็ก ๆ, กองเล็ก ๆ, เช่น หญ้าขึ้นเป็นหย่อม ๆ.
หย็อมแหย็ม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น มีหนวดหย็อมแหย็ม, กะหร็อมกะแหร็ม หรือ หร็อมแหร็ม ก็ว่า.หย็อมแหย็ม ว. มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น มีหนวดหย็อมแหย็ม, กะหร็อมกะแหร็ม หรือ หร็อมแหร็ม ก็ว่า.
หย็อย, หย็อย ๆ หย็อย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก หย็อย ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เต้นหรือกระโดดเร็ว ๆ เรียก เต้นหย็อย ๆ, อาการที่เคลื่อนไหวน้อย ๆ อย่างเร็ว เช่น วิ่งหย็อย ๆ โบกมือหย็อย ๆ ลมพัดผมปลิวหย็อย ๆ.หย็อย, หย็อย ๆ ว. อาการที่เต้นหรือกระโดดเร็ว ๆ เรียก เต้นหย็อย ๆ, อาการที่เคลื่อนไหวน้อย ๆ อย่างเร็ว เช่น วิ่งหย็อย ๆ โบกมือหย็อย ๆ ลมพัดผมปลิวหย็อย ๆ.
หย่อย, หย่อย ๆ หย่อย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก หย่อย ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรื่อย ๆ, บ่อย ๆ, เช่น มากันหย่อย ๆ ไม่ขาดสาย, น้อย ๆ เช่น ให้เงินทีละหย่อย.หย่อย, หย่อย ๆ ว. เรื่อย ๆ, บ่อย ๆ, เช่น มากันหย่อย ๆ ไม่ขาดสาย, น้อย ๆ เช่น ให้เงินทีละหย่อย.
หยัก, หยัก ๆ หยัก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ หยัก ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำกริยา หมายถึง เฉือนหรือควั่นให้เป็นรอยคอด, ทําให้เป็นรอยเป็นแง่, เช่น หยักไม้. เป็นคำนาม หมายถึง รอยควั่น, รอยคอด, เช่น ควั่นหัวเสาให้เป็นหยัก บากไม้ให้เป็นหยัก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด ๆ งอ ๆ เช่น เขียนเส้นหยัก ๆ.หยัก, หยัก ๆ ก. เฉือนหรือควั่นให้เป็นรอยคอด, ทําให้เป็นรอยเป็นแง่, เช่น หยักไม้. น. รอยควั่น, รอยคอด, เช่น ควั่นหัวเสาให้เป็นหยัก บากไม้ให้เป็นหยัก. ว. คด ๆ งอ ๆ เช่น เขียนเส้นหยัก ๆ.
หยักรั้ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการนุ่งผ้าถุงหรือผ้าโสร่งรั้งผ้าทางด้านข้างมาเหน็บเอวทั้ง ๒ ข้างให้ชายผ้าร่นสูงขึ้น.หยักรั้ง ว. อาการนุ่งผ้าถุงหรือผ้าโสร่งรั้งผ้าทางด้านข้างมาเหน็บเอวทั้ง ๒ ข้างให้ชายผ้าร่นสูงขึ้น.
หยักศก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่หยิกน้อย ๆ (ใช้แก่ผม).หยักศก ว. ที่หยิกน้อย ๆ (ใช้แก่ผม).
หยักไย่ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ยอ-ยัก-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง หยากไย่.หยักไย่ น. หยากไย่.
หยักเหยา เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา[หฺยักเหฺยา] เป็นคำกริยา หมายถึง จู้จี้, รบกวน.หยักเหยา [หฺยักเหฺยา] ก. จู้จี้, รบกวน.
หยัง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อะไร, ทําไม.หยัง (ถิ่น–อีสาน) ว. อะไร, ทําไม.
หยั่ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง วัดดูเพื่อให้รู้ตื้นลึก เช่น เอาถ่อหยั่งน้ำ, คาดคะเนดู เช่น หยั่งใจ.หยั่ง ก. วัดดูเพื่อให้รู้ตื้นลึก เช่น เอาถ่อหยั่งน้ำ, คาดคะเนดู เช่น หยั่งใจ.
หยั่งทราบ, หยั่งรู้ หยั่งทราบ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ หยั่งรู้ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง เล็งรู้ความจริง, ค้นหาเพื่อให้รู้ความจริง.หยั่งทราบ, หยั่งรู้ ก. เล็งรู้ความจริง, ค้นหาเพื่อให้รู้ความจริง.
หยั่งเสียง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ลองพูดหรือทําอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นหรือคนจำนวนมาก, ซาวเสียง ก็ว่า.หยั่งเสียง ก. ลองพูดหรือทําอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อฟังความคิดเห็นจากผู้อื่นหรือคนจำนวนมาก, ซาวเสียง ก็ว่า.
หยังหยัง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา .หยังหยัง ว. งาม. (ช.).
หยัด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ยืดเหยียดออก เช่น หยัดกาย; หยดลง, ตกลง, (ใช้แก่นํ้า).หยัด ก. ยืดเหยียดออก เช่น หยัดกาย; หยดลง, ตกลง, (ใช้แก่นํ้า).
หยัน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เยาะ, เย้ย.หยัน ก. เยาะ, เย้ย.
หยับ, หยับ ๆ หยับ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ หยับ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคี้ยวเนิบ ๆ เช่น คนแก่เคี้ยวหมากหยับ ๆ; อาการขึ้นลงเนิบ ๆ เช่น พายอ่อนหยับจับงามงอน (เห่เรือ); อาการที่หัวเรือโต้คลื่นเหยิบ ๆ.หยับ, หยับ ๆ ว. อาการที่เคี้ยวเนิบ ๆ เช่น คนแก่เคี้ยวหมากหยับ ๆ; อาการขึ้นลงเนิบ ๆ เช่น พายอ่อนหยับจับงามงอน (เห่เรือ); อาการที่หัวเรือโต้คลื่นเหยิบ ๆ.
หยั่วเมือง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณว่า แม่หยั่วเมือง, เขียนว่า อยั่วเมือง หรือ ยั่วเมือง ก็มี.หยั่วเมือง (โบ) ว. คําเรียกพระสนมเอกครั้งโบราณว่า แม่หยั่วเมือง, เขียนว่า อยั่วเมือง หรือ ยั่วเมือง ก็มี.
หย่า เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกเป็นผัวเมียกัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทําให้การสมรสสิ้นสุดลงโดยความยินยอมของคู่สมรสทั้ง ๒ ฝ่ายหรือโดยคําพิพากษาของศาล; เลิก เช่น หย่านม หย่าศึก.หย่า ก. เลิกเป็นผัวเมียกัน; (กฎ) ทําให้การสมรสสิ้นสุดลงโดยความยินยอมของคู่สมรสทั้ง ๒ ฝ่ายหรือโดยคําพิพากษาของศาล; เลิก เช่น หย่านม หย่าศึก.
หย่ากัน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่กินกัน (ใช้แก่คู่ขาการพนันบางชนิด) เช่น ในการเล่นไพ่ ๒ คนนั้นเขาหย่ากัน.หย่ากัน ก. ไม่กินกัน (ใช้แก่คู่ขาการพนันบางชนิด) เช่น ในการเล่นไพ่ ๒ คนนั้นเขาหย่ากัน.
หย่านม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง เลิกกินนมแม่ (ใช้แก่เด็กและลูกสัตว์), อดนม ก็ว่า.หย่านม ก. เลิกกินนมแม่ (ใช้แก่เด็กและลูกสัตว์), อดนม ก็ว่า.
หยากเยื่อ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว, มูลฝอย.หยากเยื่อ น. เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว, มูลฝอย.
หยากไย่ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ยอ-ยัก-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ใยแมงมุมที่ติดค้างอยู่ในที่ต่าง ๆ, หยักไย่ ก็ว่า.หยากไย่ น. ใยแมงมุมที่ติดค้างอยู่ในที่ต่าง ๆ, หยักไย่ ก็ว่า.
หยาด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง หยดลง. เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดฝนหรือนํ้าค้างเป็นต้นที่ไหลยืดหยดลง เช่น หยาดฝน หยาดน้ำค้าง หยาดเหงื่อ.หยาด ก. หยดลง. น. เม็ดฝนหรือนํ้าค้างเป็นต้นที่ไหลยืดหยดลง เช่น หยาดฝน หยาดน้ำค้าง หยาดเหงื่อ.
หยาดน้ำค้าง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้  °, นิคหิต หรือ นฤคหิต ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู นิคหิต เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า; ส่วนที่มีลักษณะกลม ๆ คล้ายเม็ดน้ำค้างอยู่ตรงปลายยอดเจดีย์ ยอดปราสาท เป็นต้น, เม็ดน้ำค้าง ก็เรียก.หยาดน้ำค้าง น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้  °, นิคหิต หรือ นฤคหิต ก็เรียก. (ดู นิคหิต); ส่วนที่มีลักษณะกลม ๆ คล้ายเม็ดน้ำค้างอยู่ตรงปลายยอดเจดีย์ ยอดปราสาท เป็นต้น, เม็ดน้ำค้าง ก็เรียก.
หยาดน้ำฟ้า เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าที่ตกจากบรรยากาศ (ฟ้า) ลงสู่พื้นดินในภาวะที่เป็นนํ้าหรือนํ้าแข็ง เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ.หยาดน้ำฟ้า น. นํ้าที่ตกจากบรรยากาศ (ฟ้า) ลงสู่พื้นดินในภาวะที่เป็นนํ้าหรือนํ้าแข็ง เช่น ฝน หิมะ ลูกเห็บ.
หยาบ, หยาบ ๆ หยาบ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ หยาบ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ละเอียด เช่น ทรายหยาบ แป้งหยาบ; ไม่สุภาพ เช่น กิริยาหยาบ พูดหยาบ, ไม่เรียบร้อย เช่น เก็บข้าวของสุมไว้หยาบ ๆ, สาก ๆ เช่น ฝ่ามือฝ่าเท้าหยาบ.หยาบ, หยาบ ๆ ว. ไม่ละเอียด เช่น ทรายหยาบ แป้งหยาบ; ไม่สุภาพ เช่น กิริยาหยาบ พูดหยาบ, ไม่เรียบร้อย เช่น เก็บข้าวของสุมไว้หยาบ ๆ, สาก ๆ เช่น ฝ่ามือฝ่าเท้าหยาบ.
หยาบคาย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่สุภาพ เช่น พูดจาหยาบคาย กิริยาหยาบคาย.หยาบคาย ว. ไม่สุภาพ เช่น พูดจาหยาบคาย กิริยาหยาบคาย.
หยาบช้า เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตํ่าช้า, เลวทราม, เช่น จิตใจหยาบช้า.หยาบช้า ว. ตํ่าช้า, เลวทราม, เช่น จิตใจหยาบช้า.
หยาบโลน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่สุภาพและลามก เช่น พูดจาหยาบโลน แสดงกิริยาหยาบโลน.หยาบโลน ว. ที่ไม่สุภาพและลามก เช่น พูดจาหยาบโลน แสดงกิริยาหยาบโลน.
หยาบหยาม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวคําหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพและเป็นการดูถูก.หยาบหยาม ก. กล่าวคําหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพและเป็นการดูถูก.
หยาม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ดูหมิ่น, ดูถูก.หยาม ก. ดูหมิ่น, ดูถูก.
หยามน้ำหน้า เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ดูหมิ่นเกียรติ, ดูหมิ่นศักดิ์ศรี.หยามน้ำหน้า ก. ดูหมิ่นเกียรติ, ดูหมิ่นศักดิ์ศรี.
หยาว เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยั่วให้รําคาญ, ยั่วให้โกรธ.หยาว ก. ยั่วให้รําคาญ, ยั่วให้โกรธ.
หย้าว เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เหย้า.หย้าว น. เหย้า.
หยำเป เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความประพฤติเละเทะหมกมุ่นในอบายมุข เช่น เขาเป็นคนหยำเป; อาการที่เมามายจนครองสติไม่อยู่ ในคำว่า เมาหยําเป.หยำเป (ปาก) ว. มีความประพฤติเละเทะหมกมุ่นในอบายมุข เช่น เขาเป็นคนหยำเป; อาการที่เมามายจนครองสติไม่อยู่ ในคำว่า เมาหยําเป.
หยำเหยอะ, หยำแหยะ หยำเหยอะ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ หยำแหยะ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ [หฺยําเหฺยอะ, หฺยําแหฺยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคี้ยวซ้ำ ๆ น่ารังเกียจ, อาการที่พูดซ้ำซากน่าเบื่อ.หยำเหยอะ, หยำแหยะ [หฺยําเหฺยอะ, หฺยําแหฺยะ] ว. อาการที่เคี้ยวซ้ำ ๆ น่ารังเกียจ, อาการที่พูดซ้ำซากน่าเบื่อ.
หยิก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เล็บ ๒ เล็บตามปรกติเป็นเล็บนิ้วหัวแม่มือกับเล็บนิ้วชี้จิกลงไปที่เนื้อแล้วบิด, ใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้หนีบเนื้อแล้วบิด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งอ, หงิก, ยู่ยี่, (ใช้แก่ผม ขน หรือใบไม้).หยิก ก. ใช้เล็บ ๒ เล็บตามปรกติเป็นเล็บนิ้วหัวแม่มือกับเล็บนิ้วชี้จิกลงไปที่เนื้อแล้วบิด, ใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้หนีบเนื้อแล้วบิด. ว. งอ, หงิก, ยู่ยี่, (ใช้แก่ผม ขน หรือใบไม้).
หยิกแกมหยอก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เหน็บแนมทีเล่นทีจริง.หยิกแกมหยอก (สำ) ก. เหน็บแนมทีเล่นทีจริง.
หยิกเล็บ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เล็บหัวแม่มือกดลงบนดินเหนียวหรือขี้ผึ้งเป็นต้นเพื่อทำเครื่องหมายไว้.หยิกเล็บ ก. ใช้เล็บหัวแม่มือกดลงบนดินเหนียวหรือขี้ผึ้งเป็นต้นเพื่อทำเครื่องหมายไว้.
หยิกเล็บเจ็บเนื้อ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง เมื่อกระทำความเดือดร้อนให้แก่คนใกล้ชิดก็จะมีผลกระทบถึงตัวผู้กระทำหรือคนในพวกเดียวกันด้วย เช่น ฟ้องร้องพี่น้องกันเองเป็นการหยิกเล็บเจ็บเนื้อ.หยิกเล็บเจ็บเนื้อ (สำ) เมื่อกระทำความเดือดร้อนให้แก่คนใกล้ชิดก็จะมีผลกระทบถึงตัวผู้กระทำหรือคนในพวกเดียวกันด้วย เช่น ฟ้องร้องพี่น้องกันเองเป็นการหยิกเล็บเจ็บเนื้อ.
หยิกหย็อง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง หยิกเป็นฝอย เช่น ผมหยิกหย็อง.หยิกหย็อง ก. หยิกเป็นฝอย เช่น ผมหยิกหย็อง.
หยิ่ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จองหอง, อวดดี, ลําพอง, ถือตัว.หยิ่ง ว. จองหอง, อวดดี, ลําพอง, ถือตัว.
หยิบ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำกริยา หมายถึง เอานิ้วมือจับขึ้น. เป็นคำนาม หมายถึง ประมาณของเท่า ๒ นิ้วมือหรือ ๓ นิ้วมือหยิบขึ้นครั้งหนึ่ง, หยิบมือ ก็เรียก.หยิบ ก. เอานิ้วมือจับขึ้น. น. ประมาณของเท่า ๒ นิ้วมือหรือ ๓ นิ้วมือหยิบขึ้นครั้งหนึ่ง, หยิบมือ ก็เรียก.
หยิบผิด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง สรรหาเอาผิดจนได้, จับผิด.หยิบผิด (โบ) ก. สรรหาเอาผิดจนได้, จับผิด.
หยิบมือ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ประมาณของเท่า ๒ นิ้วมือหรือ ๓ นิ้วมือหยิบขึ้นครั้งหนึ่ง, หยิบ ก็เรียก.หยิบมือ น. ประมาณของเท่า ๒ นิ้วมือหรือ ๓ นิ้วมือหยิบขึ้นครั้งหนึ่ง, หยิบ ก็เรียก.
หยิบมือเดียว เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง จำนวนน้อยมาก เช่น มีทหารแค่หยิบมือเดียวจะไปรบกับใครเขาได้.หยิบมือเดียว (สำ) น. จำนวนน้อยมาก เช่น มีทหารแค่หยิบมือเดียวจะไปรบกับใครเขาได้.
หยิบยก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ยกขึ้นอ้าง เช่น หยิบยกเรื่องอดีตขึ้นมาพูด, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ยกหยิบ.หยิบยก ก. ยกขึ้นอ้าง เช่น หยิบยกเรื่องอดีตขึ้นมาพูด, (กลอน) ยกหยิบ.
หยิบยืม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ยืมสิ่งของบางอย่างที่พอหยิบได้.หยิบยืม ก. ยืมสิ่งของบางอย่างที่พอหยิบได้.
หยิบหย่ง, หยิบโหย่ง หยิบหย่ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู หยิบโหย่ง เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.หยิบหย่ง, หยิบโหย่ง ว. กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.
หยิม ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ฝนตกพรําประปราย.หยิม ๆ ว. อาการที่ฝนตกพรําประปราย.
หยี เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง หรี่ (ใช้แก่ตา) ในคำว่า หยีตา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรี่, ที่แคบเรียวเล็ก, ในคำว่า ตาหยี.หยี ๑ ก. หรี่ (ใช้แก่ตา) ในคำว่า หยีตา. ว. หรี่, ที่แคบเรียวเล็ก, ในคำว่า ตาหยี.
หยี เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Dialium วงศ์ Leguminosae ผลมีเมล็ดเดียว เมื่อแก่เปลือกกรอบสีดํา เนื้อหุ้มเมล็ดสีนํ้าตาล รสเปรี้ยวอมหวาน คือ ชนิด D. indum L. ลูกหยีที่เป็นของกินเล่นส่วนใหญ่เป็นผลของต้นนี้, หยีท้องบึ้ง (D. platysepalum Backer), และชนิด D. cochinchinense L. ชนิดหลังนี้ เขลง ก็เรียก, อีสานเรียก นางดํา.หยี ๒ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Dialium วงศ์ Leguminosae ผลมีเมล็ดเดียว เมื่อแก่เปลือกกรอบสีดํา เนื้อหุ้มเมล็ดสีนํ้าตาล รสเปรี้ยวอมหวาน คือ ชนิด D. indum L. ลูกหยีที่เป็นของกินเล่นส่วนใหญ่เป็นผลของต้นนี้, หยีท้องบึ้ง (D. platysepalum Backer), และชนิด D. cochinchinense L. ชนิดหลังนี้ เขลง ก็เรียก, อีสานเรียก นางดํา.
หยี่ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก[หฺยี่] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าพื้นขาวปักด้วยด้ายเป็นดอกดวงต่าง ๆ.หยี่ [หฺยี่] (โบ) น. ผ้าพื้นขาวปักด้วยด้ายเป็นดอกดวงต่าง ๆ.
หยุ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ[หฺยุ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่วม, อาการที่อ่อนจนกดบู้ลงได้.หยุ [หฺยุ] (โบ) ว. น่วม, อาการที่อ่อนจนกดบู้ลงได้.
หยุกหยิก เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขยุกขยิก.หยุกหยิก ก. ขยุกขยิก.
หยุด เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ชะงัก เช่น งูเลื้อยตัดหน้าเขาจึงหยุด, อยู่นิ่ง, อยู่กับที่, เช่น รถหยุด; พัก เช่น หยุดงานตอนเที่ยง, ไม่กระทำต่อ เช่น หยุดกิจการ, เลิก เช่น เขาพูดไม่หยุด.หยุด ก. ชะงัก เช่น งูเลื้อยตัดหน้าเขาจึงหยุด, อยู่นิ่ง, อยู่กับที่, เช่น รถหยุด; พัก เช่น หยุดงานตอนเที่ยง, ไม่กระทำต่อ เช่น หยุดกิจการ, เลิก เช่น เขาพูดไม่หยุด.
หยุดหย่อน เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เว้นระยะ มักใช้ในประโยคปฏิเสธ เช่น ทํางานไม่หยุดหย่อน คือ ทํางานไม่เว้นระยะ.หยุดหย่อน ว. เว้นระยะ มักใช้ในประโยคปฏิเสธ เช่น ทํางานไม่หยุดหย่อน คือ ทํางานไม่เว้นระยะ.
หยุ่น เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยุบลงไปแล้วคืนตัวได้.หยุ่น ว. ยุบลงไปแล้วคืนตัวได้.
หยุบ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ขึ้น ๆ ลง ๆ เช่น นกเด้าลมทำหางหยุบ ๆ.หยุบ ๆ ว. อาการที่ขึ้น ๆ ลง ๆ เช่น นกเด้าลมทำหางหยุบ ๆ.
หยุมหยิม เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จุกจิก เช่น เขาเป็นคนหยุมหยิม. เป็นคำกริยา หมายถึง จู้จี้, ชอบถือเอาเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ว่าเป็นเรื่องสําคัญ, เช่น อย่าไปหยุมหยิมกับเขามากนัก.หยุมหยิม ว. จุกจิก เช่น เขาเป็นคนหยุมหยิม. ก. จู้จี้, ชอบถือเอาเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ว่าเป็นเรื่องสําคัญ, เช่น อย่าไปหยุมหยิมกับเขามากนัก.
หยูกยา เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ยารักษาโรค.หยูกยา (ปาก) น. ยารักษาโรค.
หโยดม เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-มอ-ม้าดู หย–, หัย หย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-ยัก หัย เขียนว่า หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก .หโยดม ดู หย–, หัย.
หรคุณ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน[หอระคุน] เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนวันตั้งแต่แรกตั้งศักราชมา; เรียกชาดสีแดงเสนว่า ชาดหรคุณ.หรคุณ [หอระคุน] น. จํานวนวันตั้งแต่แรกตั้งศักราชมา; เรียกชาดสีแดงเสนว่า ชาดหรคุณ.
หรณะ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[หะระนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การนําไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หรณะ [หะระนะ] น. การนําไป. (ป., ส.).
หรดาล เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง[หอระดาน] เป็นคำนาม หมายถึง แร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยธาตุสารหนูและกํามะถัน มีปรากฏในธรรมชาติ ๒ ชนิด คือ หรดาลแดงกับหรดาลกลีบทอง มักจะปรากฏอยู่ปนกัน ในปัจจุบันสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ทั้ง ๒ ชนิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต หริตาล เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง.หรดาล [หอระดาน] น. แร่ชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยธาตุสารหนูและกํามะถัน มีปรากฏในธรรมชาติ ๒ ชนิด คือ หรดาลแดงกับหรดาลกลีบทอง มักจะปรากฏอยู่ปนกัน ในปัจจุบันสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ทั้ง ๒ ชนิด. (ป.; ส. หริตาล).
หรดาลกลีบทอง เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด เป็นแผ่นอัดแน่น หรือเป็นผง อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจําเพาะ ๓.๔๙ สีเหลือง เป็นมัน มีสูตรเคมี As2S3 ใช้ประโยชน์เป็นสารให้สีเหลือง ใช้เขียนลายรดนํ้า สมุดดํา เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ orpiment เขียนว่า โอ-อา-พี-ไอ-เอ็ม-อี-เอ็น-ที.หรดาลกลีบทอง น. หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด เป็นแผ่นอัดแน่น หรือเป็นผง อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจําเพาะ ๓.๔๙ สีเหลือง เป็นมัน มีสูตรเคมี As2S3 ใช้ประโยชน์เป็นสารให้สีเหลือง ใช้เขียนลายรดนํ้า สมุดดํา เป็นต้น. (อ. orpiment).
หรดาลแดง เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด หรือเป็นก้อนอัดแน่น อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจําเพาะ ๓.๕ สีแดงหรือแดงส้ม เป็นมัน มีสูตรเคมี AsS, As2S2, As4S4 ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหนังสัตว์ ใช้เป็นตัวทําให้ขนร่วง ใช้ในงานอุตสาหกรรมทํากระสุนปืนส่องวิถี ใช้ในงานความร้อนสูง เช่น ดอกไม้ไฟ พลุสี ใช้เป็นสารฆ่าสัตว์แทะ เช่น หนู และใช้เป็นสีทา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ realgar เขียนว่า อา-อี-เอ-แอล-จี-เอ-อา.หรดาลแดง น. หรดาลที่มีลักษณะเป็นผลึกแท่งเข็มสั้น เป็นเม็ด หรือเป็นก้อนอัดแน่น อ่อนนุ่ม มีค่าความถ่วงจําเพาะ ๓.๕ สีแดงหรือแดงส้ม เป็นมัน มีสูตรเคมี AsS, As2S2, As4S4 ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมหนังสัตว์ ใช้เป็นตัวทําให้ขนร่วง ใช้ในงานอุตสาหกรรมทํากระสุนปืนส่องวิถี ใช้ในงานความร้อนสูง เช่น ดอกไม้ไฟ พลุสี ใช้เป็นสารฆ่าสัตว์แทะ เช่น หนู และใช้เป็นสีทา. (อ. realgar).
หรดี เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[หอระดี] เป็นคำนาม หมายถึง ทิศตะวันตกเฉียงใต้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ไนรฺฤติ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู-รอ-เรือ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ.หรดี [หอระดี] น. ทิศตะวันตกเฉียงใต้. (ป.; ส. ไนรฺฤติ).
หรบ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรับ ๆ.หรบ ๆ ว. หรับ ๆ.
หรรษ–, หรรษา หรรษ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี หรรษา เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา [หันสะ–, หันสา] เป็นคำนาม หมายถึง ความรื่นเริง, ความยินดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หรฺษ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.หรรษ–, หรรษา [หันสะ–, หันสา] น. ความรื่นเริง, ความยินดี. (ส. หรฺษ).
หรอ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง[หฺรอ] เป็นคำกริยา หมายถึง สึกเข้าไป, กร่อนเข้าไป, ในคําว่า สึกหรอ ร่อยหรอ.หรอ [หฺรอ] ก. สึกเข้าไป, กร่อนเข้าไป, ในคําว่า สึกหรอ ร่อยหรอ.
หรอก เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่[หฺรอก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดอก เช่น ไม่เป็นไรหรอก.หรอก [หฺรอก] (ปาก) ว. ดอก เช่น ไม่เป็นไรหรอก.
หร็อมแหร็ม เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น ต้นไม้ขึ้นหร็อมแหร็ม, กะหร็อมกะแหร็ม หรือ หย็อมแหย็ม ก็ว่า.หร็อมแหร็ม ว. มีเล็กน้อย, มีห่าง ๆ ไม่เป็นพวกเป็นหมู่, เช่น ต้นไม้ขึ้นหร็อมแหร็ม, กะหร็อมกะแหร็ม หรือ หย็อมแหย็ม ก็ว่า.
หรอย ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต้อย ๆ, หย็อย ๆ, (ใช้แก่กิริยาที่เด็กวิ่ง).หรอย ๆ ว. ต้อย ๆ, หย็อย ๆ, (ใช้แก่กิริยาที่เด็กวิ่ง).
หระ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ[หะระ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระอิศวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต หร เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ ว่า นําไป .หระ [หะระ] น. ชื่อพระอิศวร. (ป., ส. หร ว่า นําไป).
หรับ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เร่า ๆ, สั่นรัว, (ใช้แก่กิริยาดิ้นเป็นต้น), หรบ ๆ ก็ว่า.หรับ ๆ ว. เร่า ๆ, สั่นรัว, (ใช้แก่กิริยาดิ้นเป็นต้น), หรบ ๆ ก็ว่า.
หรัสว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน[หะรัดสะวะ–] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สั้น; เล็ก, น้อย; ตํ่า, เตี้ย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี รสฺส เขียนว่า รอ-เรือ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ.หรัสว– [หะรัดสะวะ–] ว. สั้น; เล็ก, น้อย; ตํ่า, เตี้ย. (ส.; ป. รสฺส).
หรัสวมูรดี เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี[หะรัดสะวะมูระดี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีร่างเล็ก, เตี้ย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .หรัสวมูรดี [หะรัดสะวะมูระดี] ว. มีร่างเล็ก, เตี้ย. (ส.).
หรัสวางค์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด[หะรัดสะวาง] เป็นคำนาม หมายถึง คนเตี้ย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีร่างเตี้ย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .หรัสวางค์ [หะรัดสะวาง] น. คนเตี้ย. ว. มีร่างเตี้ย. (ส.).
หรัสวางค์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาดดู หรัสว– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-วอ-แหวน.หรัสวางค์ ดู หรัสว–.
หรา เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา[หฺรา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ก๋า, ร่า, เช่น เต้นหรา.หรา [หฺรา] ว. ก๋า, ร่า, เช่น เต้นหรา.
หริ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ[หะริ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระนารายณ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีขมิ้น, สีเหลืองอมแดง, สีเขียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หริ [หะริ] น. ชื่อพระนารายณ์. ว. สีขมิ้น, สีเหลืองอมแดง, สีเขียว. (ป., ส.).
หริคันธ์, หริจันทน์ หริคันธ์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด หริจันทน์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด [หะริคัน, หะริจัน] เป็นคำนาม หมายถึง จันทน์แดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หริคันธ์, หริจันทน์ [หะริคัน, หะริจัน] น. จันทน์แดง. (ป., ส.).
หริรักษ์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด[หะริรัก] เป็นคำนาม หมายถึง พระนารายณ์.หริรักษ์ [หะริรัก] น. พระนารายณ์.
หริวงศ์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด[หะริวง] เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์หรือเชื้อพระนารายณ์คือพระรามเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .หริวงศ์ [หะริวง] น. วงศ์หรือเชื้อพระนารายณ์คือพระรามเป็นต้น. (ส.).
หริ่ง เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนูขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Muridae เช่น หนูหริ่งบ้าน (Mus musculus) หนูหริ่งไม้หางพู่ (Chiropodomys gliroides).หริ่ง น. ชื่อหนูขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Muridae เช่น หนูหริ่งบ้าน (Mus musculus) หนูหริ่งไม้หางพู่ (Chiropodomys gliroides).
หริ่ง ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องของเรไร.หริ่ง ๆ ว. เสียงร้องของเรไร.
หริณะ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ[หะรินะ] เป็นคำนาม หมายถึง กวาง, เนื้อชนิดหนึ่ง, กระต่าย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีขมิ้น, สีเหลืองอมแดง, สีเขียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หริณะ [หะรินะ] น. กวาง, เนื้อชนิดหนึ่ง, กระต่าย. ว. สีขมิ้น, สีเหลืองอมแดง, สีเขียว. (ป., ส.).
หริต เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[หะริด] เป็นคำนาม หมายถึง ของเขียว; ผัก, หญ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เขียว; สีนํ้าตาล, สีเหลือง, สีเหลืองอ่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หริต [หะริด] น. ของเขียว; ผัก, หญ้า. ว. เขียว; สีนํ้าตาล, สีเหลือง, สีเหลืองอ่อน. (ป., ส.).
หริตกี, หรีตกี หริตกี เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี หรีตกี เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี [หะริตะกี, หะรีตะกี] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นสมอไทย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .หริตกี, หรีตกี [หะริตะกี, หะรีตะกี] น. ต้นสมอไทย. (ป., ส.).
หรี่ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก[หฺรี่] เป็นคำกริยา หมายถึง ลดให้น้อยลงหรือเบาลง เช่น หรี่ไฟ หรี่วิทยุ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แคบ ในคำว่า ตาหรี่.หรี่ [หฺรี่] ก. ลดให้น้อยลงหรือเบาลง เช่น หรี่ไฟ หรี่วิทยุ. ว. แคบ ในคำว่า ตาหรี่.
หรี่ตา เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทำตาให้หยีลงเพื่อให้แสงสว่างเข้าตาน้อยหรือเพื่อเป็นอาณัติสัญญาณบางอย่าง.หรี่ตา ก. ทำตาให้หยีลงเพื่อให้แสงสว่างเข้าตาน้อยหรือเพื่อเป็นอาณัติสัญญาณบางอย่าง.
หรีด เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้ที่จัดแต่งขึ้นตามโครงรูปต่าง ๆ เช่น วงกลม วงรี มักมีใบไม้เป็นส่วนประกอบด้วย สําหรับใช้เคารพศพ, พวงหรีด ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ wreath เขียนว่า ดับเบิลยู-อา-อี-เอ-ที-เอช.หรีด น. ดอกไม้ที่จัดแต่งขึ้นตามโครงรูปต่าง ๆ เช่น วงกลม วงรี มักมีใบไม้เป็นส่วนประกอบด้วย สําหรับใช้เคารพศพ, พวงหรีด ก็เรียก. (อ. wreath).
หรือ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำสันธาน หมายถึง คําบอกความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น จะเอาเงินหรือทอง; คําประกอบกับประโยคคําถาม เช่น ไปหรือ.หรือ สัน. คําบอกความให้เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น จะเอาเงินหรือทอง; คําประกอบกับประโยคคําถาม เช่น ไปหรือ.
หรุบ ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของสิ่งที่ร่วงลงมาพรู เรียกว่า ร่วงหรุบ ๆ.หรุบ ๆ ว. อาการของสิ่งที่ร่วงลงมาพรู เรียกว่า ร่วงหรุบ ๆ.
หรุบรู่, หรุบหรู่ หรุบรู่ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก หรุบหรู่ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงมัวจนมองอะไรไม่เห็นถนัดชัดเจน เช่น แสงเดือนหรุบรู่, รุบรู่ หรือ รุบหรู่ ก็ว่า.หรุบรู่, หรุบหรู่ ว. มีแสงมัวจนมองอะไรไม่เห็นถนัดชัดเจน เช่น แสงเดือนหรุบรู่, รุบรู่ หรือ รุบหรู่ ก็ว่า.
หรุ่ม เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารอย่างหนึ่ง ไส้ทําด้วยหมูหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผัดกับถั่วลิสง หัวหอม และเครื่องปรุง ห่อด้วยไข่โรยฝอยขนาดพอดีคํา.หรุ่ม ๑ น. ชื่ออาหารอย่างหนึ่ง ไส้ทําด้วยหมูหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ผัดกับถั่วลิสง หัวหอม และเครื่องปรุง ห่อด้วยไข่โรยฝอยขนาดพอดีคํา.
หรุ่ม เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.หรุ่ม ๒ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง.
หรู, หรูหรา หรู เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู หรูหรา เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวยงามด้วยการรู้จักประดับตกแต่งเกินกว่าปรกติธรรมดา เช่น แต่งตัวสวยหรู จัดห้องเสียหรูหรา.หรู, หรูหรา ว. สวยงามด้วยการรู้จักประดับตกแต่งเกินกว่าปรกติธรรมดา เช่น แต่งตัวสวยหรู จัดห้องเสียหรูหรา.
หฤทัย, หฤทัย– หฤทัย เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก หฤทัย– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก [หะรึไท, หะรึไทยะ–] เป็นคำนาม หมายถึง หัวใจ, ใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หฺฤทย เขียนว่า หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี หทย เขียนว่า หอ-หีบ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก.หฤทัย, หฤทัย– [หะรึไท, หะรึไทยะ–] น. หัวใจ, ใจ. (ส. หฺฤทย; ป. หทย).
หฤทย์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด[หะรึด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวแก่ใจ; ภายใน; น่ารัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .หฤทย์ [หะรึด] ว. เกี่ยวแก่ใจ; ภายใน; น่ารัก. (ส.).
หฤทัยกลม เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง คนมีใจอ่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หฺฤทยกลฺม เขียนว่า หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-มอ-ม้า.หฤทัยกลม น. คนมีใจอ่อน. (ส. หฺฤทยกลฺม).
หฤทัยกัปน์, หฤทัยกัมป์ หฤทัยกัปน์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด หฤทัยกัมป์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง อาการเต้นแห่งใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .หฤทัยกัปน์, หฤทัยกัมป์ น. อาการเต้นแห่งใจ. (ส.).
หฤทัยปรีย์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ารัก, ชื่นใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หฺฤทยปฺรีย เขียนว่า หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก.หฤทัยปรีย์ ว. น่ารัก, ชื่นใจ. (ส. หฺฤทยปฺรีย).
หฤทัยพันธน์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผูกใจ, ชวนใจ, จับใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .หฤทัยพันธน์ ว. ผูกใจ, ชวนใจ, จับใจ. (ส.).
หฤษฎ์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-ทัน-ทะ-คาด[หะริด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าชื่นชม, ยินดี; สนุก, สบาย, ดีใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หฺฤษฺฏ เขียนว่า หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก และมาจากภาษาบาลี หฏฺ เขียนว่า หอ-หีบ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน.หฤษฎ์ [หะริด] ว. น่าชื่นชม, ยินดี; สนุก, สบาย, ดีใจ. (ส. หฺฤษฺฏ; ป. หฏฺ).
หฤษฎี เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี[หะริดสะดี] เป็นคำนาม หมายถึง ความยินดี, ความปลาบปลื้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต หฺฤษฺฏี เขียนว่า หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อี.หฤษฎี [หะริดสะดี] น. ความยินดี, ความปลาบปลื้ม. (ส. หฺฤษฺฏี).
หฤหรรษ์ เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด[หะรึหัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยินดี, ชื่นชม, ร่าเริง.หฤหรรษ์ [หะรึหัน] ว. ยินดี, ชื่นชม, ร่าเริง.
หฤโหด เขียนว่า หอ-หีบ-รอ-รึ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ดอ-เด็ก[หะรึโหด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่วร้าย, เลวทราม, ใจร้าย.หฤโหด [หะรึโหด] ว. ชั่วร้าย, เลวทราม, ใจร้าย.
หลง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู[หฺลง] เป็นคำกริยา หมายถึง สําคัญผิด, เข้าใจผิด, เช่น กาหลงเข้าใจว่าไข่นกดุเหว่าเป็นไข่ของตน; หมกมุ่น, มัวเมา, คลั่งไคล้, เคลิบเคลิ้ม, เช่น หลงในอบายมุข หลงเสน่ห์; พลัด เช่น กาหลงเข้าไปในฝูงหงส์, เข้าไปแล้วหาทางออกไม่ได้ เช่น หลงป่า หลงทาง; เหลืออยู่, ตกค้างอยู่, เช่น มะม่วงหลง ฝนหลงฤดู; มีความจำเลอะเลือน, สติเฟือนไป, เช่น พอแก่ก็ชักจะหลงแล้ว; เรียกเสียงที่แผดดังผิดปรกติ หรือเสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรีว่า เสียงหลง.หลง [หฺลง] ก. สําคัญผิด, เข้าใจผิด, เช่น กาหลงเข้าใจว่าไข่นกดุเหว่าเป็นไข่ของตน; หมกมุ่น, มัวเมา, คลั่งไคล้, เคลิบเคลิ้ม, เช่น หลงในอบายมุข หลงเสน่ห์; พลัด เช่น กาหลงเข้าไปในฝูงหงส์, เข้าไปแล้วหาทางออกไม่ได้ เช่น หลงป่า หลงทาง; เหลืออยู่, ตกค้างอยู่, เช่น มะม่วงหลง ฝนหลงฤดู; มีความจำเลอะเลือน, สติเฟือนไป, เช่น พอแก่ก็ชักจะหลงแล้ว; เรียกเสียงที่แผดดังผิดปรกติ หรือเสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรีว่า เสียงหลง.
หลงกล เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง แพ้รู้ในกลอุบาย.หลงกล ก. แพ้รู้ในกลอุบาย.
หลงตา, หลงหูหลงตา หลงตา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา หลงหูหลงตา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตกค้างอยู่โดยไม่เห็น, ปล่อยให้ผ่านสายตาไปโดยไม่ทันได้สังเกตเห็น.หลงตา, หลงหูหลงตา ว. ตกค้างอยู่โดยไม่เห็น, ปล่อยให้ผ่านสายตาไปโดยไม่ทันได้สังเกตเห็น.
หลงผิด เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง สำคัญผิด, เข้าใจไม่ถูกต้อง; หลงประพฤติไปในทางที่ผิด.หลงผิด ก. สำคัญผิด, เข้าใจไม่ถูกต้อง; หลงประพฤติไปในทางที่ผิด.
หลงลม, หลงลมปาก หลงลม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า หลงลมปาก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง หลงเชื่อถ้อยคำ เช่น อย่าหลงลมปากคนชวนไปหาลาภทางไกล.หลงลม, หลงลมปาก (ปาก) ก. หลงเชื่อถ้อยคำ เช่น อย่าหลงลมปากคนชวนไปหาลาภทางไกล.
หลงละเมอ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง สำคัญผิด, หลงเพ้อ, เช่น เขาแต่งงานไปนานแล้ว ยังหลงละเมอว่าเขาเป็นโสดอยู่.หลงละเมอ ก. สำคัญผิด, หลงเพ้อ, เช่น เขาแต่งงานไปนานแล้ว ยังหลงละเมอว่าเขาเป็นโสดอยู่.
หลงลืม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง มีความจำเลอะเลือน, มีความจำเสื่อมจึงทำให้ลืม, มีสติเฟือนไป.หลงลืม ก. มีความจำเลอะเลือน, มีความจำเสื่อมจึงทำให้ลืม, มีสติเฟือนไป.
หลง ๆ ลืม ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลอะเลือน, จำได้บ้างไม่ได้บ้าง, ขี้หลงขี้ลืม ก็ว่า.หลง ๆ ลืม ๆ ว. เลอะเลือน, จำได้บ้างไม่ได้บ้าง, ขี้หลงขี้ลืม ก็ว่า.
หลงเหลือ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง มีเหลืออยู่บ้างทั้ง ๆ ที่เข้าใจหรือรู้สึกว่าหมดแล้ว เช่น ยังมีเศษสตางค์หลงเหลืออยู่ในกระเป๋า.หลงเหลือ ก. มีเหลืออยู่บ้างทั้ง ๆ ที่เข้าใจหรือรู้สึกว่าหมดแล้ว เช่น ยังมีเศษสตางค์หลงเหลืออยู่ในกระเป๋า.
หลงใหล เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง คลั่งไคล้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น หลงใหลนักร้อง; เลอะเลือน, มีสติเฟือน, เช่น คนแก่มักหลงใหล กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน.หลงใหล ก. คลั่งไคล้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น หลงใหลนักร้อง; เลอะเลือน, มีสติเฟือน, เช่น คนแก่มักหลงใหล กินแล้วก็ว่าไม่ได้กิน.
หลงใหลได้ปลื้ม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตื่นเต้นยินดีเมื่อตนเองหรือผู้อื่นได้ดิบได้ดีเป็นต้น เช่น อย่ามัวหลงใหลได้ปลื้มกับรางวัลจนลืมหน้าที่การงานของตน.หลงใหลได้ปลื้ม (สำ) ก. ตื่นเต้นยินดีเมื่อตนเองหรือผู้อื่นได้ดิบได้ดีเป็นต้น เช่น อย่ามัวหลงใหลได้ปลื้มกับรางวัลจนลืมหน้าที่การงานของตน.
หลงจู๊ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ไม้-ตรี เป็นคำนาม หมายถึง ผู้จัดการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .หลงจู๊ น. ผู้จัดการ. (จ.).
หลด เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก[หฺลด] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิดในวงศ์ Mastacembelidae ลําตัวยาว แบนข้าง ปลายจะงอยปากบนเรียวยาว เช่น ชนิด Macrognathus aculeatus, Mastacembelus circumcinctus.(๒) ดู มังกร เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒.หลด [หฺลด] น. (๑) ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิดในวงศ์ Mastacembelidae ลําตัวยาว แบนข้าง ปลายจะงอยปากบนเรียวยาว เช่น ชนิด Macrognathus aculeatus, Mastacembelus circumcinctus.(๒) ดู มังกร ๒.
หลน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-นอ-หนู[หฺลน] เป็นคำกริยา หมายถึง เคี่ยวของบางอย่างเช่นปลาร้าปลาเจ่าให้ละลายและงวดข้น เพื่อปรุงเป็นอาหาร. เป็นคำนาม หมายถึง อาหารประเภทเครื่องจิ้มชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยกะทิ หัวหอม หมูหรือกุ้งสับ เคี่ยวรวมกันแล้วใส่ปลาร้าหรือเต้าเจี้ยวแห้งเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกชื่อตามนั้น ปรุงรสให้เปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาร้าหลน เต้าเจี้ยวหลน เต้าหู้ยี้หลน ปลากุเลาหลน รับประทานกับผักสด.หลน [หฺลน] ก. เคี่ยวของบางอย่างเช่นปลาร้าปลาเจ่าให้ละลายและงวดข้น เพื่อปรุงเป็นอาหาร. น. อาหารประเภทเครื่องจิ้มชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยกะทิ หัวหอม หมูหรือกุ้งสับ เคี่ยวรวมกันแล้วใส่ปลาร้าหรือเต้าเจี้ยวแห้งเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกชื่อตามนั้น ปรุงรสให้เปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาร้าหลน เต้าเจี้ยวหลน เต้าหู้ยี้หลน ปลากุเลาหลน รับประทานกับผักสด.
หล่น เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ตกลงมา, ร่วงลง.หล่น ก. ตกลงมา, ร่วงลง.
หลบ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้[หฺลบ] เป็นคำกริยา หมายถึง หลีก, เลี่ยงไม่ให้พบ, เลี่ยงไม่ให้ถูก เช่น หลบลูกปืน; แอบ เช่น หลบเข้าหลังตู้; กลับเข้าใน เช่น ไข้หลบ; ปกคลุมหลุบลงมา (ใช้เฉพาะการมุงหลังคาตรงอกไก่).หลบ [หฺลบ] ก. หลีก, เลี่ยงไม่ให้พบ, เลี่ยงไม่ให้ถูก เช่น หลบลูกปืน; แอบ เช่น หลบเข้าหลังตู้; กลับเข้าใน เช่น ไข้หลบ; ปกคลุมหลุบลงมา (ใช้เฉพาะการมุงหลังคาตรงอกไก่).
หลบฉาก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง หลบอย่างมีชั้นเชิง (ใช้ในกีฬามวย), โดยปริยายหมายความว่า หลีกหนีไม่ให้พบหน้า.หลบฉาก ก. หลบอย่างมีชั้นเชิง (ใช้ในกีฬามวย), โดยปริยายหมายความว่า หลีกหนีไม่ให้พบหน้า.
หลบตา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หลีกไม่จับตา, ไม่กล้าสบตา, ไม่สู้สายตา.หลบตา ก. หลีกไม่จับตา, ไม่กล้าสบตา, ไม่สู้สายตา.
หลบฝาก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ประเพณีที่ชายเข้าไปอาศัยรับใช้การงานให้กับหญิง.หลบฝาก (โบ) น. ประเพณีที่ชายเข้าไปอาศัยรับใช้การงานให้กับหญิง.
หลบมุม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง หลีกเลี่ยง.หลบมุม (ปาก) ก. หลีกเลี่ยง.
หลบลี้หนีหน้า เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หลีกหนีไปไม่ยอมให้พบหน้า.หลบลี้หนีหน้า ก. หลีกหนีไปไม่ยอมให้พบหน้า.
หลบหน้า, หลบหน้าหลบตา หลบหน้า เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา หลบหน้าหลบตา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง หลบไปไม่เผชิญหน้า.หลบหน้า, หลบหน้าหลบตา ก. หลบไปไม่เผชิญหน้า.
หลบหนี้ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำกริยา หมายถึง หลบไม่ยอมพบเจ้าหนี้.หลบหนี้ ก. หลบไม่ยอมพบเจ้าหนี้.
หลบหลังคา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ปิดหลังคาที่ตรงสันหลังคาให้มิดไม่ให้ฝนรั่วได้. เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมุงที่ใช้ปิดสันหลังคาให้มิดไม่ให้ฝนรั่วได้; วิธีสอยชายผ้าอย่างหนึ่ง.หลบหลังคา ก. ปิดหลังคาที่ตรงสันหลังคาให้มิดไม่ให้ฝนรั่วได้. น. เครื่องมุงที่ใช้ปิดสันหลังคาให้มิดไม่ให้ฝนรั่วได้; วิธีสอยชายผ้าอย่างหนึ่ง.
หล่ม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า[หฺล่ม] เป็นคำนาม หมายถึง ที่มีโคลนลึก, ที่ลุ่มด้วยโคลนลึก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีโคลนลึก, ลุ่มด้วยโคลนลึก.หล่ม [หฺล่ม] น. ที่มีโคลนลึก, ที่ลุ่มด้วยโคลนลึก. ว. มีโคลนลึก, ลุ่มด้วยโคลนลึก.
หลวง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เป็นของพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ศาลหลวง วังหลวง; เป็นใหญ่ เช่น ภรรยาหลวง, ใหญ่ เช่น เขาหลวง ผึ้งหลวง; สาธารณะ เช่น ทางหลวง. เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาศักดิ์ข้าราชการ สูงกว่าขุน ต่ำกว่าพระ เช่น หลวงวิจิตรวาทการ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คําเรียกพระภิกษุโดยความเคารพ เช่น หลวงปู่ หลวงพี่ หลวงน้า, คําเรียกพระจีน พระญวน ว่า หลวงจีน หลวงญวน.หลวง ว. ที่เป็นของพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ศาลหลวง วังหลวง; เป็นใหญ่ เช่น ภรรยาหลวง, ใหญ่ เช่น เขาหลวง ผึ้งหลวง; สาธารณะ เช่น ทางหลวง. น. บรรดาศักดิ์ข้าราชการ สูงกว่าขุน ต่ำกว่าพระ เช่น หลวงวิจิตรวาทการ; (ปาก) คําเรียกพระภิกษุโดยความเคารพ เช่น หลวงปู่ หลวงพี่ หลวงน้า, คําเรียกพระจีน พระญวน ว่า หลวงจีน หลวงญวน.
หลวงจีน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสมณศักดิ์พระสงฆ์จีนตั้งแต่ระดับพระคณานุกรมของเจ้าคณะใหญ่และรองเจ้าคณะใหญ่ จนถึงผู้ช่วยเจ้าคณะใหญ่ เช่น หลวงจีนวินยานุกร หลวงจีนคณาณัติจีนพรต หลวงจีนใบฎีกา.หลวงจีน น. ชื่อสมณศักดิ์พระสงฆ์จีนตั้งแต่ระดับพระคณานุกรมของเจ้าคณะใหญ่และรองเจ้าคณะใหญ่ จนถึงผู้ช่วยเจ้าคณะใหญ่ เช่น หลวงจีนวินยานุกร หลวงจีนคณาณัติจีนพรต หลวงจีนใบฎีกา.
หลวงพ่อ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-พอ-พาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คำเรียกพระพุทธรูปโดยความเคารพ เช่น หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อแก้ว หลวงพ่อวัดไร่ขิง; คำเรียกพระภิกษุที่เป็นพ่อหรืออยู่ในวัยเดียวกับพ่อ.หลวงพ่อ (ปาก) น. คำเรียกพระพุทธรูปโดยความเคารพ เช่น หลวงพ่อโสธร หลวงพ่อแก้ว หลวงพ่อวัดไร่ขิง; คำเรียกพระภิกษุที่เป็นพ่อหรืออยู่ในวัยเดียวกับพ่อ.
หลวม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แน่น, ไม่สนิท, เช่น นอตตัวนี้หลวม; ใหญ่เกินพอดี, ยังมีที่ว่างเหลืออยู่, เช่น จัดของใส่กระเป๋าหมดแล้ว กระเป๋ายังหลวมอยู่; โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระชับ, ไม่รัดกุม, เช่น สำนวนหลวมไป เหตุผลยังหลวมอยู่, ไม่รอบคอบ เช่น สัญญาฉบับนี้ทำไว้หลวมเกินไป.หลวม ว. ไม่แน่น, ไม่สนิท, เช่น นอตตัวนี้หลวม; ใหญ่เกินพอดี, ยังมีที่ว่างเหลืออยู่, เช่น จัดของใส่กระเป๋าหมดแล้ว กระเป๋ายังหลวมอยู่; โดยปริยายหมายความว่า ไม่กระชับ, ไม่รัดกุม, เช่น สำนวนหลวมไป เหตุผลยังหลวมอยู่, ไม่รอบคอบ เช่น สัญญาฉบับนี้ทำไว้หลวมเกินไป.
หลวมตัว เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง เผลอไผลหรือถลำตัวเข้าไปโดยเข้าใจผิดหรือเพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์เป็นต้น เช่น เขาหลวมตัวเล่นการพนันจนหมดตัว.หลวมตัว ก. เผลอไผลหรือถลำตัวเข้าไปโดยเข้าใจผิดหรือเพราะรู้เท่าไม่ถึงการณ์เป็นต้น เช่น เขาหลวมตัวเล่นการพนันจนหมดตัว.
หลอ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบกับคํา เหลือ เป็น เหลือหลอ หมายความว่า หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ; เรียกฟันที่มีช่องว่างระหว่างฟันซึ่งเกิดจากฟันหลุด กร่อน หรือหักจนถึงโคนฟันเป็นต้น ว่า ฟันหลอ.หลอ ว. ใช้ประกอบกับคํา เหลือ เป็น เหลือหลอ หมายความว่า หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ; เรียกฟันที่มีช่องว่างระหว่างฟันซึ่งเกิดจากฟันหลุด กร่อน หรือหักจนถึงโคนฟันเป็นต้น ว่า ฟันหลอ.
หล่อ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง เทโลหะเหลวหรือขี้ผึ้งเหลวเป็นต้นลงในแม่พิมพ์ แล้วทิ้งให้แข็งเป็นรูปตามแบบ (มักใช้ในงานประติมากรรมและอุตสาหกรรม) เช่น หล่อพระพุทธรูป หล่อกระทะ หล่อกระบอกปืนใหญ่; ขังน้ำหรือน้ำมันไว้เพื่อรักษาสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้คงสภาพ เช่น เอาน้ำหล่อคอนกรีตไว้ เอาน้ำมันจันทน์หล่อรักยม. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม เช่น รูปหล่อ.หล่อ ก. เทโลหะเหลวหรือขี้ผึ้งเหลวเป็นต้นลงในแม่พิมพ์ แล้วทิ้งให้แข็งเป็นรูปตามแบบ (มักใช้ในงานประติมากรรมและอุตสาหกรรม) เช่น หล่อพระพุทธรูป หล่อกระทะ หล่อกระบอกปืนใหญ่; ขังน้ำหรือน้ำมันไว้เพื่อรักษาสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้คงสภาพ เช่น เอาน้ำหล่อคอนกรีตไว้ เอาน้ำมันจันทน์หล่อรักยม. (ปาก) ว. งาม เช่น รูปหล่อ.
หล่อดอก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอายางรถยนต์ที่สึกแล้วไปเสริมดอกยางเพื่อให้มีสภาพดีขึ้น.หล่อดอก ก. เอายางรถยนต์ที่สึกแล้วไปเสริมดอกยางเพื่อให้มีสภาพดีขึ้น.
หล่อน้ำ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาน้ำใส่ภาชนะเพื่อรองรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งกันไม่ให้มดขึ้น เช่น หล่อน้ำขาตู้กับข้าว, เอาสิ่งของบางอย่างใส่ไว้ในภาชนะแล้วเอาภาชนะนั้นวางไว้บนอีกภาชนะหนึ่งซึ่งขังน้ำไว้เพื่อกันไม่ให้มดขึ้น เช่น เอาจานขนมไปวางบนแก้วที่หล่อน้ำไว้; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เอาน้ำไปขังไว้ในภาชนะเพื่อใช้ในพระราชพิธีมูรธาภิเษกเป็นต้น.หล่อน้ำ ก. เอาน้ำใส่ภาชนะเพื่อรองรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งกันไม่ให้มดขึ้น เช่น หล่อน้ำขาตู้กับข้าว, เอาสิ่งของบางอย่างใส่ไว้ในภาชนะแล้วเอาภาชนะนั้นวางไว้บนอีกภาชนะหนึ่งซึ่งขังน้ำไว้เพื่อกันไม่ให้มดขึ้น เช่น เอาจานขนมไปวางบนแก้วที่หล่อน้ำไว้; (โบ) เอาน้ำไปขังไว้ในภาชนะเพื่อใช้ในพระราชพิธีมูรธาภิเษกเป็นต้น.
หล่อน้ำมัน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไส้ตะเกียงแช่ในตะเกียงหรือภาชนะที่ขังน้ำมันก๊าดหรือน้ำมันมะพร้าวไว้เพื่อจุดให้ไส้ติดไฟอยู่ตลอดเวลาเป็นต้น.หล่อน้ำมัน ก. เอาไส้ตะเกียงแช่ในตะเกียงหรือภาชนะที่ขังน้ำมันก๊าดหรือน้ำมันมะพร้าวไว้เพื่อจุดให้ไส้ติดไฟอยู่ตลอดเวลาเป็นต้น.
หล่อลื่น เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เอาน้ำมันเป็นต้นใส่หรือทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อทำให้เคลื่อนไหวคล่อง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกนํ้ามันที่ทําให้เครื่องจักรเดินคล่องว่า นํ้ามันหล่อลื่น.หล่อลื่น ก. เอาน้ำมันเป็นต้นใส่หรือทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อทำให้เคลื่อนไหวคล่อง. ว. เรียกนํ้ามันที่ทําให้เครื่องจักรเดินคล่องว่า นํ้ามันหล่อลื่น.
หล่อเลี้ยง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ยังชีพไว้.หล่อเลี้ยง ก. ยังชีพไว้.
หล่อหลอม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง อบรมบ่มนิสัยให้จิตใจโน้มน้าวไปในทางใดทางหนึ่ง เช่น หล่อหลอมจิตใจให้เป็นคนดี, หลอม ก็ว่า.หล่อหลอม ก. อบรมบ่มนิสัยให้จิตใจโน้มน้าวไปในทางใดทางหนึ่ง เช่น หล่อหลอมจิตใจให้เป็นคนดี, หลอม ก็ว่า.
หล่อเหลา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามสมส่วน.หล่อเหลา (ปาก) ว. งามสมส่วน.
หลอก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ [หฺลอก] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เข้าใจผิดสําคัญผิด เช่น หลอกขายของปลอม, ทําให้ตกใจ เช่น ผีหลอก, ล้อ เช่น แลบลิ้นหลอก; ขัดกัน เช่น สีหลอกกัน.หลอก ๑ [หฺลอก] ก. ทําให้เข้าใจผิดสําคัญผิด เช่น หลอกขายของปลอม, ทําให้ตกใจ เช่น ผีหลอก, ล้อ เช่น แลบลิ้นหลอก; ขัดกัน เช่น สีหลอกกัน.
หลอกตา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้เห็นขนาด ระยะทาง เป็นต้น ผิดไปจากความเป็นจริง เช่น ที่แปลงนี้หลอกตา ดูเล็กนิดเดียวแต่มีเนื้อที่หลายไร่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำให้เห็นขนาดหรือรูปร่างผิดไปจากความเป็นจริง เช่น เสื้อตัวนี้หลอกตา ใส่แล้วดูผอม กระจกหลอกตา.หลอกตา ก. ทำให้เห็นขนาด ระยะทาง เป็นต้น ผิดไปจากความเป็นจริง เช่น ที่แปลงนี้หลอกตา ดูเล็กนิดเดียวแต่มีเนื้อที่หลายไร่. ว. ที่ทำให้เห็นขนาดหรือรูปร่างผิดไปจากความเป็นจริง เช่น เสื้อตัวนี้หลอกตา ใส่แล้วดูผอม กระจกหลอกตา.
หลอกลวง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้อุบายทุจริตลวงให้เข้าใจผิด, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าใจผิด.หลอกลวง ก. ใช้อุบายทุจริตลวงให้เข้าใจผิด, (กฎ) แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงที่ควรบอกให้แจ้ง เพื่อให้บุคคลอื่นเข้าใจผิด.
หลอกล่อ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง หลอกให้เชื่อโดยมีเครื่องจูงใจ, ล่อหลอก ก็ว่า.หลอกล่อ ก. หลอกให้เชื่อโดยมีเครื่องจูงใจ, ล่อหลอก ก็ว่า.
หลอกหลอน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เกิดปรากฏการณ์ที่ทำให้สะดุ้งตกใจกลัว เช่น ถูกผีหลอกหลอน, อาการที่ภาพหรือเสียงอันน่ากลัว น่าหวาดเสียว หรือสะเทือนใจที่ตนเคยประสบมา คอยรบกวนจิตใจอยู่ เช่น ภาพเด็กที่ถูกรถชนตายมาคอยหลอกหลอนจิตใจอยู่ตลอดเวลา.หลอกหลอน ก. เกิดปรากฏการณ์ที่ทำให้สะดุ้งตกใจกลัว เช่น ถูกผีหลอกหลอน, อาการที่ภาพหรือเสียงอันน่ากลัว น่าหวาดเสียว หรือสะเทือนใจที่ตนเคยประสบมา คอยรบกวนจิตใจอยู่ เช่น ภาพเด็กที่ถูกรถชนตายมาคอยหลอกหลอนจิตใจอยู่ตลอดเวลา.
หลอก ๒, หลอก ๆ หลอก ความหมายที่ ๒ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ หลอก ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่จริง เช่น เผาหลอก, เล่น ๆ เช่น ทําหลอก ๆ ชกกันหลอก ๆ.หลอก ๒, หลอก ๆ ว. ไม่จริง เช่น เผาหลอก, เล่น ๆ เช่น ทําหลอก ๆ ชกกันหลอก ๆ.
หลอกล้อ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ทำกิริยาอาการเย้าเล่น, ล้อหลอก ก็ว่า.หลอกล้อ ก. ทำกิริยาอาการเย้าเล่น, ล้อหลอก ก็ว่า.
หลอกเล่น เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาหรือวาจาเพื่อความสนุก, ล้อเล่น ก็ว่า.หลอกเล่น ก. แสดงกิริยาหรือวาจาเพื่อความสนุก, ล้อเล่น ก็ว่า.
หลอด เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ [หฺลอด] เป็นคำนาม หมายถึง ของกลมยาวขนาดเล็กที่มีรูตลอด เช่น หลอดกาแฟ หลอดแก้ว, โดยปริยายเรียกสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หลอดตะเกียง หลอดไฟฟ้า หลอดวิทยุ หลอดนีออน หลอดทดลอง, เรียกแกนที่มีช่วงกลางคอดคล้ายลูกล้อสำหรับพันด้ายว่า หลอดด้าย, เรียกด้ายที่พันหลอดเช่นนั้นว่า ด้ายหลอด, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ยาฉีด ๓ หลอด.หลอด ๑ [หฺลอด] น. ของกลมยาวขนาดเล็กที่มีรูตลอด เช่น หลอดกาแฟ หลอดแก้ว, โดยปริยายเรียกสิ่งของบางอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น หลอดตะเกียง หลอดไฟฟ้า หลอดวิทยุ หลอดนีออน หลอดทดลอง, เรียกแกนที่มีช่วงกลางคอดคล้ายลูกล้อสำหรับพันด้ายว่า หลอดด้าย, เรียกด้ายที่พันหลอดเช่นนั้นว่า ด้ายหลอด, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ยาฉีด ๓ หลอด.
หลอดลม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่าง อยู่ระหว่างท่อลมส่วนอกกับถุงลมปอด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ bronchus เขียนว่า บี-อา-โอ-เอ็น-ซี-เอช-ยู-เอส lower เขียนว่า แอล-โอ-ดับเบิลยู-อี-อา airways เขียนว่า เอ-ไอ-อา-ดับเบิลยู-เอ-วาย-เอส .หลอดลม น. ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่าง อยู่ระหว่างท่อลมส่วนอกกับถุงลมปอด. (อ. bronchus, lower airways).
หลอดลมฝอย เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า-ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่างในปอด ขนาดไม่เกิน ๑ มิลลิเมตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ bronchiole เขียนว่า บี-อา-โอ-เอ็น-ซี-เอช-ไอ-โอ-แอล-อี.หลอดลมฝอย น. ทางเดินอากาศหายใจส่วนล่างในปอด ขนาดไม่เกิน ๑ มิลลิเมตร. (อ. bronchiole).
หลอดเลือด เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของร่างกายที่มีลักษณะเป็นหลอดสำหรับนำเลือดไปสู่หรือออกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, เส้นเลือด ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ blood เขียนว่า บี-แอล-โอ-โอ-ดี vessel เขียนว่า วี-อี-เอส-เอส-อี-แอล .หลอดเลือด น. ส่วนของร่างกายที่มีลักษณะเป็นหลอดสำหรับนำเลือดไปสู่หรือออกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, เส้นเลือด ก็เรียก. (อ. blood vessel).
หลอดอาหาร เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ทางเดินอาหารอยู่ระหว่างคอหอยส่วนล่างกับกระเพาะอาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ oesophagus เขียนว่า โอ-อี-เอส-โอ-พี-เอช-เอ-จี-ยู-เอส esophagus เขียนว่า อี-เอส-โอ-พี-เอช-เอ-จี-ยู-เอส .หลอดอาหาร น. ทางเดินอาหารอยู่ระหว่างคอหอยส่วนล่างกับกระเพาะอาหาร. (อ. oesophagus, esophagus).
หลอด เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในสกุล Solen วงศ์ Solenidae เปลือกประกบกันเป็นรูปทรงกระบอกเปิดหัวเปิดท้าย หัวเปิดมีท่อสำหรับทางน้ำเข้าออก ท้ายเปิดสําหรับยื่นตีนขุดดินโคลนฝังตัว เช่น ชนิด S. strictus ซึ่งพบมากที่ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม.หลอด ๒ น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ในสกุล Solen วงศ์ Solenidae เปลือกประกบกันเป็นรูปทรงกระบอกเปิดหัวเปิดท้าย หัวเปิดมีท่อสำหรับทางน้ำเข้าออก ท้ายเปิดสําหรับยื่นตีนขุดดินโคลนฝังตัว เช่น ชนิด S. strictus ซึ่งพบมากที่ดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม.
หลอน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู[หฺลอน] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ภาพซึ่งน่ากลัวหรือน่าสะเทือนใจคงอยู่ในมโนภาพ เช่น ภาพที่เด็กถูกรถทับตายต่อหน้าต่อตามาหลอนอยู่ตลอดเวลา.หลอน [หฺลอน] ก. อาการที่ภาพซึ่งน่ากลัวหรือน่าสะเทือนใจคงอยู่ในมโนภาพ เช่น ภาพที่เด็กถูกรถทับตายต่อหน้าต่อตามาหลอนอยู่ตลอดเวลา.
หล็อน, หล็อน ๆ หล็อน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-นอ-หนู หล็อน ๆ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น้อยไป, เล็กไป, เช่น ของนี้หล็อนมือ, ไม่สมส่วน เช่น แจกันใบใหญ่ มีดอกไม้ปักอยู่ ๒–๓ ดอก ดูแล้วหล็อนตา; รู้สึกว่าไม่เป็นไปตามที่ควรจะมีจะเป็น เช่น เคยสวมนาฬิกาข้อมือทุกวัน แต่วันนี้ลืมสวม เลยรู้สึกหล็อน ๆ มือ.หล็อน, หล็อน ๆ ว. น้อยไป, เล็กไป, เช่น ของนี้หล็อนมือ, ไม่สมส่วน เช่น แจกันใบใหญ่ มีดอกไม้ปักอยู่ ๒–๓ ดอก ดูแล้วหล็อนตา; รู้สึกว่าไม่เป็นไปตามที่ควรจะมีจะเป็น เช่น เคยสวมนาฬิกาข้อมือทุกวัน แต่วันนี้ลืมสวม เลยรู้สึกหล็อน ๆ มือ.
หล่อน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เพศหญิง สําหรับผู้ใหญ่ใช้เรียกผู้น้อย เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง สรรพนามบุรุษที่ ๒ และที่ ๓ ใช้เรียกได้ทั้งบุรุษและสตรี เช่น จงทรงพระกรุณาโปรด ขอประทานโทษเจ้าเวสสันดร หล่อนกระทำละเมิดจิตผิดกระทรวง. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์.หล่อน ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย เพศหญิง สําหรับผู้ใหญ่ใช้เรียกผู้น้อย เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, (โบ) สรรพนามบุรุษที่ ๒ และที่ ๓ ใช้เรียกได้ทั้งบุรุษและสตรี เช่น จงทรงพระกรุณาโปรด ขอประทานโทษเจ้าเวสสันดร หล่อนกระทำละเมิดจิตผิดกระทรวง. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์).
หลอม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า[หฺลอม] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ละลายด้วยความร้อน เช่น เขาหลอมทองคำด้วยไฟพ่นจากเป่าแล่น, โดยปริยายหมายถึงอบรมบ่มนิสัยให้มีจิตใจโน้มน้าวไปทางใดทางหนึ่ง เช่น หลอมความคิด หลอมจิตใจ, หล่อหลอม ก็ว่า.หลอม [หฺลอม] ก. ทําให้ละลายด้วยความร้อน เช่น เขาหลอมทองคำด้วยไฟพ่นจากเป่าแล่น, โดยปริยายหมายถึงอบรมบ่มนิสัยให้มีจิตใจโน้มน้าวไปทางใดทางหนึ่ง เช่น หลอมความคิด หลอมจิตใจ, หล่อหลอม ก็ว่า.
หลอมตัว เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง ละลายรวมกัน, เปลี่ยนภาวะเป็นของเหลวด้วยความร้อน เช่น เขาใช้ไฟจากเป่าแล่นพ่นจนทองคำหลอมตัว.หลอมตัว ก. ละลายรวมกัน, เปลี่ยนภาวะเป็นของเหลวด้วยความร้อน เช่น เขาใช้ไฟจากเป่าแล่นพ่นจนทองคำหลอมตัว.
หลอมละลาย, หลอมเหลว หลอมละลาย เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก หลอมเหลว เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวว่า จุดหลอมละลาย จุดหลอมเหลว ขีดหลอมละลาย หรือ ขีดหลอมเหลว.หลอมละลาย, หลอมเหลว (วิทยา) ก. เปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว. น. เรียกอุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวว่า จุดหลอมละลาย จุดหลอมเหลว ขีดหลอมละลาย หรือ ขีดหลอมเหลว.
หละ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[หฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคที่เป็นแก่เด็กอ่อน เกิดจากสายสะดือเป็นพิษ มีอาการลิ้นกระด้างคางแข็ง.หละ [หฺละ] น. ชื่อโรคที่เป็นแก่เด็กอ่อน เกิดจากสายสะดือเป็นพิษ มีอาการลิ้นกระด้างคางแข็ง.
หละหลวม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-มอ-ม้า[หฺละหฺลวม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะเพร่า, ไม่ถ้วนถี่, ไม่รอบคอบ, เช่น ทำงานหละหลวม, ไม่รัดกุม เช่น งานรักษาความปลอดภัยในพิธีนี้หละหลวมมาก.หละหลวม [หฺละหฺลวม] ว. สะเพร่า, ไม่ถ้วนถี่, ไม่รอบคอบ, เช่น ทำงานหละหลวม, ไม่รัดกุม เช่น งานรักษาความปลอดภัยในพิธีนี้หละหลวมมาก.
หลัก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก; เครื่องหมาย เช่น หลักเขต; เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดํารงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว; สาระที่มั่นคง เช่น พูดจาไม่มีหลัก หลักกฎหมาย หลักเศรษฐศาสตร์.หลัก ๑ น. เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก; เครื่องหมาย เช่น หลักเขต; เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดํารงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว; สาระที่มั่นคง เช่น พูดจาไม่มีหลัก หลักกฎหมาย หลักเศรษฐศาสตร์.
หลักการ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สาระสำคัญที่ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เช่น คณะกรรมการลงมติรับหลักการตามที่มีผู้เสนอ.หลักการ น. สาระสำคัญที่ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เช่น คณะกรรมการลงมติรับหลักการตามที่มีผู้เสนอ.
หลักเกณฑ์ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง หลักที่กำหนดไว้เพื่อใช้วินิจฉัยและปฏิบัติตาม.หลักเกณฑ์ น. หลักที่กำหนดไว้เพื่อใช้วินิจฉัยและปฏิบัติตาม.
หลักแจว เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง หลักไม้เนื้อแข็งที่มักปักไว้ริมกราบท้ายเรือสําหรับยึดแจว; ชื่อทรงผมแบบหนึ่ง. ในวงเล็บ ดู ผมหลักแจว เขียนว่า ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-วอ-แหวน.หลักแจว น. หลักไม้เนื้อแข็งที่มักปักไว้ริมกราบท้ายเรือสําหรับยึดแจว; ชื่อทรงผมแบบหนึ่ง. (ดู ผมหลักแจว).
หลักชัย เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หลักที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ, โดยปริยายหมายถึงบุคคลที่เป็นหลักยึดเหนี่ยวเพื่อชัยชนะ เช่น พระมหากษัตริย์ทรงเป็นหลักชัยของชาติ; จุดที่หมายแห่งความสำเร็จ เช่น เมื่อศึกษาจบปริญญาตรีก็เท่ากับบรรลุหลักชัยไปขั้นหนึ่งแล้ว.หลักชัย ๑ น. หลักที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ, โดยปริยายหมายถึงบุคคลที่เป็นหลักยึดเหนี่ยวเพื่อชัยชนะ เช่น พระมหากษัตริย์ทรงเป็นหลักชัยของชาติ; จุดที่หมายแห่งความสำเร็จ เช่น เมื่อศึกษาจบปริญญาตรีก็เท่ากับบรรลุหลักชัยไปขั้นหนึ่งแล้ว.
หลักฐาน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พื้นเพมั่นคง เช่น พ่อแม่เขาเป็นคนมีหลักฐาน, ความมั่นคงอันเป็นพื้นที่ตั้ง เช่น เขามีอาชีพการงานเป็นหลักฐาน; เครื่องแสดงประกอบเพื่อยืนยัน เช่น เขาถูกกล่าวหาโดยไม่มีหลักฐาน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง สิ่งที่ใช้พิสูจน์ความถูกต้องหรือความจริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ evidence เขียนว่า อี-วี-ไอ-ดี-อี-เอ็น-ซี-อี.หลักฐาน น. พื้นเพมั่นคง เช่น พ่อแม่เขาเป็นคนมีหลักฐาน, ความมั่นคงอันเป็นพื้นที่ตั้ง เช่น เขามีอาชีพการงานเป็นหลักฐาน; เครื่องแสดงประกอบเพื่อยืนยัน เช่น เขาถูกกล่าวหาโดยไม่มีหลักฐาน; (กฎ) สิ่งที่ใช้พิสูจน์ความถูกต้องหรือความจริง. (อ. evidence).
หลักตอ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง อุปสรรคขัดขวาง.หลักตอ น. อุปสรรคขัดขวาง.
หลักทรัพย์ เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตราสารหรือหลักฐานแสดงสิทธิในทรัพย์สิน เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้น หุ้นกู้ หน่วยลงทุน ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นกู้ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหน่วยลงทุน.หลักทรัพย์ (กฎ) น. ตราสารหรือหลักฐานแสดงสิทธิในทรัพย์สิน เช่น ตั๋วเงินคลัง พันธบัตร ตั๋วเงิน หุ้น หุ้นกู้ หน่วยลงทุน ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้น ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นกู้ ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหน่วยลงทุน.
หลักบ้านหลักเมือง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในการปกครองบ้านเมือง.หลักบ้านหลักเมือง (ปาก) น. ผู้เป็นใหญ่ในการปกครองบ้านเมือง.
หลักประกัน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง หลักทรัพย์เพื่อความมั่นคง; สิ่งที่ยึดถือเพื่อความมั่นคง เช่น ถ้าไม่ใช่คนมั่งมี ก็ควรมีวิชาไว้เป็นหลักประกัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เงินสดหรือหลักทรัพย์ที่นํามาประกันตัวผู้ต้องหาหรือจําเลยหรือประกันการชําระหนี้.หลักประกัน น. หลักทรัพย์เพื่อความมั่นคง; สิ่งที่ยึดถือเพื่อความมั่นคง เช่น ถ้าไม่ใช่คนมั่งมี ก็ควรมีวิชาไว้เป็นหลักประกัน; (กฎ) เงินสดหรือหลักทรัพย์ที่นํามาประกันตัวผู้ต้องหาหรือจําเลยหรือประกันการชําระหนี้.
หลักพยาน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประกอบการพิสูจน์ ได้แก่พยานบุคคล พยานวัตถุ และพยานเอกสาร.หลักพยาน น. เครื่องประกอบการพิสูจน์ ได้แก่พยานบุคคล พยานวัตถุ และพยานเอกสาร.
หลักเมือง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ยกตั้งขึ้นเพื่อแสดงว่าจะสร้างเมืองที่ตรงนั้นอย่างแน่นอน.หลักเมือง น. เสาที่ยกตั้งขึ้นเพื่อแสดงว่าจะสร้างเมืองที่ตรงนั้นอย่างแน่นอน.
หลักลอย เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีหลักแหล่ง, ไม่อยู่เป็นที่, เชื่อถือไม่ได้, เช่น เขาเป็นคนหลักลอย.หลักลอย ว. ไม่มีหลักแหล่ง, ไม่อยู่เป็นที่, เชื่อถือไม่ได้, เช่น เขาเป็นคนหลักลอย.
หลักวิชา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ที่เป็นหลักของแต่ละวิชา.หลักวิชา น. ความรู้ที่เป็นหลักของแต่ละวิชา.
หลักสูตร เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ประมวลวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ในการศึกษาเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง.หลักสูตร น. ประมวลวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ในการศึกษาเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง.
หลักแหล่ง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งอยู่ประจํา เช่น ทำงานเป็นหลักแหล่ง ตั้งบ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง.หลักแหล่ง น. ที่ซึ่งอยู่ประจํา เช่น ทำงานเป็นหลักแหล่ง ตั้งบ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง.
หลักแหลม เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คมคาย เช่น วาจาหลักแหลม, เฉียบแหลม เช่น ความคิดหลักแหลม, แหลมหลัก ก็ว่า.หลักแหลม ว. คมคาย เช่น วาจาหลักแหลม, เฉียบแหลม เช่น ความคิดหลักแหลม, แหลมหลัก ก็ว่า.
หลัก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจํานวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จํานวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จํานวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจํานวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗.หลัก ๒ น. ตําแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจํานวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จํานวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จํานวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจํานวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗.
หลัก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จํานวนแสน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ลกฺข เขียนว่า ลอ-ลิง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่ และมาจากภาษาสันสกฤต ลกฺษ เขียนว่า ลอ-ลิง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี.หลัก ๓ (โบ) ว. จํานวนแสน. (ป. ลกฺข; ส. ลกฺษ).
หลักชัย เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ความหมายที่ ดูใน หลัก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑.หลักชัย ๑ ดูใน หลัก ๑.
หลักชัย เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศรวณะ มี ๓ ดวง, ดาวพระฤๅษี ดาวศระวณ หรือ ดาวสาวนะ ก็เรียก.หลักชัย ๒ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ศรวณะ มี ๓ ดวง, ดาวพระฤๅษี ดาวศระวณ หรือ ดาวสาวนะ ก็เรียก.
หลัง เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ซีกของกายที่ตรงข้ามกับหน้าอก; ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับด้านหน้าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง; ส่วนเบื้องบน เช่น หลังมือ หลังเท้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ตรงข้ามกับ ข้างหน้า, ตรงข้ามกับ ก่อน (ใช้แก่เวลาที่ผ่านพ้นไปแล้ว), ในลําดับถัดไป เช่น คนหลัง; ลักษณนามเรียกเรือนหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างเรือนว่า หลัง เช่น เรือนหลังหนึ่ง ศาลา ๒ หลัง.หลัง ๑ น. ซีกของกายที่ตรงข้ามกับหน้าอก; ด้านที่อยู่ตรงข้ามกับด้านหน้าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง; ส่วนเบื้องบน เช่น หลังมือ หลังเท้า. ว. อยู่ตรงข้ามกับ ข้างหน้า, ตรงข้ามกับ ก่อน (ใช้แก่เวลาที่ผ่านพ้นไปแล้ว), ในลําดับถัดไป เช่น คนหลัง; ลักษณนามเรียกเรือนหรือสิ่งที่มีลักษณะอย่างเรือนว่า หลัง เช่น เรือนหลังหนึ่ง ศาลา ๒ หลัง.
หลังคา เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนเบื้องบนของเรือนเป็นต้น สําหรับบังแดดและฝน.หลังคา น. ส่วนเบื้องบนของเรือนเป็นต้น สําหรับบังแดดและฝน.
หลังคาเรือน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรือนหรืออาคารที่ถือเอาทะเบียนบ้านเป็นหลักในการนับ เช่น หมู่บ้านนี้มี ๓๐ หลังคาเรือน.หลังคาเรือน น. เรือนหรืออาคารที่ถือเอาทะเบียนบ้านเป็นหลักในการนับ เช่น หมู่บ้านนี้มี ๓๐ หลังคาเรือน.
หลังจาก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ เป็นคำสันธาน หมายถึง ภายหลัง.หลังจาก สัน. ภายหลัง.
หลังฉัตร เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่เป็นพื้นราบรอบปุ่มฆ้อง, ชานฉัตร ก็ว่า.หลังฉัตร น. ส่วนที่เป็นพื้นราบรอบปุ่มฆ้อง, ชานฉัตร ก็ว่า.
หลังฉาก เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่แสดงให้ปรากฏเปิดเผย เช่น เขาทำเป็นเศรษฐีใช้จ่ายฟุ่มเฟือย แต่ฐานะหลังฉากเต็มไปด้วยหนี้สิน, ตรงข้ามกับ หน้าฉาก. เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นไปหรือพฤติกรรมที่ไม่เปิดเผย, ตรงข้ามกับ หน้าฉาก.หลังฉาก (สำ) ว. ที่ไม่แสดงให้ปรากฏเปิดเผย เช่น เขาทำเป็นเศรษฐีใช้จ่ายฟุ่มเฟือย แต่ฐานะหลังฉากเต็มไปด้วยหนี้สิน, ตรงข้ามกับ หน้าฉาก. น. ความเป็นไปหรือพฤติกรรมที่ไม่เปิดเผย, ตรงข้ามกับ หน้าฉาก.
หลังเต่า เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะนูนโค้งขึ้น เช่น ถนนเป็นหลังเต่า ทับทิมเม็ดนี้เจียระไนแบบหลังเต่า. เป็นคำนาม หมายถึง สันดอน.หลังเต่า ว. มีลักษณะนูนโค้งขึ้น เช่น ถนนเป็นหลังเต่า ทับทิมเม็ดนี้เจียระไนแบบหลังเต่า. น. สันดอน.
หลังบ้าน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ภรรยาของผู้มีอำนาจในวงราชการบ้านเมือง.หลังบ้าน (ปาก) น. ภรรยาของผู้มีอำนาจในวงราชการบ้านเมือง.
หลังยาว เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนเกียจคร้านเอาแต่นอนว่า ขี้เกียจหลังยาว, ขี้เกียจสันหลังยาว ก็ว่า.หลังยาว (สำ) ว. เรียกคนเกียจคร้านเอาแต่นอนว่า ขี้เกียจหลังยาว, ขี้เกียจสันหลังยาว ก็ว่า.
หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน เขียนว่า หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ต้องตรากตรำทำงานหนัก มักหมายถึง ชาวไร่ชาวนา ซึ่งในเวลาทำไร่ทำนาหลังต้องสู้กับแดด และหน้าต้องก้มลงดิน.หลังสู้ฟ้าหน้าสู้ดิน (สำ) ว. ที่ต้องตรากตรำทำงานหนัก มักหมายถึง ชาวไร่ชาวนา ซึ่งในเวลาทำไร่ทำนาหลังต้องสู้กับแดด และหน้าต้องก้มลงดิน.