เส้นผ่านศูนย์กลาง, เส้นผ่าศูนย์กลาง เส้นผ่านศูนย์กลาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู เส้นผ่าศูนย์กลาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง คอร์ดของวงกลมหรือของวงรี ซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลาง. | เส้นผ่านศูนย์กลาง, เส้นผ่าศูนย์กลาง (คณิต) น. คอร์ดของวงกลมหรือของวงรี ซึ่งลากผ่านจุดศูนย์กลาง. |
เส้นแผลง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-งอ-งู | [แผฺลง] เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่เยื้องไปเยื้องมามีลักษณะเหมือนฟันปลา ใช้เขียนแบ่งภาพเป็นตอน ๆ ในงานจิตรกรรมฝาผนัง. | เส้นแผลง [แผฺลง] น. เส้นที่เยื้องไปเยื้องมามีลักษณะเหมือนฟันปลา ใช้เขียนแบ่งภาพเป็นตอน ๆ ในงานจิตรกรรมฝาผนัง. |
เส้นยาแดงผ่าแปด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียดกันนิดเดียว เช่น เขายิงพลาดเป้าไปเพียงเส้นยาแดงผ่าแปด; เล็กมาก, ละเอียดมาก, เช่น เรื่องนี้ไม่ต้องอธิบายถี่ถ้วนอย่างเส้นยาแดงผ่าแปด, เส้นผมผ่าแปด ก็ว่า. | เส้นยาแดงผ่าแปด (ปาก) ว. เฉียดกันนิดเดียว เช่น เขายิงพลาดเป้าไปเพียงเส้นยาแดงผ่าแปด; เล็กมาก, ละเอียดมาก, เช่น เรื่องนี้ไม่ต้องอธิบายถี่ถ้วนอย่างเส้นยาแดงผ่าแปด, เส้นผมผ่าแปด ก็ว่า. |
เส้นยึด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อึ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง อาการที่เส้นตึงหรือแข็งยึดทำให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก. | เส้นยึด น. อาการที่เส้นตึงหรือแข็งยึดทำให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก. |
เส้นใย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง วัสดุที่เป็นเส้น ใช้ประโยชน์นําไปทําสิ่งทอเช่นเสื้อผ้า พรม แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เส้นใยธรรมชาติ ประเภทนี้มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น เส้นใยที่ได้จากขนสัตว์ ฝ้าย นุ่น ป่าน ปอ ไหม แร่ซิลิเกต และเส้นใยสังเคราะห์ ประเภทนี้ไม่มีในธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่สร้างขึ้นโดยวิธีทางเคมี เช่น ไนลอน ไหมเทียม เส้นใยแก้ว. | เส้นใย น. วัสดุที่เป็นเส้น ใช้ประโยชน์นําไปทําสิ่งทอเช่นเสื้อผ้า พรม แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ เส้นใยธรรมชาติ ประเภทนี้มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น เส้นใยที่ได้จากขนสัตว์ ฝ้าย นุ่น ป่าน ปอ ไหม แร่ซิลิเกต และเส้นใยสังเคราะห์ ประเภทนี้ไม่มีในธรรมชาติ เป็นเส้นใยที่สร้างขึ้นโดยวิธีทางเคมี เช่น ไนลอน ไหมเทียม เส้นใยแก้ว. |
เส้นใยแก้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นใยสังเคราะห์ทําจากแก้วให้เป็นเส้นเล็ก ๆ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า (รูปภาพ เศษ ๑ ส่วน ๔๐๐) เซนติเมตร นําไปทอให้เป็นแผ่นแล้วชุบฉาบด้วยเรซินซึ่งเป็นสารประเภทพลาสติก ผลที่ได้เป็นแผ่นวัสดุที่เหนียวแข็งแรง ใช้ประโยชน์ทําเป็นแผ่นฉนวนความร้อน กันเสียง เสื้อเกราะกันกระสุน สร้างเรือขนาดเล็ก สร้างส่วนตัวถังรถยนต์ เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ glass เขียนว่า จี-แอล-เอ-เอส-เอส fibre เขียนว่า เอฟ-ไอ-บี-อา-อี . | เส้นใยแก้ว น. เส้นใยสังเคราะห์ทําจากแก้วให้เป็นเส้นเล็ก ๆ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า (รูปภาพ เศษ ๑ ส่วน ๔๐๐) เซนติเมตร นําไปทอให้เป็นแผ่นแล้วชุบฉาบด้วยเรซินซึ่งเป็นสารประเภทพลาสติก ผลที่ได้เป็นแผ่นวัสดุที่เหนียวแข็งแรง ใช้ประโยชน์ทําเป็นแผ่นฉนวนความร้อน กันเสียง เสื้อเกราะกันกระสุน สร้างเรือขนาดเล็ก สร้างส่วนตัวถังรถยนต์ เป็นต้น. (อ. glass fibre). |
เส้นรอบวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นโค้งที่เป็นแนวขอบทั้งหมดของรูปวงกลมหรือของวงรี. | เส้นรอบวง (คณิต) น. เส้นโค้งที่เป็นแนวขอบทั้งหมดของรูปวงกลมหรือของวงรี. |
เส้นรัศมี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใด ๆ บนเส้นรอบวง. | เส้นรัศมี (คณิต) น. เส้นตรงที่เชื่อมจุดศูนย์กลางของวงกลมกับจุดใด ๆ บนเส้นรอบวง. |
เส้นรุ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ละติจูด. | เส้นรุ้ง น. ละติจูด. |
เส้นแร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่แกะบนไม้หรือบนผิวโลหะ. | เส้นแร น. เส้นที่แกะบนไม้หรือบนผิวโลหะ. |
เส้นลายมือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง รอยเส้นที่ฝ่ามือและนิ้ว, ลายมือ ก็ว่า, ราชาศัพท์ใช้ว่า เส้นลายพระหัตถ์. | เส้นลายมือ น. รอยเส้นที่ฝ่ามือและนิ้ว, ลายมือ ก็ว่า, ราชาศัพท์ใช้ว่า เส้นลายพระหัตถ์. |
เส้นลึก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําให้รู้สึกขันหรือหัวเราะได้ยาก เช่น เขาเป็นคนเส้นลึก แม้จะได้ยินเรื่องขำขันอย่างไรก็ไม่หัวเราะ; อาการที่เก็บความรู้สึกได้ดีจนยากที่จะสังเกตได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจสิ่งใด เช่น เขาจับเส้นเจ้านายไม่ถูก เพราะเป็นคนเส้นลึกมาก. เป็นคำนาม หมายถึง เส้นที่อยู่ในตำแหน่งลึกของร่างกาย เช่นอยู่ชิดหรือใกล้ซอกกระดูกหรือในท้อง ทำให้กดหรือจับยาก. | เส้นลึก ว. ที่ทําให้รู้สึกขันหรือหัวเราะได้ยาก เช่น เขาเป็นคนเส้นลึก แม้จะได้ยินเรื่องขำขันอย่างไรก็ไม่หัวเราะ; อาการที่เก็บความรู้สึกได้ดีจนยากที่จะสังเกตได้ว่าพอใจหรือไม่พอใจสิ่งใด เช่น เขาจับเส้นเจ้านายไม่ถูก เพราะเป็นคนเส้นลึกมาก. น. เส้นที่อยู่ในตำแหน่งลึกของร่างกาย เช่นอยู่ชิดหรือใกล้ซอกกระดูกหรือในท้อง ทำให้กดหรือจับยาก. |
เส้นเลือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง หลอดเลือด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ blood เขียนว่า บี-แอล-โอ-โอ-ดี vessel เขียนว่า วี-อี-เอส-เอส-อี-แอล , โดยปริยายหมายถึงเส้นทางนําความสมบูรณ์ไปหล่อเลี้ยงแหล่งต่าง ๆ เช่น แม่นํ้าเจ้าพระยาเป็นเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงภาคกลางของประเทศไทย. | เส้นเลือด น. หลอดเลือด. (อ. blood vessel), โดยปริยายหมายถึงเส้นทางนําความสมบูรณ์ไปหล่อเลี้ยงแหล่งต่าง ๆ เช่น แม่นํ้าเจ้าพระยาเป็นเส้นเลือดใหญ่หล่อเลี้ยงภาคกลางของประเทศไทย. |
เส้นวันที่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในภูมิศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นสมมุติซึ่งนานาชาติได้ตกลงกันโดยกําหนดให้ใช้เป็นเขตการเปลี่ยนวันที่เมื่อเดินทางข้ามเส้นนี้ไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ date เขียนว่า ดี-เอ-ที-อี line เขียนว่า แอล-ไอ-เอ็น-อี . | เส้นวันที่ (ภูมิ) น. เส้นสมมุติซึ่งนานาชาติได้ตกลงกันโดยกําหนดให้ใช้เป็นเขตการเปลี่ยนวันที่เมื่อเดินทางข้ามเส้นนี้ไป. (อ. date line). |
เส้นแวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ลองจิจูด. | เส้นแวง น. ลองจิจูด. |
เส้นศูนย์สูตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นวงกลมสมมุติที่ลากรอบโลก และแบ่งโลกออกเป็นส่วนซีกโลกเหนือกับส่วนซีกโลกใต้. | เส้นศูนย์สูตร น. เส้นวงกลมสมมุติที่ลากรอบโลก และแบ่งโลกออกเป็นส่วนซีกโลกเหนือกับส่วนซีกโลกใต้. |
เส้นสมมาตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงซึ่งแบ่งรูปใด ๆ ออกเป็น ๒ ส่วนที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากันทุกประการ. | เส้นสมมาตร น. เส้นตรงซึ่งแบ่งรูปใด ๆ ออกเป็น ๒ ส่วนที่มีรูปร่างและขนาดเท่ากันทุกประการ. |
เส้นสัมผัส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เส้นตรงที่ตัดเส้นโค้งเส้นหนึ่ง ณ ตำแหน่งที่จุดตัดทั้ง ๒ ใกล้ชิดกันมากจนถือได้ว่าเป็นจุดเดียวกัน. | เส้นสัมผัส (คณิต) น. เส้นตรงที่ตัดเส้นโค้งเส้นหนึ่ง ณ ตำแหน่งที่จุดตัดทั้ง ๒ ใกล้ชิดกันมากจนถือได้ว่าเป็นจุดเดียวกัน. |
เส้นสาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ระบบเส้นของร่างกาย โดยปริยายหมายความว่า พวกพ้องหรือผู้ช่วยเหลือที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้ได้. | เส้นสาย น. ระบบเส้นของร่างกาย โดยปริยายหมายความว่า พวกพ้องหรือผู้ช่วยเหลือที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้ได้. |
เส้นเสียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นเอ็นบาง ๆ ที่อยู่ในกล่องเสียง เป็นส่วนสำคัญในการเปล่งเสียง. | เส้นเสียง น. แผ่นเอ็นบาง ๆ ที่อยู่ในกล่องเสียง เป็นส่วนสำคัญในการเปล่งเสียง. |
เส้นหมี่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง แป้งข้าวเจ้าที่โรยเป็นเส้นลงในนํ้าเดือดพอสุกแล้วนํามาตากแห้ง. | เส้นหมี่ น. แป้งข้าวเจ้าที่โรยเป็นเส้นลงในนํ้าเดือดพอสุกแล้วนํามาตากแห้ง. |
เส้นเอ็น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เอ็น. | เส้นเอ็น น. เอ็น. |
เส้นฮ่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ฮอ-นก-ฮูก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ลายเส้นที่เขียนเป็นไพรคิ้ว ไพรปาก บนหน้าโขน ประกอบด้วยเส้นสีแดง ดินแดง และสีทอง, ลายฮ่อ ก็เรียก. | เส้นฮ่อ น. ลายเส้นที่เขียนเป็นไพรคิ้ว ไพรปาก บนหน้าโขน ประกอบด้วยเส้นสีแดง ดินแดง และสีทอง, ลายฮ่อ ก็เรียก. |
เสนง, เสน่ง เสนง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-งอ-งู เสน่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-งอ-งู | [สะเหฺนง, สะเหฺน่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เขาสัตว์, เขนง, แสนง ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | เสนง, เสน่ง [สะเหฺนง, สะเหฺน่ง] น. เขาสัตว์, เขนง, แสนง ก็ใช้. (ข.). |
เส้นด้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพยาธิชนิด Enterobius vermicularis ในวงศ์ Oxyuridae ลําตัวเรียวยาว สีขาวหม่น ตัวผู้ยาว ๒๕ มิลลิเมตร ตัวเมียยาว ๘๑๓ มิลลิเมตร หางแหลม เป็นปรสิตอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และลิงชิมแปนซี. | เส้นด้าย น. ชื่อพยาธิชนิด Enterobius vermicularis ในวงศ์ Oxyuridae ลําตัวเรียวยาว สีขาวหม่น ตัวผู้ยาว ๒๕ มิลลิเมตร ตัวเมียยาว ๘๑๓ มิลลิเมตร หางแหลม เป็นปรสิตอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และลิงชิมแปนซี. |
เสนห, เสนหา, เสน่หา เสนห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ เสนหา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา เสน่หา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | [สะเนหะ, สะเน, สะเหฺน่] เป็นคำนาม หมายถึง ความรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เสนห, เสนหา, เสน่หา [สะเนหะ, สะเน, สะเหฺน่] น. ความรัก. (ส.). |
เสน่ห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | [สะเหฺน่] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่ชวนให้รัก เช่น เธอเป็นคนมีเสน่ห์; วิธีการทางไสยศาสตร์ที่ทำให้คนอื่นรัก เช่น เขาถูกเสน่ห์. | เสน่ห์ [สะเหฺน่] น. ลักษณะที่ชวนให้รัก เช่น เธอเป็นคนมีเสน่ห์; วิธีการทางไสยศาสตร์ที่ทำให้คนอื่นรัก เช่น เขาถูกเสน่ห์. |
เสน่ห์ปลายจวัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เสน่ห์ที่เกิดจากฝีมือปรุงอาหารให้โอชารส. | เสน่ห์ปลายจวัก (สำ) น. เสน่ห์ที่เกิดจากฝีมือปรุงอาหารให้โอชารส. |
เสน่ห์จันทร์ขาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Alocasia lindenii Rod. ในวงศ์ Araceae, ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ก็เรียก. | เสน่ห์จันทร์ขาว น. ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Alocasia lindenii Rod. ในวงศ์ Araceae, ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ก็เรียก. |
เสน่ห์จันทร์แดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Homalomena rubescens Kunth ในวงศ์ Araceae เหง้ามีกลิ่นหอมใช้ทํายาได้, ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ก็เรียก. | เสน่ห์จันทร์แดง น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Homalomena rubescens Kunth ในวงศ์ Araceae เหง้ามีกลิ่นหอมใช้ทํายาได้, ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ก็เรียก. |
เสนอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง | [สะเหฺนอ] เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นเรื่องราว ความเห็น ญัตติ เป็นต้น เพื่อให้ทราบ ให้พิจารณา หรือให้สั่งการ เช่น เสนอรายงานการเดินทางให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เสนอโครงการให้พิจารณา เสนอบันทึกความเห็นเพื่อพิจารณาสั่งการ ลูก ๆ เสนอให้ไปพักผ่อนชายทะเล, แสดงให้เห็น เช่น เสนอตัวอย่างสินค้า เสนอละครเรื่องใหม่. | เสนอ [สะเหฺนอ] ก. ยื่นเรื่องราว ความเห็น ญัตติ เป็นต้น เพื่อให้ทราบ ให้พิจารณา หรือให้สั่งการ เช่น เสนอรายงานการเดินทางให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เสนอโครงการให้พิจารณา เสนอบันทึกความเห็นเพื่อพิจารณาสั่งการ ลูก ๆ เสนอให้ไปพักผ่อนชายทะเล, แสดงให้เห็น เช่น เสนอตัวอย่างสินค้า เสนอละครเรื่องใหม่. |
เสนอตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความจำนงมอบตัวให้พิจารณาเพื่อแต่งตั้งหรือรับไว้ทำงานเป็นต้น เช่น เขาเสนอตัวรับใช้ประชาชน เขาเสนอตัวเป็นนายกสมาคม. | เสนอตัว ก. แสดงความจำนงมอบตัวให้พิจารณาเพื่อแต่งตั้งหรือรับไว้ทำงานเป็นต้น เช่น เขาเสนอตัวรับใช้ประชาชน เขาเสนอตัวเป็นนายกสมาคม. |
เสนอหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงตัวให้ผู้มีอำนาจเหนือเห็นอยู่เสมอทั้ง ๆ ที่ตนเองมิได้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ตอบแทน, พยายามแสดงตัวให้ปรากฏต่อสาธารณชนอยู่เสมอ เช่น เวลาเขาถ่ายรูปกันจะต้องเสนอหน้าเข้าไปร่วมถ่ายรูปด้วย. | เสนอหน้า ก. แสดงตัวให้ผู้มีอำนาจเหนือเห็นอยู่เสมอทั้ง ๆ ที่ตนเองมิได้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ตอบแทน, พยายามแสดงตัวให้ปรากฏต่อสาธารณชนอยู่เสมอ เช่น เวลาเขาถ่ายรูปกันจะต้องเสนอหน้าเข้าไปร่วมถ่ายรูปด้วย. |
เสนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [เสนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เหยี่ยว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-นอ-หนู. | เสนะ [เสนะ] น. เหยี่ยว. (ป.; ส. เศฺยน). |
เสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | [เสนา] เป็นคำนาม หมายถึง ไพร่พล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เสนา ๑ [เสนา] น. ไพร่พล. (ป., ส.). |
เสนาธิการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ตำแหน่งนายทหารผู้ทำหน้าที่หาและให้ข่าวสารประมาณการ ให้ข้อเสนอแนะ ทำแผนและคำสั่ง กำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ และติดต่อประสานงานระหว่างผู้บังคับบัญชากับหน่วยทหาร แต่ไม่มีหน้าที่สั่งการบังคับบัญชาหน่วยทหาร. | เสนาธิการ น. ตำแหน่งนายทหารผู้ทำหน้าที่หาและให้ข่าวสารประมาณการ ให้ข้อเสนอแนะ ทำแผนและคำสั่ง กำกับดูแลทางฝ่ายอำนวยการ และติดต่อประสานงานระหว่างผู้บังคับบัญชากับหน่วยทหาร แต่ไม่มีหน้าที่สั่งการบังคับบัญชาหน่วยทหาร. |
เสนาธิปัต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ฉัตรผ้าขาวองค์ ๑ ใน ๓ องค์ ซึ่งเป็นชุดที่เรียกว่า พระกรรภิรมย์, เสมาธิปัต ก็ว่า. | เสนาธิปัต น. ฉัตรผ้าขาวองค์ ๑ ใน ๓ องค์ ซึ่งเป็นชุดที่เรียกว่า พระกรรภิรมย์, เสมาธิปัต ก็ว่า. |
เสนาบดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [บอดี] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง แม่ทัพ; ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่; เจ้ากระทรวงซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการในปัจจุบัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เสนาบดี [บอดี] (โบ) น. แม่ทัพ; ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่; เจ้ากระทรวงซึ่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการในปัจจุบัน. (ป., ส.). |
เสนาพยุห์, เสนาพยูห์ เสนาพยุห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เสนาพยูห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | [พะ] เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เสนาพยุห์, เสนาพยูห์ [พะ] น. กระบวนทัพ. (ป., ส.). |
เสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | [เสนา] เป็นคำนาม หมายถึง วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร แสฺร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ = นา . | เสนา ๒ [เสนา] น. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, แสนา ก็ว่า. (เทียบ ข. แสฺร = นา). |
เสน่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | [สะเหฺน่า] เป็นคำนาม หมายถึง มีดสั้นสำหรับเหน็บประจำตัว. | เสน่า [สะเหฺน่า] น. มีดสั้นสำหรับเหน็บประจำตัว. |
เสนากุฎ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา | [เสนากุด] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อทหารสมัยโบราณ พิมพ์เป็นลายสี รูปสิงห์ขบที่หน้าอกและต้นแขน สําหรับแต่งเข้ากระบวนแห่ของหลวง. | เสนากุฎ [เสนากุด] น. เสื้อทหารสมัยโบราณ พิมพ์เป็นลายสี รูปสิงห์ขบที่หน้าอกและต้นแขน สําหรับแต่งเข้ากระบวนแห่ของหลวง. |
เสนางค์, เสนางคนิกร เสนางค์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด เสนางคนิกร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [เสนาง, คะนิกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เสนางค์, เสนางคนิกร [เสนาง, คะนิกอน] น. ส่วนแห่งกองทัพโบราณมี ๔ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. (ป.). |
เสนานี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้นําทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เสนานี น. ผู้นําทัพ. (ป., ส.). |
เสนาสนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [เสนาสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เสน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู + อาสน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู . | เสนาสนะ [เสนาสะ] น. ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่. (ใช้เฉพาะพระภิกษุ สามเณร). (ป. เสน + อาสน). |
เสนาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | [สะเหฺนาะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าฟัง, เพราะ, เช่น เพลงนี้ไพเราะเสนาะหู; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น แถลงปางบำราศห้อง โหยครวญ เสนาะเสน่ห์กำสรวล สั่งแก้ว. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺรโณะ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง . | เสนาะ ๑ [สะเหฺนาะ] ว. น่าฟัง, เพราะ, เช่น เพลงนี้ไพเราะเสนาะหู; (กลอน) วังเวงใจ, เศร้าใจ, เช่น แถลงปางบำราศห้อง โหยครวญ เสนาะเสน่ห์กำสรวล สั่งแก้ว. (นิ. นรินทร์). (ข. สฺรโณะ ว่า นึกสังเวช สงสาร วังเวงใจ อาลัยถึง). |
เสนาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [สะเหฺนาะ] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น บ้างสวมใส่เสนาะเกราะพราย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑. | เสนาะ ๒ [สะเหฺนาะ] น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น บ้างสวมใส่เสนาะเกราะพราย. (ขุนช้างขุนแผน). |
เสนี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เสนา. | เสนี (กลอน) น. เสนา. |
เสนีย์, เสนียะ เสนีย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เสนียะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง จอมทัพ, ผู้นําทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เสนีย์, เสนียะ น. จอมทัพ, ผู้นําทัพ. (ป.). |
เสนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | [สะเหฺนียด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Justicia adhatoda L. ในวงศ์ Acanthaceae ใบยาวรีออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาวออกเป็นช่อตามยอด มีกาบหุ้ม ใบใช้ทํายาได้, กระเหนียด ก็เรียก. | เสนียด ๑ [สะเหฺนียด] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Justicia adhatoda L. ในวงศ์ Acanthaceae ใบยาวรีออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาวออกเป็นช่อตามยอด มีกาบหุ้ม ใบใช้ทํายาได้, กระเหนียด ก็เรียก. |
เสนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | [สะเหฺนียด] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหวีที่มีซี่ละเอียดทั้ง ๒ ข้างว่า หวีเสนียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สฺนิต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า. | เสนียด ๒ [สะเหฺนียด] น. เรียกหวีที่มีซี่ละเอียดทั้ง ๒ ข้างว่า หวีเสนียด. (ข. สฺนิต). |
เสนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๓ | [สะเหฺนียด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จัญไร, อัปมงคล, เช่น อย่าทำตัวเป็นเสนียดแผ่นดิน. | เสนียด ๓ [สะเหฺนียด] ว. จัญไร, อัปมงคล, เช่น อย่าทำตัวเป็นเสนียดแผ่นดิน. |
เสบย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก | [สะเบย] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สบาย เช่น วันนี้ดูหน้าตาไม่เสบย. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เสฺบิย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก. | เสบย [สะเบย] (ปาก) ก. สบาย เช่น วันนี้ดูหน้าตาไม่เสบย. (ข. เสฺบิย). |
เสบียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | [สะเบียง] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่จะเอาไปกินระหว่างเดินทางไกล, อาหารที่เก็บไว้สำหรับบริโภค, มักใช้เข้าคู่กับคำ อาหาร เป็น เสบียงอาหาร, เขียนว่า สะเบียง ก็มี. | เสบียง [สะเบียง] น. อาหารที่จะเอาไปกินระหว่างเดินทางไกล, อาหารที่เก็บไว้สำหรับบริโภค, มักใช้เข้าคู่กับคำ อาหาร เป็น เสบียงอาหาร, เขียนว่า สะเบียง ก็มี. |
เสบียงกรัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่เก็บไว้กินได้นาน ๆ, อาหารรองรัง, เช่น ในยามสงครามต้องเตรียมเสบียงกรังไว้มาก ๆ. | เสบียงกรัง น. อาหารที่เก็บไว้กินได้นาน ๆ, อาหารรองรัง, เช่น ในยามสงครามต้องเตรียมเสบียงกรังไว้มาก ๆ. |
เสพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-พาน | เป็นคำกริยา หมายถึง คบ เช่น ซ่องเสพ; กิน, บริโภค, เช่น เสพสุรา; ร่วมประเวณี เช่น เสพเมถุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เสพ ก. คบ เช่น ซ่องเสพ; กิน, บริโภค, เช่น เสพสุรา; ร่วมประเวณี เช่น เสพเมถุน. (ป., ส.). |
เสเพล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง | [เพฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบประพฤติเหลวไหล, ไม่เอางานเอาการ, เช่น คนเสเพล, มีความประพฤติเหลวแหลก ในคำว่า หญิงเสเพล. | เสเพล [เพฺล] ว. ชอบประพฤติเหลวไหล, ไม่เอางานเอาการ, เช่น คนเสเพล, มีความประพฤติเหลวแหลก ในคำว่า หญิงเสเพล. |
เสภา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลอนชนิดหนึ่ง นิยมแต่งเล่าเรื่องค่อนข้างยาว ใช้ขับ เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน, เวลาขับมีกรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ต่อมาใช้ปี่พาทย์รับ. | เสภา น. ชื่อกลอนชนิดหนึ่ง นิยมแต่งเล่าเรื่องค่อนข้างยาว ใช้ขับ เช่น เสภาขุนช้างขุนแผน, เวลาขับมีกรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ต่อมาใช้ปี่พาทย์รับ. |
เสภาทรงเครื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสภาที่ใช้ปี่พาทย์บรรเลงรับเวลาร้องส่ง บางทีมีเพลงหน้าพาทย์ประกอบ, เสภาส่งเครื่อง ก็ว่า. | เสภาทรงเครื่อง น. เสภาที่ใช้ปี่พาทย์บรรเลงรับเวลาร้องส่ง บางทีมีเพลงหน้าพาทย์ประกอบ, เสภาส่งเครื่อง ก็ว่า. |
เสภารำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง เสภาทรงเครื่องที่มีตัวละครออกมารำประกอบการขับ. | เสภารำ น. เสภาทรงเครื่องที่มีตัวละครออกมารำประกอบการขับ. |
เสม็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก | [สะเหฺม็ด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Melaleuca cajuputi (Powell) L. ในวงศ์ Myrtaceae ใช้เปลือกและเนื้อไม้ผุคลุกกับนํ้ามันยางทําไต้ เรียกว่า ไต้เสม็ด ใบให้น้ำมันเขียว ใช้ทํายาได้. | เสม็ด [สะเหฺม็ด] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Melaleuca cajuputi (Powell) L. ในวงศ์ Myrtaceae ใช้เปลือกและเนื้อไม้ผุคลุกกับนํ้ามันยางทําไต้ เรียกว่า ไต้เสม็ด ใบให้น้ำมันเขียว ใช้ทํายาได้. |
เสมหะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ | [เสม] เป็นคำนาม หมายถึง เสลด, เมือกที่ออกจากลำคอ ทรวงอก และลำไส้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เศฺลษฺม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | เสมหะ [เสม] น. เสลด, เมือกที่ออกจากลำคอ ทรวงอก และลำไส้. (ป.; ส. เศฺลษฺม). |
เสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | [สะเหฺมอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ; เพียง, แค่, เช่น ราคาของ ๔๐,๐๐๐ บาท เห็นจะซื้อไม่ไหว เสมอสัก ๓๐,๐๐๐ บาท ก็พอจะสู้ได้. | เสมอ ๑ [สะเหฺมอ] ว. เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ; เพียง, แค่, เช่น ราคาของ ๔๐,๐๐๐ บาท เห็นจะซื้อไม่ไหว เสมอสัก ๓๐,๐๐๐ บาท ก็พอจะสู้ได้. |
เสมอใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนใจ, ได้ดังใจ. | เสมอใจ ว. เหมือนใจ, ได้ดังใจ. |
เสมอต้นเสมอปลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สมํ่าเสมอ, คงเส้นคงวา, ไม่เปลี่ยนแปลง, มักใช้ในทางดี เช่น แม้เขาจะมีอำนาจวาสนา เขาก็ยังไปเยี่ยมเยียนครูบาอาจารย์เสมอต้นเสมอปลาย. | เสมอต้นเสมอปลาย ว. สมํ่าเสมอ, คงเส้นคงวา, ไม่เปลี่ยนแปลง, มักใช้ในทางดี เช่น แม้เขาจะมีอำนาจวาสนา เขาก็ยังไปเยี่ยมเยียนครูบาอาจารย์เสมอต้นเสมอปลาย. |
เสมอตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ขาดทุน, เช่น เขาลงทุนครั้งนี้มีแต่เสมอตัว ไม่มีหวังได้กำไร. | เสมอตัว ว. ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ขาดทุน, เช่น เขาลงทุนครั้งนี้มีแต่เสมอตัว ไม่มีหวังได้กำไร. |
เสมอบ่าเสมอไหล่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเสมอบ่าเสมอไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เทียมหน้าเทียมตา ก็ว่า. | เสมอบ่าเสมอไหล่ ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเสมอบ่าเสมอไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เทียมหน้าเทียมตา ก็ว่า. |
เสมอภาค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีส่วนเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น ในปัจจุบันบุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกัน. | เสมอภาค ว. มีส่วนเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น ในปัจจุบันบุรุษและสตรีมีสิทธิเสมอภาคกัน. |
เสมอสอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่า, เทียบคู่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พระสังข์ครั้งนี้จะถอดเงาะ งามเหมาะไม่มีเสมอสอง. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์. | เสมอสอง (วรรณ) ว. เทียบเท่า, เทียบคู่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น พระสังข์ครั้งนี้จะถอดเงาะ งามเหมาะไม่มีเสมอสอง. (สังข์ทอง). |
เสมอหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน, ทัดเทียม, ไม่โอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, เช่น รักลูกเสมอหน้ากัน. | เสมอหน้า ว. ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน, ทัดเทียม, ไม่โอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, เช่น รักลูกเสมอหน้ากัน. |
เสมอเหมือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่า, เทียบเหมือน, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ผู้หญิงคนนี้งามไม่มีใครเสมอเหมือน เด็กคนนั้นซนไม่มีใครเสมอเหมือน. | เสมอเหมือน ว. เทียบเท่า, เทียบเหมือน, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ผู้หญิงคนนี้งามไม่มีใครเสมอเหมือน เด็กคนนั้นซนไม่มีใครเสมอเหมือน. |
เสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | [สะเหฺมอ] เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าข้าง, คาดว่าจะชนะ, เช่น มวยคู่นี้คุณจะเสมอฝ่ายไหน. | เสมอ ๒ [สะเหฺมอ] ก. เข้าข้าง, คาดว่าจะชนะ, เช่น มวยคู่นี้คุณจะเสมอฝ่ายไหน. |
เสมอนอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้าข้างอยู่ภายนอก เช่น ในการแข่งขันชกมวย ผู้ดูเป็นฝ่ายเสมอนอก. | เสมอนอก ว. เข้าข้างอยู่ภายนอก เช่น ในการแข่งขันชกมวย ผู้ดูเป็นฝ่ายเสมอนอก. |
เสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๓ | [สะเหฺมอ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงหน้าพาทย์เกี่ยวกับอาการเยื้องกราย และการเดินของตัวละครในนาฏกรรมไทย เรียกว่า เพลงเสมอ เช่น เสมอบาทสกุณี (เสมอตีนนก) เสมอนาง เสมอมาร. | เสมอ ๓ [สะเหฺมอ] น. ชื่อเพลงหน้าพาทย์เกี่ยวกับอาการเยื้องกราย และการเดินของตัวละครในนาฏกรรมไทย เรียกว่า เพลงเสมอ เช่น เสมอบาทสกุณี (เสมอตีนนก) เสมอนาง เสมอมาร. |
เสมอ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง ไม้-ยะ-มก | [สะเหฺมอสะเหฺมอ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียบราบ, ไม่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ, เช่น ปรับพื้นให้เสมอ ๆ กัน; ตลอดไป, บ่อยและเป็นประจำ, เช่น เขามาหาเสมอ ๆ. | เสมอ ๆ [สะเหฺมอสะเหฺมอ] ว. เรียบราบ, ไม่ลุ่ม ๆ ดอน ๆ, เช่น ปรับพื้นให้เสมอ ๆ กัน; ตลอดไป, บ่อยและเป็นประจำ, เช่น เขามาหาเสมอ ๆ. |
เสมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | [เสมา] เป็นคำนาม หมายถึง สีมา, เครื่องหมายบอกเขตโบสถ์; เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายใบสีมาที่เรียงกันอยู่บนกําแพงอย่างกําแพงเมืองว่า ใบเสมา; เครื่องประดับหรือเครื่องรางสําหรับห้อยคอ มีรูปร่างอย่างใบเสมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สีมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา. | เสมา ๑ [เสมา] น. สีมา, เครื่องหมายบอกเขตโบสถ์; เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายใบสีมาที่เรียงกันอยู่บนกําแพงอย่างกําแพงเมืองว่า ใบเสมา; เครื่องประดับหรือเครื่องรางสําหรับห้อยคอ มีรูปร่างอย่างใบเสมา. (ป., ส. สีมา). |
เสมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | [เสมา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Opuntia วงศ์ Cactaceae ลําต้นแบนอวบนํ้า มีหนามแข็งเป็นกระจุกทั่วไป คือ ชนิด O. elatior Miller และชนิด O. vulgaris Miller. | เสมา ๒ [เสมา] น. ชื่อไม้พุ่ม ๒ ชนิดในสกุล Opuntia วงศ์ Cactaceae ลําต้นแบนอวบนํ้า มีหนามแข็งเป็นกระจุกทั่วไป คือ ชนิด O. elatior Miller และชนิด O. vulgaris Miller. |
เสมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๓ | [สะเหฺมา] เป็นคำนาม หมายถึง หญ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เสฺมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา. | เสมา ๓ [สะเหฺมา] น. หญ้า. (ข. เสฺมา). |
เสมียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | [สะเหฺมียน] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับล่างที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเขียนหนังสือเป็นต้น. | เสมียน [สะเหฺมียน] น. เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับหนังสือ, (โบ) ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับล่างที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการเขียนหนังสือเป็นต้น. |
เสมียนตรา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [ตฺรา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตำแหน่งเจ้ากรมหนึ่งในกระทรวงกลาโหมว่า เจ้ากรมเสมียนตรา. | เสมียนตรา [ตฺรา] (โบ) น. เรียกตำแหน่งเจ้ากรมหนึ่งในกระทรวงกลาโหมว่า เจ้ากรมเสมียนตรา. |
เสมือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | [สะเหฺมือน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนกับ, เหมือนกัน, คล้ายคลึงกัน, เช่น รักกันเสมือนญาติ. | เสมือน [สะเหฺมือน] ว. เหมือนกับ, เหมือนกัน, คล้ายคลึงกัน, เช่น รักกันเสมือนญาติ. |
เสย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ช้อนขึ้น เช่น ช้างเสยงา, เอาหวีหรือนิ้วมือไสผมขึ้นไป ในคำว่า เสยผม, เกย เช่น เสยหัวเรือเข้าตลิ่ง, โดยปริยายหมายถึงอาการอย่างอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น เอาหมัดเสยคาง. | เสย ก. ช้อนขึ้น เช่น ช้างเสยงา, เอาหวีหรือนิ้วมือไสผมขึ้นไป ในคำว่า เสยผม, เกย เช่น เสยหัวเรือเข้าตลิ่ง, โดยปริยายหมายถึงอาการอย่างอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น เอาหมัดเสยคาง. |
เสร็จ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน | [เส็ด] เป็นคำกริยา หมายถึง จบ, สิ้น, เช่น พอเสร็จงานเขาก็กลับบ้าน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สมใจหมาย เช่น ถ้าเขาเชื่อเรา เขาก็เสร็จเราแน่; เสียที, เสียรู้, เช่น ถ้าเราไว้ใจคนขี้โกง เราก็เสร็จเขาแน่; เสียหาย, พัง, เช่น เกิดพายุใหญ่ นาเสร็จไปหลายร้อยไร่; ตาย เช่น ใครที่ป่วยเป็นมะเร็งถึงขั้นนี้แล้ว อีกไม่นานก็เสร็จแน่; เกิดผลร้าย เช่น ขืนเสนอเรื่องนี้ขึ้นไป มีหวังเสร็จแน่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แล้ว เช่น พอพูดเสร็จก็เดินออกไป. | เสร็จ [เส็ด] ก. จบ, สิ้น, เช่น พอเสร็จงานเขาก็กลับบ้าน; (ปาก) สมใจหมาย เช่น ถ้าเขาเชื่อเรา เขาก็เสร็จเราแน่; เสียที, เสียรู้, เช่น ถ้าเราไว้ใจคนขี้โกง เราก็เสร็จเขาแน่; เสียหาย, พัง, เช่น เกิดพายุใหญ่ นาเสร็จไปหลายร้อยไร่; ตาย เช่น ใครที่ป่วยเป็นมะเร็งถึงขั้นนี้แล้ว อีกไม่นานก็เสร็จแน่; เกิดผลร้าย เช่น ขืนเสนอเรื่องนี้ขึ้นไป มีหวังเสร็จแน่. ว. แล้ว เช่น พอพูดเสร็จก็เดินออกไป. |
เสร็จกัน, เสร็จเลย เสร็จกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เสร็จเลย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา. | เสร็จกัน, เสร็จเลย (ปาก) คำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา. |
เสร็จสรรพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสร็จหมดทุกอย่าง เช่น เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสรรพ เขาก็ไปพักผ่อน. | เสร็จสรรพ ว. เสร็จหมดทุกอย่าง เช่น เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสรรพ เขาก็ไปพักผ่อน. |
เสร็จสิ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สำเร็จแล้ว, หมดแล้ว, เช่น ภารกิจที่ได้รับมอบหมายเสร็จสิ้นแล้ว. | เสร็จสิ้น ก. สำเร็จแล้ว, หมดแล้ว, เช่น ภารกิจที่ได้รับมอบหมายเสร็จสิ้นแล้ว. |
เสริด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | [เสิด] เป็นคำกริยา หมายถึง ห่าง, หนี, หลีกหนี, หนีรอด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พ้น, เร็ว. | เสริด [เสิด] ก. ห่าง, หนี, หลีกหนี, หนีรอด. ว. พ้น, เร็ว. |
เสริม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า | [เสิม] เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่ม, เติม, ต่อเติม, หนุน, เช่น เสริมคันกั้นน้ำ เสริมกราบเรือให้สูงขึ้น เสริมจมูก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เพิ่มเติม เช่น อาหารเสริม เก้าอี้เสริม พูดเสริม. | เสริม [เสิม] ก. เพิ่ม, เติม, ต่อเติม, หนุน, เช่น เสริมคันกั้นน้ำ เสริมกราบเรือให้สูงขึ้น เสริมจมูก. ว. ที่เพิ่มเติม เช่น อาหารเสริม เก้าอี้เสริม พูดเสริม. |
เสริมส่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เกื้อหนุนให้เจริญขึ้น เช่น ครอบครัวที่ดีย่อมเสริมส่งให้หัวหน้าครอบครัวประสบความสำเร็จ. | เสริมส่ง ก. เกื้อหนุนให้เจริญขึ้น เช่น ครอบครัวที่ดีย่อมเสริมส่งให้หัวหน้าครอบครัวประสบความสำเร็จ. |
เสริมสร้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เพิ่มพูนให้ดีหรือมั่นคงยิ่งขึ้น เช่น เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เสริมสร้างสัมพันธไมตรีอันดี. | เสริมสร้าง ก. เพิ่มพูนให้ดีหรือมั่นคงยิ่งขึ้น เช่น เสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เสริมสร้างสัมพันธไมตรีอันดี. |
เสริมสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ตกแต่งให้ดูสวยงามขึ้น (มักใช้แก่สตรี). เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสถานที่รับแต่งผม แต่งหน้า แต่งเล็บ เป็นต้น ว่า ห้องเสริมสวย หรือ ร้านเสริมสวย. | เสริมสวย ก. ตกแต่งให้ดูสวยงามขึ้น (มักใช้แก่สตรี). น. เรียกสถานที่รับแต่งผม แต่งหน้า แต่งเล็บ เป็นต้น ว่า ห้องเสริมสวย หรือ ร้านเสริมสวย. |
เสรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำได้โดยอิสระ, มีสิทธิที่จะทําจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ไสฺวรินฺ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | เสรี ว. ที่ทำได้โดยอิสระ, มีสิทธิที่จะทําจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. (ป.; ส. ไสฺวรินฺ). |
เสรีไทย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ขบวนการของชาวไทยที่ตั้งขึ้นในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ มีความมุ่งหมายที่จะช่วยให้ประเทศชาติรอดพ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔๒๔๘๘). | เสรีไทย น. ขบวนการของชาวไทยที่ตั้งขึ้นในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ มีความมุ่งหมายที่จะช่วยให้ประเทศชาติรอดพ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔๒๔๘๘). |
เสรีธรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง หลักเสรีภาพ. | เสรีธรรม น. หลักเสรีภาพ. |
เสรีนิยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิเศรษฐกิจสังคมที่ต้องการให้รัฐเข้าไปยุ่งเกี่ยวควบคุมการดำเนินการทางเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตของเอกชนน้อยที่สุด; ทัศนคติทางสังคมที่ต้องการให้บุคคลมีสวัสดิการในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้นและกระจายไปยังคนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบเสรีภาพ, ที่เป็นไปในทางส่งเสริมเสรีภาพ. | เสรีนิยม น. ลัทธิเศรษฐกิจสังคมที่ต้องการให้รัฐเข้าไปยุ่งเกี่ยวควบคุมการดำเนินการทางเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตของเอกชนน้อยที่สุด; ทัศนคติทางสังคมที่ต้องการให้บุคคลมีสวัสดิการในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้นและกระจายไปยังคนทุกกลุ่มอย่างทั่วถึง. ว. ชอบเสรีภาพ, ที่เป็นไปในทางส่งเสริมเสรีภาพ. |
เสรีภาพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. | เสรีภาพ น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. |
เสล, เสลา ๑ เสล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง เสลา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [ละ, ลา] เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา, หิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มไปด้วยหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ไศล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง. | เสล, เสลา ๑ [ละ, ลา] น. ภูเขา, หิน. ว. เต็มไปด้วยหิน. (ป.; ส. ไศล). |
เสลบรรพต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขาหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เสลปพฺพต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต ไศลปรฺวต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ตอ-เต่า. | เสลบรรพต น. ภูเขาหิน. (ป. เสลปพฺพต; ส. ไศลปรฺวต). |
เสลด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก | [สะเหฺลด] เป็นคำนาม หมายถึง เสมหะ, เมือกที่ออกจากลําคอ ทรวงอก และลำไส้. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต เศฺลษฺม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | เสลด [สะเหฺลด] น. เสมหะ, เมือกที่ออกจากลําคอ ทรวงอก และลำไส้. (เทียบ ส. เศฺลษฺม). |
เสลดหางวัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง เมือกข้นเหนียวที่ตีขึ้นมาจุกที่คอและปิดหลอดลม ทําให้หายใจไม่ออก, เสลดหางงัว ก็เรียก. | เสลดหางวัว น. เมือกข้นเหนียวที่ตีขึ้นมาจุกที่คอและปิดหลอดลม ทําให้หายใจไม่ออก, เสลดหางงัว ก็เรียก. |
เสลดพังพอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-พอ-พาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Barleria lupulina Lindl. ในวงศ์ Acanthaceae มีหนามแหลมสีแดงตามข้อ เส้นกลางใบสีแดง ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง. | เสลดพังพอน น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Barleria lupulina Lindl. ในวงศ์ Acanthaceae มีหนามแหลมสีแดงตามข้อ เส้นกลางใบสีแดง ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง. |
เสลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | [สะเหฺลา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Lagerstroemia tomentosa Presl ในวงศ์ Lythraceae ใบมีขน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ตามปลายกิ่ง. | เสลา ๒ [สะเหฺลา] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Lagerstroemia tomentosa Presl ในวงศ์ Lythraceae ใบมีขน ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ตามปลายกิ่ง. |
เสลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๓ | [สะเหฺลา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย, งาม, เกลี้ยงเกลา, เปลา, โปร่ง, เฉลา ก็ว่า. | เสลา ๓ [สะเหฺลา] ว. สวย, งาม, เกลี้ยงเกลา, เปลา, โปร่ง, เฉลา ก็ว่า. |
เสลี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู | [สะเหฺลี่ยง] เป็นคำนาม หมายถึง ที่นั่งมีคานหามคู่หนึ่งสอดรับ เป็นเครื่องแสดงอิสริยยศ, ถ้าหามไป เรียกว่า เสลี่ยงหาม, ถ้าหิ้วไป เรียกว่า เสลี่ยงหิ้ว. | เสลี่ยง [สะเหฺลี่ยง] น. ที่นั่งมีคานหามคู่หนึ่งสอดรับ เป็นเครื่องแสดงอิสริยยศ, ถ้าหามไป เรียกว่า เสลี่ยงหาม, ถ้าหิ้วไป เรียกว่า เสลี่ยงหิ้ว. |
เสลี่ยงกง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสลี่ยงที่มีพนักโค้งเหมือนกงเรือ. | เสลี่ยงกง น. เสลี่ยงที่มีพนักโค้งเหมือนกงเรือ. |
เสลี่ยงกลีบบัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง เสลี่ยงชนิดที่เชิงแคร่ที่นั่งแกะไม้เป็นลายกลีบบัวโดยรอบ. | เสลี่ยงกลีบบัว น. เสลี่ยงชนิดที่เชิงแคร่ที่นั่งแกะไม้เป็นลายกลีบบัวโดยรอบ. |
เสลือกสลน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-นอ-หนู | [สะเหฺลือกสะหฺลน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เถลือกถลน. | เสลือกสลน [สะเหฺลือกสะหฺลน] ว. เถลือกถลน. |
เสโล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกันอาวุธ, โล่. | เสโล น. เครื่องกันอาวุธ, โล่. |
เสวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ | [วก] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการในราชสํานัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เสวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ = คนใช้ . | เสวก [วก] น. ข้าราชการในราชสํานัก. (ป.; ส. เสวก = คนใช้). |
เสวกามาตย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [วะกามาด] เป็นคำนาม หมายถึง เสวกและอํามาตย์. | เสวกามาตย์ [วะกามาด] น. เสวกและอํามาตย์. |
เสวกามาตย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู เสวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-กอ-ไก่. | เสวกามาตย์ ดู เสวก. |
เสวนะ, เสวนา เสวนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เสวนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [เสวะ] เป็นคำกริยา หมายถึง คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. เป็นคำนาม หมายถึง การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เสวนะ, เสวนา [เสวะ] ก. คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, (ปาก) พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. น. การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เช่น กลุ่มวรรณกรรมจัดเสวนาเรื่องสุนทรภู่. (ป.). |
เสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | [สะเหฺวย] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง กิน, เสพ, เช่น เสวยพระกระยาหาร เสวยพระสุธารส; ครอง เช่น เสวยราชย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โสฺวย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก. | เสวย ๑ [สะเหฺวย] (ราชา) ก. กิน, เสพ, เช่น เสวยพระกระยาหาร เสวยพระสุธารส; ครอง เช่น เสวยราชย์. (ข. โสฺวย). |
เสวย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | [สะเหฺวย] เป็นคำกริยา หมายถึง ได้รับ, ได้ประสบ, เช่น เสวยทุกขเวทนา, ได้รับประโยชน์ เช่น เสวยสิทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร โสฺวย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก. | เสวย ๒ [สะเหฺวย] ก. ได้รับ, ได้ประสบ, เช่น เสวยทุกขเวทนา, ได้รับประโยชน์ เช่น เสวยสิทธิ์. (ข. โสฺวย). |
เสวยกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น หนหลังเกรงแหล่งหล้า พระบาทคิดหนหน้า อยู่เกล้าเสวยกรรมฯ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | เสวยกรรม (วรรณ) ก. ตาย เช่น หนหลังเกรงแหล่งหล้า พระบาทคิดหนหน้า อยู่เกล้าเสวยกรรมฯ. (ลอ). |
เสวยพระชาติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำกริยา หมายถึง เกิด (ใช้แก่พระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเกิดเป็นพระโพธิสัตว์). | เสวยพระชาติ ก. เกิด (ใช้แก่พระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเกิดเป็นพระโพธิสัตว์). |
เสวียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | [สะเหฺวียน] เป็นคำนาม หมายถึง ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยหญ้า หวาย หรือฟาง เป็นต้น ถักหรือมัดเป็นวงกลม มักมีหู ๒ ข้างสำหรับหิ้ว ใช้รองก้นหม้อที่หุงต้มด้วยเตาฟืนหรือเตาถ่าน, ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่สานเป็นแผ่นกลม สำหรับรองหรือรับสิ่งต่าง ๆ มีพ้อมข้าวเป็นต้น. | เสวียน [สะเหฺวียน] น. ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยหญ้า หวาย หรือฟาง เป็นต้น ถักหรือมัดเป็นวงกลม มักมีหู ๒ ข้างสำหรับหิ้ว ใช้รองก้นหม้อที่หุงต้มด้วยเตาฟืนหรือเตาถ่าน, ของใช้ชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่สานเป็นแผ่นกลม สำหรับรองหรือรับสิ่งต่าง ๆ มีพ้อมข้าวเป็นต้น. |
เสสรวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู | [สวง] เป็นคำกริยา หมายถึง บน, บูชา, เซ่น, สรวงเส ก็ใช้. | เสสรวง [สวง] ก. บน, บูชา, เซ่น, สรวงเส ก็ใช้. |
เสสรวล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง | [สวน] เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะเล่น. | เสสรวล [สวน] ก. หัวเราะเล่น. |
เสา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ท่อนไม้สำหรับใช้เป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับสิ่งอื่นมีเรือนเป็นต้น เช่น เสาเรือน เสาโทรเลข, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้น. | เสา ๑ น. ท่อนไม้สำหรับใช้เป็นหลักหรือเป็นเครื่องรองรับสิ่งอื่นมีเรือนเป็นต้น เช่น เสาเรือน เสาโทรเลข, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้ในลักษณะเช่นนั้น. |
เสากระโดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาสําหรับกางใบเรือ, เสาในเรือเดินทะเลใหญ่ ๆ ที่ไม่ใช้ใบเช่นเรือรบ สำหรับติดไฟ ธงเครื่องหมาย ธงสัญญาณ และธงรหัสต่าง ๆ ติดเรดาร์ ติดเสาอากาศสำหรับรับส่งคลื่นวิทยุ บนยอดเสามีรังกาเป็นที่สำหรับยามยืนเฝ้าตรวจสิ่งต่าง ๆ มีข้าศึก หินโสโครก เรืออื่น ๆ เป็นต้น. | เสากระโดง น. เสาสําหรับกางใบเรือ, เสาในเรือเดินทะเลใหญ่ ๆ ที่ไม่ใช้ใบเช่นเรือรบ สำหรับติดไฟ ธงเครื่องหมาย ธงสัญญาณ และธงรหัสต่าง ๆ ติดเรดาร์ ติดเสาอากาศสำหรับรับส่งคลื่นวิทยุ บนยอดเสามีรังกาเป็นที่สำหรับยามยืนเฝ้าตรวจสิ่งต่าง ๆ มีข้าศึก หินโสโครก เรืออื่น ๆ เป็นต้น. |
เสาเกียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่ปักขึ้นเป็นหลักกลางลาน สำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ, เกียด ก็ว่า. | เสาเกียด น. ไม้ที่ปักขึ้นเป็นหลักกลางลาน สำหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ, เกียด ก็ว่า. |
เสาเข็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่เสี้ยมให้แหลมหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น สําหรับฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, เข็ม ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู เข็ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑. | เสาเข็ม น. ไม้ที่เสี้ยมให้แหลมหรือวัตถุอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น สําหรับฝังเป็นรากสิ่งก่อสร้างกันทรุด, เข็ม ก็ว่า. (ดู เข็ม ๑). |
เสาเขื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือวัสดุอย่างอื่น มีลักษณะเป็นท่อนกลมหรือเป็นเหลี่ยม ปักล้อมเป็นรั้วกั้นเขตในวัดเป็นต้น. | เสาเขื่อน น. ไม้หรือวัสดุอย่างอื่น มีลักษณะเป็นท่อนกลมหรือเป็นเหลี่ยม ปักล้อมเป็นรั้วกั้นเขตในวัดเป็นต้น. |
เสาค่าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือไม้ไผ่ปักรายล้อมหมู่บ้าน เมือง หรือที่ตั้งค่ายทหารในสมัยโบราณ, เสาระเนียด ก็ว่า. | เสาค่าย น. ไม้หรือไม้ไผ่ปักรายล้อมหมู่บ้าน เมือง หรือที่ตั้งค่ายทหารในสมัยโบราณ, เสาระเนียด ก็ว่า. |
เสาโคม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ ไม้ไผ่ หรือเสาหินเป็นต้น ที่ปักสำหรับติดตั้งโคมหรือชักโคมขึ้นไปแขวนให้แสงสว่าง. | เสาโคม น. ไม้ ไม้ไผ่ หรือเสาหินเป็นต้น ที่ปักสำหรับติดตั้งโคมหรือชักโคมขึ้นไปแขวนให้แสงสว่าง. |
เสาชี้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ยื่นออกไปทางหัวเรือ. | เสาชี้ น. เสาที่ยื่นออกไปทางหัวเรือ. |
เสาดั้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนเครื่องสับ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่, ดั้ง ก็ว่า. | เสาดั้ง น. เสาเรือนเครื่องสับ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่, ดั้ง ก็ว่า. |
เสาโด่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนเครื่องผูก มักใช้ไม้ไผ่ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่. | เสาโด่ น. เสาเรือนเครื่องผูก มักใช้ไม้ไผ่ ตั้งอยู่กึ่งกลางบนหลังรอดขึ้นไปรับอกไก่. |
เสาตรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนที่ตั้งถัดเสาโทไปทางทิศตะวันตก. | เสาตรี น. เสาเรือนที่ตั้งถัดเสาโทไปทางทิศตะวันตก. |
เสาตอม่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง เสาขนาดสั้น มักใช้ไม้ไผ่ปักขึ้นสำหรับรับรอดในเรือนเครื่องผูก, ส่วนบนของฐานรากที่รองรับโครงสิ่งก่อสร้าง, ตอม่อ ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงมีรูปร่างล่ำเตี้ย เช่น เตี้ยม่อต้อเหมือนเสาตอม่อ; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาหมอ ก็ว่า. | เสาตอม่อ น. เสาขนาดสั้น มักใช้ไม้ไผ่ปักขึ้นสำหรับรับรอดในเรือนเครื่องผูก, ส่วนบนของฐานรากที่รองรับโครงสิ่งก่อสร้าง, ตอม่อ ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงมีรูปร่างล่ำเตี้ย เช่น เตี้ยม่อต้อเหมือนเสาตอม่อ; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาหมอ ก็ว่า. |
เสาตะเกียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เสาสั้นคู่หนึ่งที่ฝังลงดินสำหรับขนาบเสากลางซึ่งอยู่เหนือพื้นดินอย่างเสาดอกไม้พุ่ม เสาหงส์ เสาโคม เสาธง ให้ตั้งตรง มีสลัก ๒ อัน เมื่อถอดสลักอันหนึ่งออกแล้วโน้มเสากลางลงมาได้, ตะเกียบ ก็ว่า. | เสาตะเกียบ น. เสาสั้นคู่หนึ่งที่ฝังลงดินสำหรับขนาบเสากลางซึ่งอยู่เหนือพื้นดินอย่างเสาดอกไม้พุ่ม เสาหงส์ เสาโคม เสาธง ให้ตั้งตรง มีสลัก ๒ อัน เมื่อถอดสลักอันหนึ่งออกแล้วโน้มเสากลางลงมาได้, ตะเกียบ ก็ว่า. |
เสาตะลุง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ท่อนกลม หัวเสากลึงเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑ์ ปักเป็นหลักคู่หนึ่ง สำหรับล่ามช้างหรือผูกช้างเครื่องยืนแท่น, ตะลุง ก็ว่า. | เสาตะลุง น. ไม้ท่อนกลม หัวเสากลึงเป็นรูปหัวเม็ดทรงมัณฑ์ ปักเป็นหลักคู่หนึ่ง สำหรับล่ามช้างหรือผูกช้างเครื่องยืนแท่น, ตะลุง ก็ว่า. |
เสาโตงเตง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาไม้ขนาดใหญ่ ๒ เสาที่แขวนห้อยอยู่กลางประตูเพนียดให้ช้างเข้าออก, ประตูเข้ามีเสาโตงเตง ๒ ชั้น ส่วนประตูออกมีเสาโตงเตงชั้นเดียว, โตงเตง ก็ว่า. | เสาโตงเตง น. เสาไม้ขนาดใหญ่ ๒ เสาที่แขวนห้อยอยู่กลางประตูเพนียดให้ช้างเข้าออก, ประตูเข้ามีเสาโตงเตง ๒ ชั้น ส่วนประตูออกมีเสาโตงเตงชั้นเดียว, โตงเตง ก็ว่า. |
เสาไต้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักขึ้นไว้สำหรับปักไต้จุดให้แสงสว่างในสมัยโบราณ. | เสาไต้ น. เสาที่ปักขึ้นไว้สำหรับปักไต้จุดให้แสงสว่างในสมัยโบราณ. |
เสาทุบเปลือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เสาไม้เนื้ออ่อนลำขนาดย่อม ซึ่งทุบแล้วลอกเอาเปลือกออก แต่ไม่ได้ถากแต่ง ใช้ทำเสาเข็ม เสารั้ว เป็นต้น. | เสาทุบเปลือก น. เสาไม้เนื้ออ่อนลำขนาดย่อม ซึ่งทุบแล้วลอกเอาเปลือกออก แต่ไม่ได้ถากแต่ง ใช้ทำเสาเข็ม เสารั้ว เป็นต้น. |
เสาโท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเสาเอก. | เสาโท น. เสาเรือนที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเสาเอก. |
เสาธง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ใช้ชักธงขึ้นสู่ยอดเสา. | เสาธง น. เสาที่ใช้ชักธงขึ้นสู่ยอดเสา. |
เสานางจรัล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สำหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางเรียง ก็ว่า. | เสานางจรัล น. เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สำหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางเรียง ก็ว่า. |
เสานางแนบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสาบังอวด ก็ว่า. | เสานางแนบ น. เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสาบังอวด ก็ว่า. |
เสานางเรียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สําหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางจรัล ก็ว่า. | เสานางเรียง น. เสาที่ปักรายเป็นแถว ไว้ระยะแต่ละต้นห่างกันพอสมควร สําหรับแสดงแนวถนนหรือกั้นเขต, เสานางจรัล ก็ว่า. |
เสาในประธาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ทำขึ้นเป็น ๒ แถวเรียงเป็นคู่ ๆ ต่อออกมาทางด้านหน้าฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธานในอุโบสถ วิหาร เป็นต้น. | เสาในประธาน น. เสาที่ทำขึ้นเป็น ๒ แถวเรียงเป็นคู่ ๆ ต่อออกมาทางด้านหน้าฐานชุกชีที่ประดิษฐานพระประธานในอุโบสถ วิหาร เป็นต้น. |
เสาบังอวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสานางแนบ ก็ว่า. | เสาบังอวด น. เสาหินคู่หนึ่ง สลักลวดลายตั้งแนบกรอบเช็ดหน้า สำหรับประดับตกแต่ง ๒ ข้างประตูปราสาทหินให้ดูงดงาม และมีส่วนช่วยค้ำจุนทับหลังด้วย, เสานางแนบ ก็ว่า. |
เสาประโคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้น, ประโคน ก็ว่า. | เสาประโคน น. เสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้น, ประโคน ก็ว่า. |
เสาปอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเตี้ย ๆ สำหรับผูกเท้าหลังช้าง เช่น ผูกช้างยืนโรง ผูกช้างในการเล่นผัดช้าง, ปอง ก็ว่า. | เสาปอง น. เสาเตี้ย ๆ สำหรับผูกเท้าหลังช้าง เช่น ผูกช้างยืนโรง ผูกช้างในการเล่นผัดช้าง, ปอง ก็ว่า. |
เสาพล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนทั้งหมดที่มิใช่เสาเอก เสาโท และเสาตรี. | เสาพล น. เสาเรือนทั้งหมดที่มิใช่เสาเอก เสาโท และเสาตรี. |
เสาแพนก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-นอ-หนู-กอ-ไก่ | [พะแนก] เป็นคำนาม หมายถึง ฝาผนังส่วนนอกที่ก่อให้นูนหนาขึ้นดูคล้ายเสาเพื่อช่วยเสริมฝาผนังให้มั่นคงสำหรับรับขื่อ. | เสาแพนก [พะแนก] น. ฝาผนังส่วนนอกที่ก่อให้นูนหนาขึ้นดูคล้ายเสาเพื่อช่วยเสริมฝาผนังให้มั่นคงสำหรับรับขื่อ. |
เสาระเนียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เสาค่าย. | เสาระเนียด น. เสาค่าย. |
เสาราย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ทำตั้งขึ้นเป็นแถวเพื่อรับชายคาอุโบสถ วิหาร ระเบียง เป็นต้น. | เสาราย น. เสาที่ทำตั้งขึ้นเป็นแถวเพื่อรับชายคาอุโบสถ วิหาร ระเบียง เป็นต้น. |
เสาหงส์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่ทำรูปหงส์ติดไว้ที่ยอด มักปักอยู่ตามหน้าวัดของชาวรามัญ. | เสาหงส์ น. เสาที่ทำรูปหงส์ติดไว้ที่ยอด มักปักอยู่ตามหน้าวัดของชาวรามัญ. |
เสาหมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง เสาขนาดสั้นสําหรับช่วยรองรับรอดทางด้านสกัดหัวท้ายเรือนเครื่องผูก; เสานําสําหรับปักเสาใหญ่ลงในนํ้า; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาตอม่อ ก็ว่า; เสาที่มั่นคงสําหรับผูกช้าง. | เสาหมอ น. เสาขนาดสั้นสําหรับช่วยรองรับรอดทางด้านสกัดหัวท้ายเรือนเครื่องผูก; เสานําสําหรับปักเสาใหญ่ลงในนํ้า; เสาชาน เสาแคร่ หรือเสาช่วยค้ำจุนเรือนโดยปักแนบกับเสาเรือน, ตอม่อ หรือ เสาตอม่อ ก็ว่า; เสาที่มั่นคงสําหรับผูกช้าง. |
เสาหลัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่สังคมยอมรับนับถือว่าเป็นหลักของบ้านเมืองในด้านสติปัญญาหรือด้านวิทยาการต่าง ๆ เป็นต้น. | เสาหลัก (สำ) น. บุคคลที่สังคมยอมรับนับถือว่าเป็นหลักของบ้านเมืองในด้านสติปัญญาหรือด้านวิทยาการต่าง ๆ เป็นต้น. |
เสาหลักเมือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาที่สร้างขึ้นเป็นสัญลักษณ์ของเมือง มักทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์. | เสาหลักเมือง น. เสาที่สร้างขึ้นเป็นสัญลักษณ์ของเมือง มักทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์. |
เสาหาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเล็กตั้งอยู่เหนือบัลลังก์ รายเป็นวงล้อมก้านฉัตรรองรับขอบบัวฝาละมีในเจดีย์ทรงลังกา; เสาคู่ที่ตั้งอยู่หน้าสุดของมุขเด็จสำหรับรับหน้าบัน. | เสาหาน น. เสาเล็กตั้งอยู่เหนือบัลลังก์ รายเป็นวงล้อมก้านฉัตรรองรับขอบบัวฝาละมีในเจดีย์ทรงลังกา; เสาคู่ที่ตั้งอยู่หน้าสุดของมุขเด็จสำหรับรับหน้าบัน. |
เสาเอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เสาเรือนต้นแรกที่ยกขึ้นตามฤกษ์ในการปลูกเรือน มักนิยมตั้งไว้ทางทิศตะวันออก. | เสาเอก น. เสาเรือนต้นแรกที่ยกขึ้นตามฤกษ์ในการปลูกเรือน มักนิยมตั้งไว้ทางทิศตะวันออก. |
เสา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง มันเสา. ในวงเล็บ ดู มันเสา เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ที่ มัน เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๑. | เสา ๒ น. มันเสา. (ดู มันเสา ที่ มัน ๑). |
เส้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หลักหรือวัตถุที่ตั้งหรือปักเป็น ๓ มุมสําหรับรองรับ เช่น เอาก้อนอิฐมาวางให้เป็น ๓ เส้า. | เส้า น. ไม้หลักหรือวัตถุที่ตั้งหรือปักเป็น ๓ มุมสําหรับรองรับ เช่น เอาก้อนอิฐมาวางให้เป็น ๓ เส้า. |
เสาร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โสร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ; ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๖ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑,๔๒๗ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร ๑๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร มีวงแหวนล้อมรอบที่เห็นได้ในกล้องโทรทรรศน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เสาร์ น. ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์. (ส.; ป. โสร); ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๖ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑,๔๒๗ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางในแนวเส้นศูนย์สูตร ๑๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร มีวงแหวนล้อมรอบที่เห็นได้ในกล้องโทรทรรศน์. (ส.). |
เสารภย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [รบ] เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสารภฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สุรภี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี. | เสารภย์ [รบ] น. กลิ่นหอม. (ส. เสารภฺย; ป. สุรภี). |
เสารี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์; ชื่อดาวพระเสาร์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ หมายถึง ชื่อยามหนึ่งใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. ในวงเล็บ ดู ยาม เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสาริ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ. | เสารี น. ชื่อวันที่ ๗ ของสัปดาห์; ชื่อดาวพระเสาร์; (โหร) ชื่อยามหนึ่งใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. (ดู ยาม). (ส. เสาริ). |
เสาว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | [วะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, งาม. (แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา). | เสาว [วะ] ว. ดี, งาม. (แผลงมาจาก สว สุ โส เช่น เสาวภาพ แผลงมาจาก สวภาพ, เสาวคนธ์ แผลงมาจาก สุคนธ์, เสาวภา แผลงมาจาก โสภา). |
เสาวคนธ์ ๑, เสาวคันธ์ เสาวคนธ์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด เสาวคันธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ของหอม, เครื่องหอม, กลิ่นหอม. | เสาวคนธ์ ๑, เสาวคันธ์ น. ของหอม, เครื่องหอม, กลิ่นหอม. |
เสาวธาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าหอม. | เสาวธาร น. นํ้าหอม. |
เสาวภา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โสภา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา. | เสาวภา ว. งาม. (ป. โสภา). |
เสาวภาคย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ความสุขเกษม, ความเจริญ, โชคลาภ, ความสําเร็จ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสาวภาคฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี โสภคฺค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | เสาวภาคย์ น. ความสุขเกษม, ความเจริญ, โชคลาภ, ความสําเร็จ. (ส. เสาวภาคฺย; ป. โสภคฺค). |
เสาวภาพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุภาพ, เรียบร้อย, อ่อนโยน, ประพฤติดี, ละมุนละม่อม. | เสาวภาพ ว. สุภาพ, เรียบร้อย, อ่อนโยน, ประพฤติดี, ละมุนละม่อม. |
เสาวรภย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เสารภย์, กลิ่นหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เสาวรภย์ น. เสารภย์, กลิ่นหอม. (ส.). |
เสาวรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีรสอร่อย, มีรสดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สอ-เสือ. | เสาวรส ๑ ว. มีรสอร่อย, มีรสดี. (ป., ส. สุรส). |
เสาวลักษณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะดี, ลักษณะงาม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะดี, มีลักษณะงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สุลกฺษณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน. | เสาวลักษณ์ น. ลักษณะดี, ลักษณะงาม. ว. มีลักษณะดี, มีลักษณะงาม. (ส. สุลกฺษณ). |
เสาวคนธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๑ | ดูใน เสาว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | เสาวคนธ์ ๑ ดูใน เสาว. |
เสาวคนธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๒ | ดู รสสุคนธ์ เขียนว่า รอ-เรือ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด. | เสาวคนธ์ ๒ ดู รสสุคนธ์. |
เสาวณิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ฟังแล้ว, รับสั่ง. | เสาวณิต ก. ฟังแล้ว, รับสั่ง. |
เสาวนะ, เสาวนา, เสาวนาการ เสาวนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ เสาวนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เสาวนาการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การฟัง, การได้ฟัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สวน เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู สวนาการ เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | เสาวนะ, เสาวนา, เสาวนาการ น. การฟัง, การได้ฟัง. (ป. สวน, สวนาการ). |
เสาวนีย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งของพระราชินี, ใช้ว่า พระราชเสาวนีย์; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง คําสั่งของท้าวพระยา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สวนีย เขียนว่า สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก. | เสาวนีย์ น. คําสั่งของพระราชินี, ใช้ว่า พระราชเสาวนีย์; (กลอน) คําสั่งของท้าวพระยา. (ป. สวนีย). |
เสาวรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๑ | ดูใน เสาว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | เสาวรส ๑ ดูใน เสาว. |
เสาวรส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม. | เสาวรส ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Passiflora laurifolia L. ในวงศ์ Passifloraceae ดอกสีม่วง กลิ่นหอม. |
เสาหฤท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน | [หะริด] เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน, ผู้มีใจดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เสาหฺฤท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน. | เสาหฤท [หะริด] น. เพื่อน, ผู้มีใจดี. (ส. เสาหฺฤท). |
เสาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ค้น, สืบ, แสวง, เช่น เสาะหา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เข้มแข็ง ในคำว่า ใจเสาะ. | เสาะ ๑ ก. ค้น, สืบ, แสวง, เช่น เสาะหา. ว. ไม่เข้มแข็ง ในคำว่า ใจเสาะ. |
เสาะด้าย, เสาะไหม เสาะด้าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เสาะไหม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง สาวด้ายหรือไหมที่จะเอามาทอผ้า. | เสาะด้าย, เสาะไหม ก. สาวด้ายหรือไหมที่จะเอามาทอผ้า. |
เสาะท้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำให้ท้องเสีย เช่น กินของเปรี้ยวจัดหรือเผ็ดจัดทำให้เสาะท้อง. | เสาะท้อง ว. ที่ทำให้ท้องเสีย เช่น กินของเปรี้ยวจัดหรือเผ็ดจัดทำให้เสาะท้อง. |
เสาะป่าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สาวเชือกป่านว่าวจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อให้หายยุ่ง. | เสาะป่าน ก. สาวเชือกป่านว่าวจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งเพื่อให้หายยุ่ง. |
เสาะแสวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ความพยายามมากเพื่อค้นหา เช่น ของชิ้นนี้เป็นของหายาก เขาอุตส่าห์ไปเสาะแสวงมาให้. | เสาะแสวง ก. ใช้ความพยายามมากเพื่อค้นหา เช่น ของชิ้นนี้เป็นของหายาก เขาอุตส่าห์ไปเสาะแสวงมาให้. |
เสาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | (โบ; วรรณ) ก. ทรุดลง, ห่อเหี่ยวลง, ใช้ว่า เสราะ ก็มี เช่น ก็เสาะและเสราะใจจง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร โสะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ = จืด, ชืด, ขาดรสชาติ, หมด . | เสาะ ๒ (โบ; วรรณ) ก. ทรุดลง, ห่อเหี่ยวลง, ใช้ว่า เสราะ ก็มี เช่น ก็เสาะและเสราะใจจง. (สมุทรโฆษ). (เทียบ ข. โสะ = จืด, ชืด, ขาดรสชาติ, หมด). |
เสาะแสะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ป่วยอยู่บ่อย ๆ, กระเสาะกระแสะ ก็ว่า. | เสาะแสะ ว. อาการที่ป่วยอยู่บ่อย ๆ, กระเสาะกระแสะ ก็ว่า. |
เสิร์จ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อผ้าเนื้อลายสองชนิดหนึ่ง มักทําด้วยขนแกะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ serge เขียนว่า เอส-อี-อา-จี-อี. | เสิร์จ น. ชื่อผ้าเนื้อลายสองชนิดหนึ่ง มักทําด้วยขนแกะ. (อ. serge). |
เสิร์ฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ฟอ-ฟัน | เป็นคำกริยา หมายถึง ยกอาหารหรือเครื่องดื่มมาบริการ เช่น บริกรเสิร์ฟอาหารให้ลูกค้า; (กีฬา) เริ่มส่งลูกให้ฝ่ายตรงข้ามรับ เช่น ฝ่ายไทยเป็นฝ่ายได้เสิร์ฟก่อน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ serve เขียนว่า เอส-อี-อา-วี-อี. | เสิร์ฟ ก. ยกอาหารหรือเครื่องดื่มมาบริการ เช่น บริกรเสิร์ฟอาหารให้ลูกค้า; (กีฬา) เริ่มส่งลูกให้ฝ่ายตรงข้ามรับ เช่น ฝ่ายไทยเป็นฝ่ายได้เสิร์ฟก่อน. (อ. serve). |
เสีย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น ถนนเสีย ทางเสีย; ใช้ไม่ได้ เช่น เครื่องไฟฟ้าเสียหมดทุกอย่าง รถเสียกลางทาง; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนแล้งจัดเรือกสวนไร่นาเสียหมด, เสียหาย ก็ว่า; บูด เช่น แกงหม้อนี้เสียหมดทั้งหม้อ, เน่า เช่น ผลไม้เข่งนี้เสียแล้ว; ไม่ดี เช่น ราขึ้น ขนมปังจึงเสียหมดทั้งแถว เธอดัดผมบ่อยเกินไป ทำให้ผมเสีย; จ่ายเงิน, ชำระเงิน, เช่น เสียภาษี เสียค่าโทรศัพท์; หมดทรัพย์สินไปเพราะการพนัน เช่น เสียไพ่ เสียม้า; ตาย เช่น เขาเสียไปหลายปีแล้ว; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ทิ้ง เช่น ที่ขวากหนามอย่าเสียเกือก. (สุภาษิตพระร่วง), เสียไฟเป่าหิ่งห้อย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่ดี เช่น นิสัยเสีย น้ำเสีย; พิการ เช่น ตาเสีย ขาเสีย; บูด เช่น อย่ากินแกงเสีย จะปวดท้อง. | เสีย ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น ถนนเสีย ทางเสีย; ใช้ไม่ได้ เช่น เครื่องไฟฟ้าเสียหมดทุกอย่าง รถเสียกลางทาง; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนแล้งจัดเรือกสวนไร่นาเสียหมด, เสียหาย ก็ว่า; บูด เช่น แกงหม้อนี้เสียหมดทั้งหม้อ, เน่า เช่น ผลไม้เข่งนี้เสียแล้ว; ไม่ดี เช่น ราขึ้น ขนมปังจึงเสียหมดทั้งแถว เธอดัดผมบ่อยเกินไป ทำให้ผมเสีย; จ่ายเงิน, ชำระเงิน, เช่น เสียภาษี เสียค่าโทรศัพท์; หมดทรัพย์สินไปเพราะการพนัน เช่น เสียไพ่ เสียม้า; ตาย เช่น เขาเสียไปหลายปีแล้ว; (โบ) ทิ้ง เช่น ที่ขวากหนามอย่าเสียเกือก. (สุภาษิตพระร่วง), เสียไฟเป่าหิ่งห้อย. (ลอ). ว. ที่ไม่ดี เช่น นิสัยเสีย น้ำเสีย; พิการ เช่น ตาเสีย ขาเสีย; บูด เช่น อย่ากินแกงเสีย จะปวดท้อง. |
เสียกบาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง กรรมวิธีเซ่นผีโดยเอาเครื่องเซ่นพร้อมตุ๊กตาดินปั้นเป็นต้นใส่กระบะกาบกล้วยไปทิ้งที่ทางสามแพร่งหรือลอยน้ำ เพื่อมิให้ผีร้ายมานำตัวเด็กที่เจ็บป่วยไป, เรียกตุ๊กตาที่ใช้ในการนี้ว่า ตุ๊กตาเสียกบาล. | เสียกบาล น. กรรมวิธีเซ่นผีโดยเอาเครื่องเซ่นพร้อมตุ๊กตาดินปั้นเป็นต้นใส่กระบะกาบกล้วยไปทิ้งที่ทางสามแพร่งหรือลอยน้ำ เพื่อมิให้ผีร้ายมานำตัวเด็กที่เจ็บป่วยไป, เรียกตุ๊กตาที่ใช้ในการนี้ว่า ตุ๊กตาเสียกบาล. |
เสียกระบวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เป็นกระบวน เช่น กองทัพถูกตีร่นจนเสียกระบวน, ไม่เป็นไปตามลำดับรูปแบบที่กำหนด เช่น จัดรถบุปผชาติให้เป็นไปตามลำดับ อย่าให้เสียกระบวน. | เสียกระบวน ก. ไม่เป็นกระบวน เช่น กองทัพถูกตีร่นจนเสียกระบวน, ไม่เป็นไปตามลำดับรูปแบบที่กำหนด เช่น จัดรถบุปผชาติให้เป็นไปตามลำดับ อย่าให้เสียกระบวน. |
เสียกล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง พลาดไปเพราะรู้ไม่ทันเล่ห์กลของเขา เช่น บัดนี้สุครีพฤทธิรณ เสียกลกุมภัณฑ์ยักษา. (รามเกียรติ์). | เสียกล ก. พลาดไปเพราะรู้ไม่ทันเล่ห์กลของเขา เช่น บัดนี้สุครีพฤทธิรณ เสียกลกุมภัณฑ์ยักษา. (รามเกียรติ์). |
เสียการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สิ่งที่มุ่งหมายไว้ไม่เป็นผล เช่น ขอให้กำชับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างรอบคอบ อย่าให้เสียการได้. | เสียการ ก. ทำให้สิ่งที่มุ่งหมายไว้ไม่เป็นผล เช่น ขอให้กำชับผู้ใต้บังคับบัญชาให้ทำงานอย่างรอบคอบ อย่าให้เสียการได้. |
เสียการเสียงาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น อยากจะไปเที่ยวก็ไม่ว่า แต่อย่าให้เสียการเสียงาน, เสียงานเสียการ ก็ว่า. | เสียการเสียงาน (สำ) ก. ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น อยากจะไปเที่ยวก็ไม่ว่า แต่อย่าให้เสียการเสียงาน, เสียงานเสียการ ก็ว่า. |
เสียกำซ้ำกอบ, เสียกำแล้วซ้ำกอบ เสียกำซ้ำกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เสียกำแล้วซ้ำกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสียน้อยแล้วยังจะต้องเสียมากอีก เช่น พระองค์ช่างเชื่อฟังคำคนชั่วโฉด ชาวเมืองมันกล่าวโทษพลอยโกรธตอบ เสียกำแล้วจะซ้ำกอบกระมังหนา. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์. | เสียกำซ้ำกอบ, เสียกำแล้วซ้ำกอบ (สำ) ก. เสียน้อยแล้วยังจะต้องเสียมากอีก เช่น พระองค์ช่างเชื่อฟังคำคนชั่วโฉด ชาวเมืองมันกล่าวโทษพลอยโกรธตอบ เสียกำแล้วจะซ้ำกอบกระมังหนา. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์). |
เสียกำได้กอบ, เสียกำแล้วได้กอบ เสียกำได้กอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เสียกำแล้วได้กอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสียน้อยไปก่อนแล้วจะได้มากในภายหลัง เช่น เสียหนึ่งนิ่งไว้นานไปคงได้สอง เสมือนหนึ่งของท่านหายมีที่ไว้ ข้าพเจ้าคงจะหามาให้ไม่ให้เดือดร้อน ยอมเสียกำไปก่อนนั่นแหละ จึงจะได้กอบ. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก. | เสียกำได้กอบ, เสียกำแล้วได้กอบ (สำ) ก. เสียน้อยไปก่อนแล้วจะได้มากในภายหลัง เช่น เสียหนึ่งนิ่งไว้นานไปคงได้สอง เสมือนหนึ่งของท่านหายมีที่ไว้ ข้าพเจ้าคงจะหามาให้ไม่ให้เดือดร้อน ยอมเสียกำไปก่อนนั่นแหละ จึงจะได้กอบ. (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
เสียกำลังใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้กำลังใจตกหรือลดลง, รู้สึกท้อใจ, เช่น นักมวยชกแพ้เพราะเสียกำลังใจ. | เสียกำลังใจ ก. ทำให้กำลังใจตกหรือลดลง, รู้สึกท้อใจ, เช่น นักมวยชกแพ้เพราะเสียกำลังใจ. |
เสียกิริยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียมารยาท ก็ว่า. | เสียกิริยา ก. แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียมารยาท ก็ว่า. |
เสียขวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง เสียผี, ให้ผีกินเปล่าเสียก่อนเพื่อให้หมดเคราะห์. | เสียขวง (ถิ่นพายัพ) ก. เสียผี, ให้ผีกินเปล่าเสียก่อนเพื่อให้หมดเคราะห์. |
เสียขวัญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง | เป็นคำกริยา หมายถึง หมดกำลังใจเพราะสิ้นหวังและหวาดกลัว เช่น ทหารตกอยู่ในที่ล้อม ขาดเสบียง ทำให้เสียขวัญ. | เสียขวัญ ก. หมดกำลังใจเพราะสิ้นหวังและหวาดกลัว เช่น ทหารตกอยู่ในที่ล้อม ขาดเสบียง ทำให้เสียขวัญ. |
เสียคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง กลายเป็นคนเสื่อมเสียเพราะประพฤติไม่ดีเป็นต้น เช่น เขาติดการพนันจนเสียคน. | เสียคน ก. กลายเป็นคนเสื่อมเสียเพราะประพฤติไม่ดีเป็นต้น เช่น เขาติดการพนันจนเสียคน. |
เสียคำพูด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ทําตามที่พูดไว้, ไม่รักษาคําพูด. | เสียคำพูด ก. ไม่ทําตามที่พูดไว้, ไม่รักษาคําพูด. |
เสียงาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สิ่งหรือเรื่องที่กำหนดไว้ไม่สำเร็จหรือบกพร่อง เช่น เพื่อน ๆ รับปากว่าจะมาช่วยแล้วไม่มา ทำให้เสียงานหมด. | เสียงาน ก. ทำให้สิ่งหรือเรื่องที่กำหนดไว้ไม่สำเร็จหรือบกพร่อง เช่น เพื่อน ๆ รับปากว่าจะมาช่วยแล้วไม่มา ทำให้เสียงานหมด. |
เสียงานเสียการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น เขามัวแต่ไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ จนเสียงานเสียการ, เสียการเสียงาน ก็ว่า. | เสียงานเสียการ (สำ) ก. ทำให้งานที่มุ่งหวังไว้บกพร่องหรือเสียหาย เช่น เขามัวแต่ไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ จนเสียงานเสียการ, เสียการเสียงาน ก็ว่า. |
เสียจริต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นบ้า, มีสติวิปลาส, วิกลจริต. | เสียจริต ว. เป็นบ้า, มีสติวิปลาส, วิกลจริต. |
เสียใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่สบายใจเพราะมีเรื่องไม่สมประสงค์หรือผิดประสงค์ เช่น เด็กเสียใจเมื่อรู้ว่าทำผิด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง คลุ้มคลั่ง เช่น กลัวศัตรูฝ่ายหน้า หลังพระเสียใจข้า ดุจดับแก้วสองดวง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | เสียใจ ก. ไม่สบายใจเพราะมีเรื่องไม่สมประสงค์หรือผิดประสงค์ เช่น เด็กเสียใจเมื่อรู้ว่าทำผิด; (วรรณ) คลุ้มคลั่ง เช่น กลัวศัตรูฝ่ายหน้า หลังพระเสียใจข้า ดุจดับแก้วสองดวง. (ลอ). |
เสียโฉม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ฉอ-ฉิ่ง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง มีตำหนิตามร่างกายโดยเฉพาะที่ใบหน้า ทำให้ความงามลดลง เช่น เธอประสบอุบัติเหตุ ถูกกระจกบาดหน้า เลยเสียโฉม, โดยปริยายใช้แก่สิ่งของที่มีตำหนิ เช่น แจกันใบนี้ปากบิ่นไปหน่อย เลยเสียโฉม. | เสียโฉม ก. มีตำหนิตามร่างกายโดยเฉพาะที่ใบหน้า ทำให้ความงามลดลง เช่น เธอประสบอุบัติเหตุ ถูกกระจกบาดหน้า เลยเสียโฉม, โดยปริยายใช้แก่สิ่งของที่มีตำหนิ เช่น แจกันใบนี้ปากบิ่นไปหน่อย เลยเสียโฉม. |
เสียชาติเกิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เกิดมาแล้วควรจะทำให้ได้ แต่กลับไม่ได้ทำหรือทำไม่สำเร็จ หรือทำความดีไม่ได้ ก็ไม่น่าจะเกิดมาเป็นคน เช่น เกิดเป็นไทย ใจเป็นทาส เสียชาติเกิด เกิดมาเป็นคนทั้งที ต้องทำความดีให้ได้ จะได้ไม่เสียชาติเกิด. | เสียชาติเกิด (ปาก) ก. เกิดมาแล้วควรจะทำให้ได้ แต่กลับไม่ได้ทำหรือทำไม่สำเร็จ หรือทำความดีไม่ได้ ก็ไม่น่าจะเกิดมาเป็นคน เช่น เกิดเป็นไทย ใจเป็นทาส เสียชาติเกิด เกิดมาเป็นคนทั้งที ต้องทำความดีให้ได้ จะได้ไม่เสียชาติเกิด. |
เสียชีพ, เสียชีวิต เสียชีพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน เสียชีวิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น เขาประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตเมื่อวานนี้. | เสียชีพ, เสียชีวิต ก. ตาย เช่น เขาประสบอุบัติเหตุเสียชีวิตเมื่อวานนี้. |
เสียชื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ชื่อเสียงไม่ดี เช่น เขาติดยาเสพติดและเป็นนักการพนัน เลยทำให้เสียชื่อ. | เสียชื่อ ก. ทําให้ชื่อเสียงไม่ดี เช่น เขาติดยาเสพติดและเป็นนักการพนัน เลยทำให้เสียชื่อ. |
เสียเช่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีกำเนิดไม่ดี เช่น บ้างก็ดุเดือดด่าขู่เขี้ยวเข็ญ ว่าอีชาติชั่วอีเสียเช่นชาติมันไม่ดี. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก. | เสียเช่น (วรรณ) ว. มีกำเนิดไม่ดี เช่น บ้างก็ดุเดือดด่าขู่เขี้ยวเข็ญ ว่าอีชาติชั่วอีเสียเช่นชาติมันไม่ดี. (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
เสียเชิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียท่า, พลาดท่า, เช่น ผู้ใหญ่ยังอาจเสียเชิงเด็กได้. | เสียเชิง ก. เสียท่า, พลาดท่า, เช่น ผู้ใหญ่ยังอาจเสียเชิงเด็กได้. |
เสียเชิงชาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียชั้นเชิงที่ผู้ชายพึงมีให้ผู้หญิงดูแคลน เช่น ถูกผู้หญิงหลอกจนขายหน้าอย่างนี้ เสียเชิงชายหมด. | เสียเชิงชาย ก. เสียชั้นเชิงที่ผู้ชายพึงมีให้ผู้หญิงดูแคลน เช่น ถูกผู้หญิงหลอกจนขายหน้าอย่างนี้ เสียเชิงชายหมด. |
เสียดาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกอยากได้สิ่งที่เสียไปพลาดไปเป็นต้น ให้กลับคืนมา เช่น เธอเสียดายแหวนเพชรที่หายไป, รู้สึกว่าพลาดโอกาสที่ควรจะมีจะได้ เช่น เสียดายที่เขาไม่เชิญฉันไปงานนี้ด้วย, รู้สึกไม่อยากให้เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น เปิดน้ำเปิดไฟทิ้งไว้ น่าเสียดาย; อาลัยถึงสิ่งที่จากไป เช่น เขาเสียดายที่คนดี ๆ ตายในอุบัติเหตุครั้งนี้หลายคน. | เสียดาย ก. รู้สึกอยากได้สิ่งที่เสียไปพลาดไปเป็นต้น ให้กลับคืนมา เช่น เธอเสียดายแหวนเพชรที่หายไป, รู้สึกว่าพลาดโอกาสที่ควรจะมีจะได้ เช่น เสียดายที่เขาไม่เชิญฉันไปงานนี้ด้วย, รู้สึกไม่อยากให้เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น เปิดน้ำเปิดไฟทิ้งไว้ น่าเสียดาย; อาลัยถึงสิ่งที่จากไป เช่น เขาเสียดายที่คนดี ๆ ตายในอุบัติเหตุครั้งนี้หลายคน. |
เสียเด็ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง กลายเป็นเด็กนิสัยไม่ดี ทำตามใจตัว เป็นต้น เช่น อย่าตามใจลูกมากนัก จะเสียเด็ก. | เสียเด็ก ก. กลายเป็นเด็กนิสัยไม่ดี ทำตามใจตัว เป็นต้น เช่น อย่าตามใจลูกมากนัก จะเสียเด็ก. |
เสียตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียเนื้อเสียตัว ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง ตาย. | เสียตัว ก. ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียเนื้อเสียตัว ก็ว่า; (ถิ่นอีสาน) ตาย. |
เสียตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียนัยน์ตาไป; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่อยากดูให้เสียตาหรอก, เสียสายตา ก็ว่า. | เสียตา ก. สูญเสียนัยน์ตาไป; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่อยากดูให้เสียตาหรอก, เสียสายตา ก็ว่า. |
เสียตีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียตีนไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น บ้านของเขา ฉันไม่ไปเหยียบให้เสียตีนหรอก. | เสียตีน ก. สูญเสียตีนไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น บ้านของเขา ฉันไม่ไปเหยียบให้เสียตีนหรอก. |
เสียแต่, เสียที่ เสียแต่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก เสียที่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำสันธาน หมายถึง เสียตรงที่, บกพร่องตรงที่, มีตำหนิตรงที่, เช่น หน้าตาก็สวยดี เสียแต่พูดไม่เพราะ. | เสียแต่, เสียที่ สัน. เสียตรงที่, บกพร่องตรงที่, มีตำหนิตรงที่, เช่น หน้าตาก็สวยดี เสียแต่พูดไม่เพราะ. |
เสียแต้ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียคะแนน เช่น นักกีฬาทำผิดกติกาเลยเสียแต้ม, ขายหน้า เช่น วันนี้เสียแต้ม นัดไปเลี้ยงเพื่อนแล้วลืมเอากระเป๋าสตางค์ไป, เสียความนิยม เช่น ถ้านักการเมืองพูดไม่ถูกใจประชาชน ก็จะเสียแต้ม. | เสียแต้ม ก. เสียคะแนน เช่น นักกีฬาทำผิดกติกาเลยเสียแต้ม, ขายหน้า เช่น วันนี้เสียแต้ม นัดไปเลี้ยงเพื่อนแล้วลืมเอากระเป๋าสตางค์ไป, เสียความนิยม เช่น ถ้านักการเมืองพูดไม่ถูกใจประชาชน ก็จะเสียแต้ม. |
เสียเถอะ, เสียเถิด เสียเถอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เสียเถิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้อง เช่น ไปเสียเถิด. | เสียเถอะ, เสียเถิด ว. คําประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้อง เช่น ไปเสียเถิด. |
เสียทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้ใคร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ยอมยกสามีให้หญิงอื่นแม้จะแลกกับทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากก็ตาม. | เสียทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้ใคร (สำ) ก. ไม่ยอมยกสามีให้หญิงอื่นแม้จะแลกกับทรัพย์สินเงินทองจำนวนมากก็ตาม. |
เสียท่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง พลาดท่า เช่น ตั้งใจจะไปต่อว่าเขา แต่เสียท่าถูกเขาว่ากลับมา. | เสียท่า ก. พลาดท่า เช่น ตั้งใจจะไปต่อว่าเขา แต่เสียท่าถูกเขาว่ากลับมา. |
เสียที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง พลาดท่วงที เช่น คนซื่อเกินไปมักเสียทีคนปลิ้นปล้อน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียแรง, เสียโอกาส, เสียเที่ยว, เช่น เสียทีที่มาหาแล้วก็ไม่พบ. | เสียที ๑ ก. พลาดท่วงที เช่น คนซื่อเกินไปมักเสียทีคนปลิ้นปล้อน. ว. เสียแรง, เสียโอกาส, เสียเที่ยว, เช่น เสียทีที่มาหาแล้วก็ไม่พบ. |
เสียเที่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง เดินทางไปหรือมาแล้วไม่ได้ผลตามที่คาดหวังไว้ เช่น เดินทางไปหาเพื่อนแล้วไม่พบ เสียเที่ยวเปล่า. | เสียเที่ยว ก. เดินทางไปหรือมาแล้วไม่ได้ผลตามที่คาดหวังไว้ เช่น เดินทางไปหาเพื่อนแล้วไม่พบ เสียเที่ยวเปล่า. |
เสียธรรมเนียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา เช่น เมื่อเวลาไปไหว้พระควรมีดอกไม้ธูปเทียนไปด้วย อย่าให้เสียธรรมเนียม. | เสียธรรมเนียม ก. ผิดไปจากแบบแผนที่เคยปฏิบัติกันมา เช่น เมื่อเวลาไปไหว้พระควรมีดอกไม้ธูปเทียนไปด้วย อย่าให้เสียธรรมเนียม. |
เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเพียงเล็กน้อยไม่ยอมเสีย ทำให้ต้องเสียมากกว่าเดิม เช่น ตอนที่เบรกรถยนต์เริ่มไม่ดี ก็ไม่รีบไปซ่อม พอเบรกแตกไปชนต้นไม้เข้า เลยต้องเสียค่าซ่อมมาก เข้าทำนองเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย. | เสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย (สำ) ก. เสียเพียงเล็กน้อยไม่ยอมเสีย ทำให้ต้องเสียมากกว่าเดิม เช่น ตอนที่เบรกรถยนต์เริ่มไม่ดี ก็ไม่รีบไปซ่อม พอเบรกแตกไปชนต้นไม้เข้า เลยต้องเสียค่าซ่อมมาก เข้าทำนองเสียน้อยเสียยาก เสียมากเสียง่าย. |
เสียน้ำใจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกน้อยใจเนื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งไม่เห็นคุณค่าหรือความตั้งใจดีของตนเป็นต้น เช่น เขาอุตส่าห์เอาของมาให้แต่ไม่รับ ทำให้เขาเสียน้ำใจ. | เสียน้ำใจ ก. รู้สึกน้อยใจเนื่องจากอีกฝ่ายหนึ่งไม่เห็นคุณค่าหรือความตั้งใจดีของตนเป็นต้น เช่น เขาอุตส่าห์เอาของมาให้แต่ไม่รับ ทำให้เขาเสียน้ำใจ. |
เสียน้ำตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้ เช่น ละครเรื่องนี้เศร้าจริง ๆ ทำให้ฉันต้องเสียน้ำตา คนเลว ๆ อย่างนี้ตายไปก็ไม่น่าจะเสียน้ำตาให้. | เสียน้ำตา ก. ร้องไห้ เช่น ละครเรื่องนี้เศร้าจริง ๆ ทำให้ฉันต้องเสียน้ำตา คนเลว ๆ อย่างนี้ตายไปก็ไม่น่าจะเสียน้ำตาให้. |
เสียนิสัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง มีนิสัยไม่ดี เช่น พ่อแม่มีลูกคนเดียว จึงตามใจจนลูกเสียนิสัย เอาแต่ใจตัวเอง. | เสียนิสัย ก. มีนิสัยไม่ดี เช่น พ่อแม่มีลูกคนเดียว จึงตามใจจนลูกเสียนิสัย เอาแต่ใจตัวเอง. |
เสียเนื้อเสียตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียตัว ก็ว่า. | เสียเนื้อเสียตัว ก. ถูกชายร่วมประเวณี (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียตัว ก็ว่า. |
เสียบน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้บน, แก้บนแก่ผีสางเทวดา. | เสียบน ก. ใช้บน, แก้บนแก่ผีสางเทวดา. |
เสียปาก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดออกไปเปล่าประโยชน์ เช่น เด็กดื้ออย่างนี้เตือนไปก็เสียปากเปล่า ๆ; ไม่คู่ควรที่จะกิน เช่น ของอย่างนี้ฉันไม่กินให้เสียปาก. | เสียปาก ก. พูดออกไปเปล่าประโยชน์ เช่น เด็กดื้ออย่างนี้เตือนไปก็เสียปากเปล่า ๆ; ไม่คู่ควรที่จะกิน เช่น ของอย่างนี้ฉันไม่กินให้เสียปาก. |
เสียเปรียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นรอง, ด้อยกว่า, เช่น คนซื่อมักเสียเปรียบคนโกง. | เสียเปรียบ ก. เป็นรอง, ด้อยกว่า, เช่น คนซื่อมักเสียเปรียบคนโกง. |
เสียเปล่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น อย่าปล่อยเวลาให้เสียเปล่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียแรงที่ (เป็นสำนวนใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น เป็นลูกผู้หญิงเสียเปล่า ไม่รู้จักการบ้านการเรือน มีสมองเสียเปล่า แต่ไม่รู้จักคิด. | เสียเปล่า ก. เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น อย่าปล่อยเวลาให้เสียเปล่า. ว. เสียแรงที่ (เป็นสำนวนใช้ในเชิงตำหนิ) เช่น เป็นลูกผู้หญิงเสียเปล่า ไม่รู้จักการบ้านการเรือน มีสมองเสียเปล่า แต่ไม่รู้จักคิด. |
เสียผี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำพิธีเซ่นผีเพื่อขอขมาในความผิดเชิงชู้สาวตามประเพณีท้องถิ่น. | เสียผี ก. ทำพิธีเซ่นผีเพื่อขอขมาในความผิดเชิงชู้สาวตามประเพณีท้องถิ่น. |
เสียผู้ใหญ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียคุณลักษณะของผู้ใหญ่ ทําให้ไม่เป็นที่เคารพเชื่อถือของผู้อื่น เช่น เธอมาขอให้ฉันไปตกลงหมั้นกับฝ่ายโน้นเรียบร้อยแล้ว มาเปลี่ยนใจเสียเช่นนี้ ฉันก็เสียผู้ใหญ่. | เสียผู้ใหญ่ ก. เสียคุณลักษณะของผู้ใหญ่ ทําให้ไม่เป็นที่เคารพเชื่อถือของผู้อื่น เช่น เธอมาขอให้ฉันไปตกลงหมั้นกับฝ่ายโน้นเรียบร้อยแล้ว มาเปลี่ยนใจเสียเช่นนี้ ฉันก็เสียผู้ใหญ่. |
เสียแผน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากแผนการที่วางไว้ เช่น วางแผนจะไปเที่ยว แต่ฝนตกหนักจนไปไม่ได้ เลยเสียแผนหมด. | เสียแผน ก. ผิดไปจากแผนการที่วางไว้ เช่น วางแผนจะไปเที่ยว แต่ฝนตกหนักจนไปไม่ได้ เลยเสียแผนหมด. |
เสียพรหมจรรย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ขาดจากความเป็นนักบวชเพราะล่วงละเมิดการประพฤติพรหมจรรย์. | เสียพรหมจรรย์ ก. ขาดจากความเป็นนักบวชเพราะล่วงละเมิดการประพฤติพรหมจรรย์. |
เสียพรหมจารี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียสาว ก็ว่า. | เสียพรหมจารี ก. ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียสาว ก็ว่า. |
เสียเพศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง เปลี่ยนภาวะจากคฤหัสถ์เป็นนักบวช เช่น ซัดยังเมืองมัทรบุรี เสียเพศเทพี เป็นดาบสศรีโสภา. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, เปลี่ยนภาวะจากนักบวชเป็นคฤหัสถ์ เช่น เสียฤษีพรตเพศ ห้องหิมเวศนาจลจรหล่ำน้นน ราชเวสมธารยิ ทรงเพศเป็นพญามหากระษัตราธิราช. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์. | เสียเพศ (วรรณ) ก. เปลี่ยนภาวะจากคฤหัสถ์เป็นนักบวช เช่น ซัดยังเมืองมัทรบุรี เสียเพศเทพี เป็นดาบสศรีโสภา. (สมุทรโฆษ), เปลี่ยนภาวะจากนักบวชเป็นคฤหัสถ์ เช่น เสียฤษีพรตเพศ ห้องหิมเวศนาจลจรหล่ำน้นน ราชเวสมธารยิ ทรงเพศเป็นพญามหากระษัตราธิราช. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). |
เสียภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกลบฐานะ, เสียฐานะท่าที, เช่น เป็นถึงนักมวยชั้นครู มาแพ้นักมวยหัดใหม่ เสียภูมิหมด ปัญหาง่าย ๆ ที่นักเรียนถาม ครูตอบไม่ได้ เสียภูมิหมด. | เสียภูมิ ก. ถูกลบฐานะ, เสียฐานะท่าที, เช่น เป็นถึงนักมวยชั้นครู มาแพ้นักมวยหัดใหม่ เสียภูมิหมด ปัญหาง่าย ๆ ที่นักเรียนถาม ครูตอบไม่ได้ เสียภูมิหมด. |
เสียมารยาท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียกิริยา ก็ว่า. | เสียมารยาท ก. แสดงกิริยาที่สังคมถือว่าไม่สมควร, เสียกิริยา ก็ว่า. |
เสียมือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียมือไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น คนอย่างนี้ ฉันไม่ไหว้ให้เสียมือหรอก. | เสียมือ ก. สูญเสียมือไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น คนอย่างนี้ ฉันไม่ไหว้ให้เสียมือหรอก. |
เสียมือเสียตีน, เสียมือเสียเท้า เสียมือเสียตีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เสียมือเสียเท้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียมือและตีนไป, สูญเสียมือและเท้าไป, โดยปริยายหมายถึงเสียบุคคลที่รับใช้ใกล้ชิดหรือไว้วางใจไป เช่น เด็กคนนี้รับใช้ใกล้ชิดจนรู้ใจท่านสมภารมานาน ตายไปก็เท่ากับท่านเสียมือเสียตีนไป. | เสียมือเสียตีน, เสียมือเสียเท้า ก. สูญเสียมือและตีนไป, สูญเสียมือและเท้าไป, โดยปริยายหมายถึงเสียบุคคลที่รับใช้ใกล้ชิดหรือไว้วางใจไป เช่น เด็กคนนี้รับใช้ใกล้ชิดจนรู้ใจท่านสมภารมานาน ตายไปก็เท่ากับท่านเสียมือเสียตีนไป. |
เสียยุบเสียยับ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียแล้วเสียอีก (มักใช้แก่เงินทอง) เช่น ไปเที่ยวงานคราวนี้เสียยุบเสียยับ. | เสียยุบเสียยับ ก. เสียแล้วเสียอีก (มักใช้แก่เงินทอง) เช่น ไปเที่ยวงานคราวนี้เสียยุบเสียยับ. |
เสียรอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ทํารอยให้หลงเข้าใจผิด เช่น แล้วเสียรอยถอยหลังลงสู่สระศรี. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์กุมาร. | เสียรอย (วรรณ) ก. ทํารอยให้หลงเข้าใจผิด เช่น แล้วเสียรอยถอยหลังลงสู่สระศรี. (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
เสียรังวัด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง พลอยได้รับผิดด้วยในเหตุที่เกิดขึ้น, พลอยเสียหายไปด้วย, เช่น เด็กในบ้านไปขโมยมะม่วงของเพื่อนบ้าน เขามาต่อว่า เจ้าของบ้านก็พลอยเสียรังวัดไปด้วย. | เสียรังวัด ก. พลอยได้รับผิดด้วยในเหตุที่เกิดขึ้น, พลอยเสียหายไปด้วย, เช่น เด็กในบ้านไปขโมยมะม่วงของเพื่อนบ้าน เขามาต่อว่า เจ้าของบ้านก็พลอยเสียรังวัดไปด้วย. |
เสียราศี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียสง่า, เสียเกียรติยศ, เสียศักดิ์ศรี, เสียสิริมงคล, เช่น คบคนชั่วทำให้เสียราศี. | เสียราศี ก. เสียสง่า, เสียเกียรติยศ, เสียศักดิ์ศรี, เสียสิริมงคล, เช่น คบคนชั่วทำให้เสียราศี. |
เสียรำคาญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้ความรำคาญหมดไป เช่น เขามาเซ้าซี้ขอให้ช่วยซื้อของก็เลยต้องซื้อเพราะอดเสียรำคาญไม่ได้, ตัดรำคาญ ก็ว่า. | เสียรำคาญ ก. ทำให้ความรำคาญหมดไป เช่น เขามาเซ้าซี้ขอให้ช่วยซื้อของก็เลยต้องซื้อเพราะอดเสียรำคาญไม่ได้, ตัดรำคาญ ก็ว่า. |
เสียรู้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง แพ้เพราะโง่กว่าเขาหรือไม่ทันชั้นเชิงเขา. | เสียรู้ ก. แพ้เพราะโง่กว่าเขาหรือไม่ทันชั้นเชิงเขา. |
เสียรูป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดรูปผิดร่างไป เช่น กระเป๋าใบนี้ใส่ของอัดแน่นจนเกินไป ทำให้เสียรูปหมด. | เสียรูป ก. ผิดรูปผิดร่างไป เช่น กระเป๋าใบนี้ใส่ของอัดแน่นจนเกินไป ทำให้เสียรูปหมด. |
เสียรูปคดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นผลให้คดีเปลี่ยนไปในทางที่เสียเปรียบ. | เสียรูปคดี (ปาก) ก. เป็นผลให้คดีเปลี่ยนไปในทางที่เสียเปรียบ. |
เสียรูปทรง, เสียรูปเสียทรง เสียรูปทรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู เสียรูปเสียทรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากรูปทรงเดิม, ผิดไปจากรูปทรงที่ถือว่างาม, เช่น เขาป่วยหนักมา ๓ เดือน ผอมมากจนเสียรูปเสียทรงหมด ตอนสาว ๆ ก็รูปร่างดี พอมีอายุมากขึ้น อ้วนเผละจนเสียรูปทรงหมด. | เสียรูปทรง, เสียรูปเสียทรง ก. ผิดไปจากรูปทรงเดิม, ผิดไปจากรูปทรงที่ถือว่างาม, เช่น เขาป่วยหนักมา ๓ เดือน ผอมมากจนเสียรูปเสียทรงหมด ตอนสาว ๆ ก็รูปร่างดี พอมีอายุมากขึ้น อ้วนเผละจนเสียรูปทรงหมด. |
เสียแรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเรี่ยวแรง เช่น งานนี้ทำไปก็เสียแรงเปล่า ๆ ได้ผลประโยชน์ไม่คุ้ม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่น้อยใจหรือผิดหวังที่ลงแรงไปแล้วแต่ไม่ได้ผลสมประสงค์ เช่น เสียแรงไว้วางใจให้รู้ความลับของบริษัท กลับเอาไปเปิดเผยให้ฝ่ายตรงข้ามรู้ได้. | เสียแรง ก. เสียเรี่ยวแรง เช่น งานนี้ทำไปก็เสียแรงเปล่า ๆ ได้ผลประโยชน์ไม่คุ้ม. ว. ที่น้อยใจหรือผิดหวังที่ลงแรงไปแล้วแต่ไม่ได้ผลสมประสงค์ เช่น เสียแรงไว้วางใจให้รู้ความลับของบริษัท กลับเอาไปเปิดเผยให้ฝ่ายตรงข้ามรู้ได้. |
เสียฤกษ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำไม่ได้ในระหว่างเวลามงคลที่กำหนดไว้ (ใช้ในทางโหราศาสตร์) เช่น เจ้าสาวเป็นลมหมดสติในระหว่างพิธีรดน้ำสังข์ เลยทำให้เสียฤกษ์; ไม่ทันเวลาที่นัดหมาย เช่น นัดกันจะไปธุระแต่เขามาไม่ทัน เสียฤกษ์หมด. | เสียฤกษ์ ก. ทำไม่ได้ในระหว่างเวลามงคลที่กำหนดไว้ (ใช้ในทางโหราศาสตร์) เช่น เจ้าสาวเป็นลมหมดสติในระหว่างพิธีรดน้ำสังข์ เลยทำให้เสียฤกษ์; ไม่ทันเวลาที่นัดหมาย เช่น นัดกันจะไปธุระแต่เขามาไม่ทัน เสียฤกษ์หมด. |
เสียเลือดเนื้อ, เสียเลือดเสียเนื้อ เสียเลือดเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เสียเลือดเสียเนื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง บาดเจ็บล้มตาย เช่น ในการสู้รบกัน ย่อมเสียเลือดเสียเนื้อเป็นธรรมดา. | เสียเลือดเนื้อ, เสียเลือดเสียเนื้อ ก. บาดเจ็บล้มตาย เช่น ในการสู้รบกัน ย่อมเสียเลือดเสียเนื้อเป็นธรรมดา. |
เสียเวลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เวลาหมดไป เช่น วันหนึ่ง ๆ เขาเสียเวลาคอยรถประจำทางเป็นชั่วโมง, โดยปริยายหมายความว่า หมดเวลาไปโดยไม่ได้ประโยชน์คุ้ม เช่น หนังสือเล่มนี้เสียเวลาอ่าน. | เสียเวลา ก. ใช้เวลาหมดไป เช่น วันหนึ่ง ๆ เขาเสียเวลาคอยรถประจำทางเป็นชั่วโมง, โดยปริยายหมายความว่า หมดเวลาไปโดยไม่ได้ประโยชน์คุ้ม เช่น หนังสือเล่มนี้เสียเวลาอ่าน. |
เสียศูนย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดจากแนวที่ถูกต้อง เช่น ปืนเสียศูนย์ ยิงได้ไม่แม่นยำ. | เสียศูนย์ ก. ผิดจากแนวที่ถูกต้อง เช่น ปืนเสียศูนย์ ยิงได้ไม่แม่นยำ. |
เสียเศวตฉัตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, เสียราชสมบัติ, เสียบ้านเสียเมือง, เสียเอกราช, ใช้พูดย่อว่า เสียฉัตร ก็มี. | เสียเศวตฉัตร ก. เสียความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, เสียราชสมบัติ, เสียบ้านเสียเมือง, เสียเอกราช, ใช้พูดย่อว่า เสียฉัตร ก็มี. |
เสียสติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสติฟั่นเฟือน, คุ้มดีคุ้มร้าย. | เสียสติ ว. มีสติฟั่นเฟือน, คุ้มดีคุ้มร้าย. |
เสียสมอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นเปลืองความคิด เช่น เรื่องนี้คิดไปก็เสียสมองเปล่า ๆ ปัญหาข้อนี้ยากมาก เสียสมองอยู่นานกว่าจะคิดออก, เสียหัว ก็ว่า. | เสียสมอง ก. สิ้นเปลืองความคิด เช่น เรื่องนี้คิดไปก็เสียสมองเปล่า ๆ ปัญหาข้อนี้ยากมาก เสียสมองอยู่นานกว่าจะคิดออก, เสียหัว ก็ว่า. |
เสียสละ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ให้โดยยินยอม, ให้ด้วยความเต็มใจ, เช่น ทหารเสียสละชีวิตเพื่อปกป้องเอกราชของชาติ พ่อแม่เสียสละทุกสิ่งทุกอย่างได้เพื่อลูก. | เสียสละ ก. ให้โดยยินยอม, ให้ด้วยความเต็มใจ, เช่น ทหารเสียสละชีวิตเพื่อปกป้องเอกราชของชาติ พ่อแม่เสียสละทุกสิ่งทุกอย่างได้เพื่อลูก. |
เสียสัตย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ละทิ้งคำมั่นสัญญา เช่น ยอมเสียชีวิตดีกว่าเสียสัตย์. | เสียสัตย์ ก. ละทิ้งคำมั่นสัญญา เช่น ยอมเสียชีวิตดีกว่าเสียสัตย์. |
เสียสันดาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เสียอุปนิสัยที่มีมาแต่กำเนิด (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น เด็กคนนี้เสียสันดาน ชอบลักขโมยของคนอื่น. | เสียสันดาน (ปาก) ก. เสียอุปนิสัยที่มีมาแต่กำเนิด (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น เด็กคนนี้เสียสันดาน ชอบลักขโมยของคนอื่น. |
เสียสายตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สายตาเสื่อมลงหรือเลวลง เช่น อย่าอ่านหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างน้อย จะทำให้เสียสายตา; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียสายตาหรอก, เสียตา ก็ว่า. | เสียสายตา ก. ทำให้สายตาเสื่อมลงหรือเลวลง เช่น อย่าอ่านหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างน้อย จะทำให้เสียสายตา; โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียสายตาหรอก, เสียตา ก็ว่า. |
เสียสาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียพรหมจารี ก็ว่า. | เสียสาว ก. ผ่านการร่วมประเวณีครั้งแรก (ใช้แก่ผู้หญิง), เสียพรหมจารี ก็ว่า. |
เสียเส้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียจังหวะ เช่น เขากำลังเล่าเรื่องตื่นเต้น เธอก็พูดขัดคอขึ้นมา ทำให้เสียเส้นหมด, พลาดโอกาสที่หวังไว้หรือที่ตั้งใจไว้ เช่น เตรียมจัดงานใหญ่โตเพื่อต้อนรับผู้ใหญ่ แต่ปรากฏว่าท่านไม่มา ทำให้เสียเส้นหมด. | เสียเส้น ก. เสียจังหวะ เช่น เขากำลังเล่าเรื่องตื่นเต้น เธอก็พูดขัดคอขึ้นมา ทำให้เสียเส้นหมด, พลาดโอกาสที่หวังไว้หรือที่ตั้งใจไว้ เช่น เตรียมจัดงานใหญ่โตเพื่อต้อนรับผู้ใหญ่ แต่ปรากฏว่าท่านไม่มา ทำให้เสียเส้นหมด. |
เสียหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ขายหน้า เช่น ลูกประพฤติตัวไม่ดี พลอยทำให้พ่อแม่เสียหน้าไปด้วย. | เสียหน้า ก. ขายหน้า เช่น ลูกประพฤติตัวไม่ดี พลอยทำให้พ่อแม่เสียหน้าไปด้วย. |
เสียหลัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดไปจากหลักการ หลักเกณฑ์ หรือความถูกต้องเป็นต้น เช่น เป็นผู้ใหญ่มีคนเขานับถือ ทำสิ่งใดอย่าให้เสียหลัก; ซวดเซ, พลาดท่า, ทรงตัวไม่ได้, เช่น คนเมาเสียหลักเลยพลัดตกลงไปในคลอง. | เสียหลัก ก. ผิดไปจากหลักการ หลักเกณฑ์ หรือความถูกต้องเป็นต้น เช่น เป็นผู้ใหญ่มีคนเขานับถือ ทำสิ่งใดอย่าให้เสียหลัก; ซวดเซ, พลาดท่า, ทรงตัวไม่ได้, เช่น คนเมาเสียหลักเลยพลัดตกลงไปในคลอง. |
เสียหลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียทรัพย์สินเงินทองเป็นต้นไปมาก เช่น งานนี้เสียหลายแล้ว ยังไม่ได้อะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย; เสียเปล่า (ใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เด็กกำพร้าคนนี้ เลี้ยงไว้จนโตก็พึ่งได้ ไม่เสียหลาย งานวิจัยชิ้นนี้ทำไปก็ได้ประโยชน์ ไม่เสียหลาย. | เสียหลาย ก. เสียทรัพย์สินเงินทองเป็นต้นไปมาก เช่น งานนี้เสียหลายแล้ว ยังไม่ได้อะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย; เสียเปล่า (ใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เด็กกำพร้าคนนี้ เลี้ยงไว้จนโตก็พึ่งได้ ไม่เสียหลาย งานวิจัยชิ้นนี้ทำไปก็ได้ประโยชน์ ไม่เสียหลาย. |
เสียหัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียหัวไป; สิ้นเปลืองความคิด เช่น ปัญหาโลกแตกอย่างนี้ อย่าคิดให้เสียหัวเลย เลขข้อนี้กว่าจะทำได้ก็เสียหัวไปหลายชั่วโมง, เสียสมอง ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง เสียภาษี. | เสียหัว ก. สูญเสียหัวไป; สิ้นเปลืองความคิด เช่น ปัญหาโลกแตกอย่างนี้ อย่าคิดให้เสียหัวเลย เลขข้อนี้กว่าจะทำได้ก็เสียหัวไปหลายชั่วโมง, เสียสมอง ก็ว่า; (ถิ่นอีสาน) เสียภาษี. |
เสียหาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เสื่อมเสีย เช่น เขาประพฤติตัวไม่ดี ทำให้วงศ์ตระกูลพลอยเสียหายไปด้วย; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนตกหนัก น้ำท่วมไร่นาเสียหายหมด, เสีย ก็ว่า. | เสียหาย ก. เสื่อมเสีย เช่น เขาประพฤติตัวไม่ดี ทำให้วงศ์ตระกูลพลอยเสียหายไปด้วย; ยับเยิน, ย่อยยับ, เช่น ปีนี้ฝนตกหนัก น้ำท่วมไร่นาเสียหายหมด, เสีย ก็ว่า. |
เสียหู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียหูไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น เรื่องไร้สาระเช่นนี้ ฉันไม่ฟังให้เสียหูหรอก. | เสียหู ก. สูญเสียหูไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น เรื่องไร้สาระเช่นนี้ ฉันไม่ฟังให้เสียหูหรอก. |
เสียหูเสียตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญเสียหูและตาไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยากดูไม่อยากฟัง เช่น ละครไม่มีคุณภาพอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียหูเสียตาหรอก. | เสียหูเสียตา ก. สูญเสียหูและตาไป, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยากดูไม่อยากฟัง เช่น ละครไม่มีคุณภาพอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียหูเสียตาหรอก. |
เสียเหลี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียชั้นเชิงท่าที เช่น ในการเจรจาอย่าให้เสียเหลี่ยมเขาได้, ถูกลบเหลี่ยม เช่น นักเลงโตเสียเหลี่ยม ถูกนักเลงรุ่นน้องดักตีหัว, เสียเหลี่ยมเสียคม ก็ว่า. | เสียเหลี่ยม ก. เสียชั้นเชิงท่าที เช่น ในการเจรจาอย่าให้เสียเหลี่ยมเขาได้, ถูกลบเหลี่ยม เช่น นักเลงโตเสียเหลี่ยม ถูกนักเลงรุ่นน้องดักตีหัว, เสียเหลี่ยมเสียคม ก็ว่า. |
เสียเหลี่ยมเสียคม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียเหลี่ยม. | เสียเหลี่ยมเสียคม ก. เสียเหลี่ยม. |
เสียอารมณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง หงุดหงิด เช่น รถติดมากเลยทำให้เสียอารมณ์. | เสียอารมณ์ ก. หงุดหงิด เช่น รถติดมากเลยทำให้เสียอารมณ์. |
เสีย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | คําประกอบท้ายกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อให้เน้นความหมายหรือให้เสร็จไป เช่น กินเสีย มัวไปช้าเสีย. | เสีย ๒ คําประกอบท้ายกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อให้เน้นความหมายหรือให้เสร็จไป เช่น กินเสีย มัวไปช้าเสีย. |
เสียซิ, เสียซี เสียซิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ เสียซี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี | คำประกอบท้ายกริยา แสดงคำสั่งหรือแนะนำเป็นต้น เช่น กินเสียซิ ไปเสียซี. | เสียซิ, เสียซี คำประกอบท้ายกริยา แสดงคำสั่งหรือแนะนำเป็นต้น เช่น กินเสียซิ ไปเสียซี. |
เสียได้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท | คำประกอบท้ายกริยา แสดงความผิดหวังเป็นต้น เช่น ตั้งใจมาหาเพื่อนทั้งที กลับไม่อยู่เสียได้. | เสียได้ คำประกอบท้ายกริยา แสดงความผิดหวังเป็นต้น เช่น ตั้งใจมาหาเพื่อนทั้งที กลับไม่อยู่เสียได้. |
เสียเถอะ, เสียเถิด เสียเถอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ เสียเถิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้องเป็นต้น เช่น ไปเสียเถิด. | เสียเถอะ, เสียเถิด คำประกอบท้ายกริยา แสดงการเกลี้ยกล่อมหรือขอร้องเป็นต้น เช่น ไปเสียเถิด. |
เสียที เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | คำประกอบท้ายกริยา แสดงความตั้งใจมั่นหมาย เช่น วันนี้มีเวลาว่าง จะได้จัดโต๊ะหนังสือเสียที, คำประกอบท้ายกริยา แสดงความโล่งใจ เช่น เขามานั่งคุยอยู่นานกลับไปเสียที เราจะได้ทำอย่างอื่นบ้าง. | เสียที ๒ คำประกอบท้ายกริยา แสดงความตั้งใจมั่นหมาย เช่น วันนี้มีเวลาว่าง จะได้จัดโต๊ะหนังสือเสียที, คำประกอบท้ายกริยา แสดงความโล่งใจ เช่น เขามานั่งคุยอยู่นานกลับไปเสียที เราจะได้ทำอย่างอื่นบ้าง. |
เสียแล้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน | คำประกอบท้ายกริยา แสดงความเป็นอดีต เช่น ยังไม่ทันได้พูดคุยกันเลย เขาก็กลับไปเสียแล้ว. | เสียแล้ว คำประกอบท้ายกริยา แสดงความเป็นอดีต เช่น ยังไม่ทันได้พูดคุยกันเลย เขาก็กลับไปเสียแล้ว. |
เสียหน่อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | คำประกอบท้ายกริยา แสดงความอ้อนวอนหรือความไม่เต็มใจเป็นต้น เช่น กินเสียหน่อยนะ ไปงานเขาเสียหน่อย ทำเสียหน่อย. | เสียหน่อย คำประกอบท้ายกริยา แสดงความอ้อนวอนหรือความไม่เต็มใจเป็นต้น เช่น กินเสียหน่อยนะ ไปงานเขาเสียหน่อย ทำเสียหน่อย. |
เสียหนัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | คำประกอบท้ายกริยา หมายความว่า มาก เช่น งานอย่างนี้ ทำมาเสียหนักแล้ว. | เสียหนัก คำประกอบท้ายกริยา หมายความว่า มาก เช่น งานอย่างนี้ ทำมาเสียหนักแล้ว. |
เสียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. | เสียง น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี มีหวังได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, คะแนนเสียง เช่น ลงมติกันแล้วเขาชนะเพราะได้เสียงข้างมาก. |
เสียงกระเส่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงสั่นเครือและเบา. | เสียงกระเส่า น. เสียงสั่นเครือและเบา. |
เสียงกร้าว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่พูดด้วยเสียงแข็งกระด้าง เช่น เขาพูดเสียงกร้าว ไม่ยำเกรงใคร. | เสียงกร้าว ว. อาการที่พูดด้วยเสียงแข็งกระด้าง เช่น เขาพูดเสียงกร้าว ไม่ยำเกรงใคร. |
เสียงก้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงดังมากอย่างเสียงในที่จำกัด เช่นในโบสถ์; เสียงดังไปได้ไกล. | เสียงก้อง น. เสียงดังมากอย่างเสียงในที่จำกัด เช่นในโบสถ์; เสียงดังไปได้ไกล. |
เสียงกังวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงแผ่กระจายอยู่ได้นาน; กระแสเสียงแจ่มใส. | เสียงกังวาน น. เสียงแผ่กระจายอยู่ได้นาน; กระแสเสียงแจ่มใส. |
เสียงเกรี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาคงกำลังโกรธอยู่ เราพูดด้วยดี ๆ กลับตวาดเสียงเกรี้ยว, เสียงเขียว ก็ว่า. | เสียงเกรี้ยว ว. อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาคงกำลังโกรธอยู่ เราพูดด้วยดี ๆ กลับตวาดเสียงเกรี้ยว, เสียงเขียว ก็ว่า. |
เสียงเขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาเข้าไปผิดจังหวะ หัวหน้ากำลังโกรธอยู่ เลยถูกตวาดเสียงเขียว, เสียงเกรี้ยว ก็ว่า. | เสียงเขียว ว. อาการที่เปล่งเสียงอย่างโกรธจัด เช่น เขาเข้าไปผิดจังหวะ หัวหน้ากำลังโกรธอยู่ เลยถูกตวาดเสียงเขียว, เสียงเกรี้ยว ก็ว่า. |
เสียงแข็ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กล่าวออกมาอย่างยืนยันหนักแน่น เช่น เขาเถียงเสียงแข็งว่าเขาทำถูกต้องแล้ว; อาการที่พูดด้วยน้ำเสียงไม่สุภาพ เช่น อย่าพูดเสียงแข็งกับพ่อแม่. เป็นคำนาม หมายถึง คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่. | เสียงแข็ง ว. อาการที่กล่าวออกมาอย่างยืนยันหนักแน่น เช่น เขาเถียงเสียงแข็งว่าเขาทำถูกต้องแล้ว; อาการที่พูดด้วยน้ำเสียงไม่สุภาพ เช่น อย่าพูดเสียงแข็งกับพ่อแม่. น. คะแนนเสียงดี เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงแข็งมาก คงได้รับเลือกตั้งแน่. |
เสียงเงียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มชนที่ยังไม่ออกเสียงแสดงความคิดเห็นของตนให้ปรากฏชัดว่าจะสนับสนุนฝ่ายใด. | เสียงเงียบ (สำ) น. กลุ่มชนที่ยังไม่ออกเสียงแสดงความคิดเห็นของตนให้ปรากฏชัดว่าจะสนับสนุนฝ่ายใด. |
เสียงดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงเพราะ; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ. | เสียงดี น. เสียงเพราะ; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงหนาแน่น เช่น เขาเป็นนักการเมืองที่มีคนนิยมมาก ลงสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งมีเสียงดีเสมอ. |
เสียงตก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถในการร้องเพลงต่ำกว่าระดับเดิม เพราะร้องมากไปหรืออายุมากขึ้นเป็นต้น เช่น นักร้องคนนี้เคยเสียงดี แต่เวลานี้เสียงตกไปมาก เพราะอายุมากขึ้น; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก. | เสียงตก น. ความสามารถในการร้องเพลงต่ำกว่าระดับเดิม เพราะร้องมากไปหรืออายุมากขึ้นเป็นต้น เช่น นักร้องคนนี้เคยเสียงดี แต่เวลานี้เสียงตกไปมาก เพราะอายุมากขึ้น; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงต่ำลง เช่น ในพื้นที่นี้เขามีเสียงตกไปมาก สงสัยว่าเลือกตั้งครั้งนี้คงจะไม่ได้รับเลือก. |
เสียงตามสาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่ส่งออกไปโดยใช้สายเป็นสื่อ. | เสียงตามสาย น. เสียงที่ส่งออกไปโดยใช้สายเป็นสื่อ. |
เสียงแตก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดในตอนแตกเนื้อหนุ่ม เช่น เด็กคนนี้พูดเสียงแตก แสดงว่าเริ่มจะเป็นหนุ่มแล้ว; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงแตกแยก เช่น เรื่องนี้ยังลงมติไม่ได้ เพราะในที่ประชุมยังมีเสียงแตกกัน. | เสียงแตก น. เสียงพูดในตอนแตกเนื้อหนุ่ม เช่น เด็กคนนี้พูดเสียงแตก แสดงว่าเริ่มจะเป็นหนุ่มแล้ว; โดยปริยายหมายถึงคะแนนเสียงแตกแยก เช่น เรื่องนี้ยังลงมติไม่ได้ เพราะในที่ประชุมยังมีเสียงแตกกัน. |
เสียงแตกพร่า, เสียงพร่า เสียงแตกพร่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เสียงพร่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงที่ไม่ชัดเจนแจ่มใส แหบเครือ ไม่สม่ำเสมอ คล้ายมี ๒ เสียงปนกัน เช่น เปิดวิทยุไม่ตรงคลื่น ทำให้เสียงแตกพร่า ฟังไม่รู้เรื่อง. | เสียงแตกพร่า, เสียงพร่า น. น้ำเสียงที่ไม่ชัดเจนแจ่มใส แหบเครือ ไม่สม่ำเสมอ คล้ายมี ๒ เสียงปนกัน เช่น เปิดวิทยุไม่ตรงคลื่น ทำให้เสียงแตกพร่า ฟังไม่รู้เรื่อง. |
เสียงทอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเสียงเพราะเป็นพิเศษทำให้มีคนนิยมมาก เช่น เขาเป็นนักร้องเสียงทอง. | เสียงทอง ว. มีเสียงเพราะเป็นพิเศษทำให้มีคนนิยมมาก เช่น เขาเป็นนักร้องเสียงทอง. |
เสียงเท่าฟ้าหน้าเท่ากลอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เสียงอึกทึกครึกโครมแสดงว่ามีความสนุกสนานร่าเริงเต็มที่, เสียงดังมาก. | เสียงเท่าฟ้าหน้าเท่ากลอง (สำ) น. เสียงอึกทึกครึกโครมแสดงว่ามีความสนุกสนานร่าเริงเต็มที่, เสียงดังมาก. |
เสียงนกเสียงกา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็นของคนที่ไม่มีอำนาจ เช่น เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ น่าจะฟังเสียงนกเสียงกาบ้าง. | เสียงนกเสียงกา (สำ) น. ความเห็นของคนที่ไม่มีอำนาจ เช่น เป็นผู้หลักผู้ใหญ่ น่าจะฟังเสียงนกเสียงกาบ้าง. |
เสียงปร่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตรงข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริง, เสียงตอบรับที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ. | เสียงปร่า น. เสียงพูดที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตรงข้ามกับความรู้สึกที่แท้จริง, เสียงตอบรับที่แสดงอารมณ์ไม่พอใจ. |
เสียงแปร่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ. | เสียงแปร่ง น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากเสียงที่พูดกันเป็นปรกติในถิ่นนั้น ๆ. |
เสียงแปร่งหู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่. | เสียงแปร่งหู น. เสียงพูดที่ผิดเพี้ยนไปจากปรกติ เนื่องจากมีอารมณ์ไม่พอใจแฝงอยู่. |
เสียงพยัญชนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก. | เสียงพยัญชนะ น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก. |
เสียงเพี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย. | เสียงเพี้ยน น. เสียงดนตรีหรือเสียงร้องเพลงที่คลาดเคลื่อนไปจากระดับเล็กน้อย, เสียงพูดที่มีสำเนียงคลาดเคลื่อนเล็กน้อย. |
เสียงเล็กเสียงน้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เล็กหรือเบากว่าปรกติในลักษณะออดอ้อนเป็นต้น. | เสียงเล็กเสียงน้อย น. น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เล็กหรือเบากว่าปรกติในลักษณะออดอ้อนเป็นต้น. |
เสียงเลื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงร้องเพลงที่ผิดระดับไปทีละน้อย ๆ. | เสียงเลื่อน น. เสียงร้องเพลงที่ผิดระดับไปทีละน้อย ๆ. |
เสียงเลื้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เสียงอ่านหรือสวดทำนองเสนาะ เช่น เสียงเลื้อนเสียงขับ. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง). | เสียงเลื้อน (โบ) น. เสียงอ่านหรือสวดทำนองเสนาะ เช่น เสียงเลื้อนเสียงขับ. (จารึกพ่อขุนรามคำแหง). |
เสียงสระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, สระ ก็เรียก. | เสียงสระ น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสําคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, สระ ก็เรียก. |
เสียงสวรรค์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่รัฐบาลควรรับฟัง ในความว่า เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค์. | เสียงสวรรค์ น. เสียงของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่รัฐบาลควรรับฟัง ในความว่า เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค์. |
เสียงสะท้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่ย้อนกลับมามีลักษณะคล้ายเสียงเดิม เนื่องจากคลื่นเสียงไปกระทบสิ่งขวางกั้นแล้วย้อนกลับ อย่างเสียงในถ้ำในหุบเขาเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงความคิดเห็นของกลุ่มชนที่มีปฏิกิริยาต่อการกระทำบางอย่างของอีกฝ่ายหนึ่ง. | เสียงสะท้อน น. เสียงที่ย้อนกลับมามีลักษณะคล้ายเสียงเดิม เนื่องจากคลื่นเสียงไปกระทบสิ่งขวางกั้นแล้วย้อนกลับ อย่างเสียงในถ้ำในหุบเขาเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงความคิดเห็นของกลุ่มชนที่มีปฏิกิริยาต่อการกระทำบางอย่างของอีกฝ่ายหนึ่ง. |
เสียงหลง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่แผดดังผิดปรกติ เช่น เธอตกใจร้องจนเสียงหลง; เสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรี เช่น เขาเป็นนักร้องไม่ได้ เพราะร้องเสียงหลงอยู่เสมอ. | เสียงหลง น. เสียงที่แผดดังผิดปรกติ เช่น เธอตกใจร้องจนเสียงหลง; เสียงที่ผิดระดับเสียงดนตรี เช่น เขาเป็นนักร้องไม่ได้ เพราะร้องเสียงหลงอยู่เสมอ. |
เสียงหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงไพเราะนุ่มนวลน่าฟัง. | เสียงหวาน น. น้ำเสียงไพเราะนุ่มนวลน่าฟัง. |
เสียงห้าว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงใหญ่ เช่น ผู้ชายมักมีเสียงห้าวกว่าผู้หญิง. | เสียงห้าว น. เสียงใหญ่ เช่น ผู้ชายมักมีเสียงห้าวกว่าผู้หญิง. |
เสียงเหน่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. | เสียงเหน่อ น. เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
เสียงแหบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่แห้งไม่แจ่มใส; ชื่อของกลุ่มเสียงที่บีบให้สูงเป็นพิเศษของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยเฉพาะปี่ใน. | เสียงแหบ น. เสียงที่แห้งไม่แจ่มใส; ชื่อของกลุ่มเสียงที่บีบให้สูงเป็นพิเศษของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า โดยเฉพาะปี่ใน. |
เสียงอ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คําพูดที่เพลาความแข็งลง. | เสียงอ่อน น. คําพูดที่เพลาความแข็งลง. |
เสียงอ่อนเสียงหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเสียงที่ไพเราะน่าฟัง, น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เบา ช้าลง และไพเราะน่าฟัง เพื่อประจบเป็นต้น. | เสียงอ่อนเสียงหวาน น. น้ำเสียงที่ไพเราะน่าฟัง, น้ำเสียงที่แสร้งดัดให้เบา ช้าลง และไพเราะน่าฟัง เพื่อประจบเป็นต้น. |
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง. | เสี่ยง ๑ น. ส่วนย่อยที่แตกออกจากส่วนใหญ่ เช่น เขาทำแจกันตกแตกเป็นหลายเสี่ยง. |
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ลองเผชิญดู, ลองทำดูในสิ่งที่อาจให้ผลได้ ๒ ทาง คือ ดีหรือไม่ดี แต่หวังว่าจะได้ผลทางดี เช่น งานนี้ไม่แน่ใจว่าจะสำเร็จหรือไม่ ต้องเสี่ยงทำดู. | เสี่ยง ๒ ก. ลองเผชิญดู, ลองทำดูในสิ่งที่อาจให้ผลได้ ๒ ทาง คือ ดีหรือไม่ดี แต่หวังว่าจะได้ผลทางดี เช่น งานนี้ไม่แน่ใจว่าจะสำเร็จหรือไม่ ต้องเสี่ยงทำดู. |
เสี่ยงบุญเสี่ยงกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ลองทำดูโดยเชื่อว่าสุดแต่บุญหรือบาปจะบันดาลให้เป็นไป เช่น ลองเสี่ยงบุญเสี่ยงกรรมขอเด็กกำพร้ามาเลี้ยงดู ถ้าเขามีบุญก็จะได้ดิบได้ดีต่อไป. | เสี่ยงบุญเสี่ยงกรรม ก. ลองทำดูโดยเชื่อว่าสุดแต่บุญหรือบาปจะบันดาลให้เป็นไป เช่น ลองเสี่ยงบุญเสี่ยงกรรมขอเด็กกำพร้ามาเลี้ยงดู ถ้าเขามีบุญก็จะได้ดิบได้ดีต่อไป. |
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำกริยา หมายถึง มีโอกาสจะได้รับทุกข์หรืออันตรายเป็นต้น เช่น พูดอย่างนี้เสี่ยงคุกเสี่ยงตะราง. | เสี่ยง ๓ ก. มีโอกาสจะได้รับทุกข์หรืออันตรายเป็นต้น เช่น พูดอย่างนี้เสี่ยงคุกเสี่ยงตะราง. |
เสี่ยงชีวิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมทำสิ่งที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต เช่น ทหารเสี่ยงชีวิตเข้ากู้กับระเบิด. | เสี่ยงชีวิต ก. ยอมทำสิ่งที่อาจเป็นอันตรายต่อชีวิต เช่น ทหารเสี่ยงชีวิตเข้ากู้กับระเบิด. |
เสี่ยงภัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำลงไปโดยไม่เกรงอันตราย เช่น ตำรวจดับเพลิงเสี่ยงภัยเข้าไปช่วยคนที่ติดอยู่ในบ้านที่ไฟกำลังไหม้. | เสี่ยงภัย ก. ทำลงไปโดยไม่เกรงอันตราย เช่น ตำรวจดับเพลิงเสี่ยงภัยเข้าไปช่วยคนที่ติดอยู่ในบ้านที่ไฟกำลังไหม้. |
เสี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๔ | เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งจิตอธิษฐานใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องเสี่ยงเพื่อทราบความเป็นไปในอนาคตของตนหรือผู้อื่น, ถ้าใช้เทียนเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงเทียน, ถ้าใช้ดอกบัวเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงดอกบัว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เสี่ยงบุญ เสี่ยงบารมี เสี่ยงโชค เสี่ยงวาสนา. | เสี่ยง ๔ ก. ตั้งจิตอธิษฐานใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องเสี่ยงเพื่อทราบความเป็นไปในอนาคตของตนหรือผู้อื่น, ถ้าใช้เทียนเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงเทียน, ถ้าใช้ดอกบัวเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงดอกบัว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เสี่ยงบุญ เสี่ยงบารมี เสี่ยงโชค เสี่ยงวาสนา. |
เสี่ยงทาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง หาคำทำนายโชคชะตาของตนจากสลากหรือใบเซียมซีโดยการสั่นติ้วหรือโยนไม้เสี่ยงทายเป็นต้น. | เสี่ยงทาย ก. หาคำทำนายโชคชะตาของตนจากสลากหรือใบเซียมซีโดยการสั่นติ้วหรือโยนไม้เสี่ยงทายเป็นต้น. |
เสียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง เบียดกัน เช่น เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์; เสียบ, แทรก, แซง, เช่น สูงเสียดฟ้า; อาการที่รู้สึกอึดอัดหรือแทงยอกในท้องหรืออกเนื่องจากมีลมอยู่ ในคำว่า เสียดท้อง เสียดอก. | เสียด ก. เบียดกัน เช่น เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด. (นิ. นรินทร์); เสียบ, แทรก, แซง, เช่น สูงเสียดฟ้า; อาการที่รู้สึกอึดอัดหรือแทงยอกในท้องหรืออกเนื่องจากมีลมอยู่ ในคำว่า เสียดท้อง เสียดอก. |
เสียดแทง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่กล่าวให้เจ็บใจด้วยความริษยาเป็นต้น เช่น วาจาเสียดแทงย่อมทำลายมิตร. | เสียดแทง ว. อาการที่กล่าวให้เจ็บใจด้วยความริษยาเป็นต้น เช่น วาจาเสียดแทงย่อมทำลายมิตร. |
เสียดแทรก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง เบียดเข้าไปในระหว่างกลุ่มคนหรือของจำนวนมากที่อยู่ชิด ๆ กัน. | เสียดแทรก ก. เบียดเข้าไปในระหว่างกลุ่มคนหรือของจำนวนมากที่อยู่ชิด ๆ กัน. |
เสียดใบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง แล่นก้าวให้ใบเฉียงลม. | เสียดใบ ก. แล่นก้าวให้ใบเฉียงลม. |
เสียดสี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกัน เช่น กิ่งไม้เสียดสีกันจนเกิดไฟไหม้ป่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ว่ากระทบกระเทียบเหน็บแนมด้วยความอิจฉาเป็นต้น เช่น เธอไม่ชอบเขา จึงพูดเสียดสีเขาเสมอ ๆ. | เสียดสี ก. ถูกัน เช่น กิ่งไม้เสียดสีกันจนเกิดไฟไหม้ป่า. ว. อาการที่ว่ากระทบกระเทียบเหน็บแนมด้วยความอิจฉาเป็นต้น เช่น เธอไม่ชอบเขา จึงพูดเสียดสีเขาเสมอ ๆ. |
เสี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อไม้ที่แตกเป็นเส้นเล็ก ๆ ปลายแหลมอย่างหนาม, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น หน่อไม้แก่มีเนื้อเป็นเสี้ยน; ข้าศึก เช่น สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์, เหือดเสี้ยนศึกสยาม สิ้นนาฯ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์. | เสี้ยน ๑ น. เนื้อไม้ที่แตกเป็นเส้นเล็ก ๆ ปลายแหลมอย่างหนาม, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น หน่อไม้แก่มีเนื้อเป็นเสี้ยน; ข้าศึก เช่น สระทุกข์ราษฎร์รอนเสี้ยน. (นิ. นรินทร์), เหือดเสี้ยนศึกสยาม สิ้นนาฯ. (ตะเลงพ่าย). |
เสี้ยนแผ่นดิน, เสี้ยนหนามแผ่นดิน เสี้ยนแผ่นดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เสี้ยนหนามแผ่นดิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึก, ผู้ที่คิดคดทรยศต่อแผ่นดิน. | เสี้ยนแผ่นดิน, เสี้ยนหนามแผ่นดิน น. ข้าศึก, ผู้ที่คิดคดทรยศต่อแผ่นดิน. |
เสี้ยนศึก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึกศัตรูที่ก่อการร้าย. | เสี้ยนศึก (โบ) น. ข้าศึกศัตรูที่ก่อการร้าย. |
เสี้ยนหนาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าศึกศัตรูที่ก่อความเดือดร้อนให้. | เสี้ยนหนาม น. ข้าศึกศัตรูที่ก่อความเดือดร้อนให้. |
เสี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Diplospora singularis Korth. ในวงศ์ Rubiaceae ดอกสีขาว ออกเป็นช่อสั้นตามง่ามใบ ผลกลม. | เสี้ยน ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Diplospora singularis Korth. ในวงศ์ Rubiaceae ดอกสีขาว ออกเป็นช่อสั้นตามง่ามใบ ผลกลม. |
เสียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง แทงคาไว้ เช่น เอาไม้แหลมเสียบปลา เอามีดเสียบพุง, เอาของดันลงบนปลายสิ่งที่แหลม ๆ เช่น เอากระดาษเสียบบนที่เสียบกระดาษ, เหน็บ เช่น เอาจดหมายเสียบไว้ที่ประตู; ยืนตัวแข็งทื่อต่อหน้าผู้ใหญ่เป็นการแสดงกิริยาไม่อ่อนน้อม เรียกว่า ยืนเสียบ. | เสียบ ๑ ก. แทงคาไว้ เช่น เอาไม้แหลมเสียบปลา เอามีดเสียบพุง, เอาของดันลงบนปลายสิ่งที่แหลม ๆ เช่น เอากระดาษเสียบบนที่เสียบกระดาษ, เหน็บ เช่น เอาจดหมายเสียบไว้ที่ประตู; ยืนตัวแข็งทื่อต่อหน้าผู้ใหญ่เป็นการแสดงกิริยาไม่อ่อนน้อม เรียกว่า ยืนเสียบ. |
เสียบยอด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง โดยตัดกิ่งต้นที่จะขยายซึ่งมีตาติดอยู่ ปาดปลายให้เป็นรูปลิ่มแล้วนำไปเสียบที่กิ่งของอีกต้นหนึ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน โดยผ่าบากกิ่งไว้ให้เสียบได้ พันด้วยแถบพลาสติกให้แน่น. เป็นคำกริยา หมายถึง ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเช่นนั้น. | เสียบยอด น. วิธีขยายพันธุ์ต้นไม้แบบหนึ่ง โดยตัดกิ่งต้นที่จะขยายซึ่งมีตาติดอยู่ ปาดปลายให้เป็นรูปลิ่มแล้วนำไปเสียบที่กิ่งของอีกต้นหนึ่งที่เป็นชนิดเดียวกัน โดยผ่าบากกิ่งไว้ให้เสียบได้ พันด้วยแถบพลาสติกให้แน่น. ก. ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเช่นนั้น. |
เสียบหนู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่เสียบขัดกับไม้ข้างควายที่ขนาบจากหลบหลังคาเรือน; ไม้ฝนทองที่เขียนบนพินทุอิ เป็น สระอี. | เสียบหนู น. ไม้ที่เสียบขัดกับไม้ข้างควายที่ขนาบจากหลบหลังคาเรือน; ไม้ฝนทองที่เขียนบนพินทุอิ เป็น สระอี. |
เสียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ เช่น ชนิด Donax faba ในวงศ์ Donacidae เปลือกรูปสามเหลี่ยมสีเหลืองนวล ลายสลับสีเข้มหลากสี เช่น นํ้าตาลเข้ม ฝังตัวอยู่ตามหาดทรายในระดับนํ้าขึ้นนํ้าลง นํามาดองนํ้าปลา. | เสียบ ๒ น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่หลายชนิด หลายสกุล หลายวงศ์ เช่น ชนิด Donax faba ในวงศ์ Donacidae เปลือกรูปสามเหลี่ยมสีเหลืองนวล ลายสลับสีเข้มหลากสี เช่น นํ้าตาลเข้ม ฝังตัวอยู่ตามหาดทรายในระดับนํ้าขึ้นนํ้าลง นํามาดองนํ้าปลา. |
เสียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องมือสําหรับขุด แซะ และพรวนดินชนิดหนึ่ง ทำด้วยเหล็ก มีด้ามยาว. | เสียม ๑ น. ชื่อเครื่องมือสําหรับขุด แซะ และพรวนดินชนิดหนึ่ง ทำด้วยเหล็ก มีด้ามยาว. |
เสียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง เมืองไทย, ไทย. (เป็นสําเนียงที่ชาวต่างประเทศเรียกเพี้ยนจากคํา สยาม). | เสียม ๒ น. เมืองไทย, ไทย. (เป็นสําเนียงที่ชาวต่างประเทศเรียกเพี้ยนจากคํา สยาม). |
เสี่ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสงี่ยม. | เสี่ยม (โบ) ว. เสงี่ยม. |
เสี่ยมสาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสงี่ยมงาม. | เสี่ยมสาร ว. เสงี่ยมงาม. |
เสี้ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แหลม เช่น เสี้ยมไม้; โดยปริยายหมายความว่า ยุแหย่ให้เขาแตกกันหรือทะเลาะกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะค่อนข้างแหลม ในคำว่า หน้าเสี้ยม คางเสี้ยม. | เสี้ยม ก. ทําให้แหลม เช่น เสี้ยมไม้; โดยปริยายหมายความว่า ยุแหย่ให้เขาแตกกันหรือทะเลาะกัน. ว. มีลักษณะค่อนข้างแหลม ในคำว่า หน้าเสี้ยม คางเสี้ยม. |
เสี้ยมเขาควายให้ชนกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยุยงให้โกรธ เกลียด หรือวิวาทกัน. | เสี้ยมเขาควายให้ชนกัน (สำ) ก. ยุยงให้โกรธ เกลียด หรือวิวาทกัน. |
เสี้ยมสอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สอนโดยยุยงให้ใช้เล่ห์กล เช่น เขาถูกเสี้ยมสอนให้กระด้างกระเดื่องต่อฝ่ายปกครอง เขาเสี้ยมสอนลูกให้เป็นโจร. | เสี้ยมสอน ก. สอนโดยยุยงให้ใช้เล่ห์กล เช่น เขาถูกเสี้ยมสอนให้กระด้างกระเดื่องต่อฝ่ายปกครอง เขาเสี้ยมสอนลูกให้เป็นโจร. |
เสียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ เช่น รู้สึกเสียวที่ข้อเท้าเพราะเท้าแพลง, เกิดอาการที่ทําให้ขนลุกหรือกลัว เช่น เดินเข้าไปในป่าช้าเวลาค่ำ ๆ ได้ยินเสียงแกรกกรากก็รู้สึกเสียว พอเห็นเข็มฉีดยาก็เสียวเสียแล้ว, รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกําหนัด; โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกเกรง เช่น เขาไม่ได้ส่งการบ้านเสียวอยู่ตลอดเวลาว่าครูจะเรียกไปลงโทษ. | เสียว ก. รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ เช่น รู้สึกเสียวที่ข้อเท้าเพราะเท้าแพลง, เกิดอาการที่ทําให้ขนลุกหรือกลัว เช่น เดินเข้าไปในป่าช้าเวลาค่ำ ๆ ได้ยินเสียงแกรกกรากก็รู้สึกเสียว พอเห็นเข็มฉีดยาก็เสียวเสียแล้ว, รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกําหนัด; โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกเกรง เช่น เขาไม่ได้ส่งการบ้านเสียวอยู่ตลอดเวลาว่าครูจะเรียกไปลงโทษ. |
เสียวซ่าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกวาบวับเข้าไปในหัวใจด้วยความกำหนัดยินดี. | เสียวซ่าน ก. รู้สึกวาบวับเข้าไปในหัวใจด้วยความกำหนัดยินดี. |
เสียวฟัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกแปลบที่ฟันเพราะเคลือบฟันสึกหรือฟันเป็นรูเป็นต้น. | เสียวฟัน ก. รู้สึกแปลบที่ฟันเพราะเคลือบฟันสึกหรือฟันเป็นรูเป็นต้น. |
เสียวสยอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกหวาดกลัวจนขนลุกขนชัน เช่น เกิดอุบัติเหตุรถชนกัน คนตายเป็นจำนวนมาก เห็นแล้วเสียวสยอง. | เสียวสยอง ก. รู้สึกหวาดกลัวจนขนลุกขนชัน เช่น เกิดอุบัติเหตุรถชนกัน คนตายเป็นจำนวนมาก เห็นแล้วเสียวสยอง. |
เสียวสันหลัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกหวาดกลัว เช่น เดินในป่าช้ายามดึก รู้สึกเสียวสันหลัง, หนาวสันหลัง ก็ว่า. | เสียวสันหลัง ว. รู้สึกหวาดกลัว เช่น เดินในป่าช้ายามดึก รู้สึกเสียวสันหลัง, หนาวสันหลัง ก็ว่า. |
เสียวไส้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เด็กเอาปืนมาเล่นกัน เห็นแล้วเสียวไส้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เขาขับรถเร็วมากจนน่าเสียวไส้. | เสียวไส้ ก. รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เด็กเอาปืนมาเล่นกัน เห็นแล้วเสียวไส้. ว. อาการที่รู้สึกหวาดเมื่อได้เห็นหรือได้ยินเกี่ยวกับสิ่งที่น่ากลัวว่าอาจทำให้เกิดอันตรายได้ เช่น เขาขับรถเร็วมากจนน่าเสียวไส้. |
เสี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อน, เกลอ. | เสี่ยว ๑ (ถิ่นอีสาน) น. เพื่อน, เกลอ. |
เสี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง เฉี่ยว, ขวิด. | เสี่ยว ๒ (โบ) ก. เฉี่ยว, ขวิด. |
เสี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วน ๑ ใน ๔ เช่น เขาผ่าแตงโมออกเป็น ๔ เสี้ยว, ส่วนย่อย เช่น เขาผ่าฟักทองเป็นเสี้ยวเล็ก ๆ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉ, ไม่ตรง, เช่น เธอตัดผ้าเสี้ยว. | เสี้ยว น. ส่วน ๑ ใน ๔ เช่น เขาผ่าแตงโมออกเป็น ๔ เสี้ยว, ส่วนย่อย เช่น เขาผ่าฟักทองเป็นเสี้ยวเล็ก ๆ. ว. เฉ, ไม่ตรง, เช่น เธอตัดผ้าเสี้ยว. |
เสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว แต่ตัวใหญ่กว่า เป็นสัตว์กินเนื้อ หากินเวลากลางคืน มีหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง (Panthera tigris) เสือดาว หรือ เสือดํา (P. pardus), โดยปริยายใช้เรียกคนเก่งคนดุร้าย; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวต่อมนํ้า ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวไต้ไฟ ก็เรียก. | เสือ ๑ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว แต่ตัวใหญ่กว่า เป็นสัตว์กินเนื้อ หากินเวลากลางคืน มีหลายชนิด เช่น เสือโคร่ง (Panthera tigris) เสือดาว หรือ เสือดํา (P. pardus), โดยปริยายใช้เรียกคนเก่งคนดุร้าย; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวต่อมนํ้า ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวไต้ไฟ ก็เรียก. |
เสือกระดาษ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ประเทศ องค์การ หรือผู้ที่ทําท่าทีประหนึ่งมีอํานาจมากแต่ความจริงไม่มี. | เสือกระดาษ (ปาก) น. ประเทศ องค์การ หรือผู้ที่ทําท่าทีประหนึ่งมีอํานาจมากแต่ความจริงไม่มี. |
เสือกระต่าย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ดู แมวป่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ที่ แมว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เสือกระต่าย ดู แมวป่า ที่ แมว ๑. |
เสือกินวัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสขีดเป็นตา ๑๖ ตา มีผู้เล่น ๒ ฝ่าย ฝ่ายเสือมี ๔ ตัว ฝ่ายวัวมี ๑๒ ตัว โดยฝ่ายเสือวางเสือ ๔ ตัวไว้ที่มุมทั้ง ๔ แล้วฝ่ายวัวจะวางวัวลงในช่องทีละตัว พยายามไม่ให้เสือกินได้ การเดินต้องเดินทางตรงทีละช่อง เวลาเสือกินวัวต้องข้ามวัวไป ๑ ช่อง ถ้าเสือถูกล้อมจนเดินไม่ได้ ฝ่ายเสือก็แพ้ ถ้าฝ่ายวัวถูกเสือกินหมด ฝ่ายวัวก็แพ้. | เสือกินวัว น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสขีดเป็นตา ๑๖ ตา มีผู้เล่น ๒ ฝ่าย ฝ่ายเสือมี ๔ ตัว ฝ่ายวัวมี ๑๒ ตัว โดยฝ่ายเสือวางเสือ ๔ ตัวไว้ที่มุมทั้ง ๔ แล้วฝ่ายวัวจะวางวัวลงในช่องทีละตัว พยายามไม่ให้เสือกินได้ การเดินต้องเดินทางตรงทีละช่อง เวลาเสือกินวัวต้องข้ามวัวไป ๑ ช่อง ถ้าเสือถูกล้อมจนเดินไม่ได้ ฝ่ายเสือก็แพ้ ถ้าฝ่ายวัวถูกเสือกินหมด ฝ่ายวัวก็แพ้. |
เสือเก่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถหรือมีอํานาจมาก่อน. | เสือเก่า (ปาก) น. คนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถหรือมีอํานาจมาก่อน. |
เสือข้ามห้วย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการเล่นโดยใช้วิธีกระโดดข้ามกัน. | เสือข้ามห้วย น. ชื่อการเล่นโดยใช้วิธีกระโดดข้ามกัน. |
เสือจนท่า ข้าจนทาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง จำเป็นต้องยอมเพื่อเอาตัวรอด. | เสือจนท่า ข้าจนทาง (สำ) จำเป็นต้องยอมเพื่อเอาตัวรอด. |
เสือซ่อนเล็บ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่มีความเก่งกล้าสามารถแต่ไม่ยอมแสดงออกมาให้ปรากฏ, ผู้มีเล่ห์กลอยู่ในใจ, ผู้เก็บความรู้สึกไว้ได้ดี; ชื่อเรียกอาวุธชนิดหนึ่ง อย่างมีดพก ๒ เล่ม สอดประกบกันสนิทดูเหมือนว่าเป็นไม้แท่งเดียว. | เสือซ่อนเล็บ (สำ) น. ผู้ที่มีความเก่งกล้าสามารถแต่ไม่ยอมแสดงออกมาให้ปรากฏ, ผู้มีเล่ห์กลอยู่ในใจ, ผู้เก็บความรู้สึกไว้ได้ดี; ชื่อเรียกอาวุธชนิดหนึ่ง อย่างมีดพก ๒ เล่ม สอดประกบกันสนิทดูเหมือนว่าเป็นไม้แท่งเดียว. |
เสือเฒ่าจำศีล, เสือเฒ่าเจ้าเล่ห์ เสือเฒ่าจำศีล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง เสือเฒ่าเจ้าเล่ห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ผู้-เท่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ชายสูงอายุที่มีท่าทีสงบเสงี่ยมน่านับถือ แต่เจ้ามารยามีเล่ห์เหลี่ยมมาก. | เสือเฒ่าจำศีล, เสือเฒ่าเจ้าเล่ห์ (สำ) น. ชายสูงอายุที่มีท่าทีสงบเสงี่ยมน่านับถือ แต่เจ้ามารยามีเล่ห์เหลี่ยมมาก. |
เสือดาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | ดู ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒. | เสือดาว ๑ ดู ดาว ๒. |
เสือดำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | ดู ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒. | เสือดำ ดู ดาว ๒. |
เสือตกถัง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีเหยื่อห้อยไว้เหนือแผ่นกระดก เมื่อหนูไปเหยียบปลายแผ่นกระดกเพื่อจะกินเหยื่อ ปลายแผ่นก็กระดกลงเพราะน้ำหนักตัวของหนู เมื่อหนูตกลง แผ่นกระดกก็กลับคืนที่ ปิดช่องไว้ หนูออกไม่ได้; ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง วิธีเล่นต้องขีดเส้นตรง ๒ เส้นตัดกัน แล้วเขียนวงกลมไว้ระหว่างเส้นแห่งใดแห่งหนึ่ง สมมุติให้เป็นถัง ผู้เล่นมี ๒ ฝ่าย สมมุติเป็นเสือฝ่ายละ ๒ ตัว แต่ละฝ่ายจะสลับกันเดิน โดยเดินจากปลายเส้นหนึ่งไปยังปลายอีกเส้นหนึ่ง หรือจากปลายเส้นมายังจุดกลางก็ได้ ถ้าเสือฝ่ายใดเดินแล้วตกถัง ก็เป็นฝ่ายแพ้. | เสือตกถัง น. ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีเหยื่อห้อยไว้เหนือแผ่นกระดก เมื่อหนูไปเหยียบปลายแผ่นกระดกเพื่อจะกินเหยื่อ ปลายแผ่นก็กระดกลงเพราะน้ำหนักตัวของหนู เมื่อหนูตกลง แผ่นกระดกก็กลับคืนที่ ปิดช่องไว้ หนูออกไม่ได้; ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง วิธีเล่นต้องขีดเส้นตรง ๒ เส้นตัดกัน แล้วเขียนวงกลมไว้ระหว่างเส้นแห่งใดแห่งหนึ่ง สมมุติให้เป็นถัง ผู้เล่นมี ๒ ฝ่าย สมมุติเป็นเสือฝ่ายละ ๒ ตัว แต่ละฝ่ายจะสลับกันเดิน โดยเดินจากปลายเส้นหนึ่งไปยังปลายอีกเส้นหนึ่ง หรือจากปลายเส้นมายังจุดกลางก็ได้ ถ้าเสือฝ่ายใดเดินแล้วตกถัง ก็เป็นฝ่ายแพ้. |
เสือตบก้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีไม้ตบตัวหนูให้ติดอยู่กับปากกระบอกเมื่อไกลั่น. | เสือตบก้น น. ชื่อเครื่องดักหนูชนิดหนึ่ง มีไม้ตบตัวหนูให้ติดอยู่กับปากกระบอกเมื่อไกลั่น. |
เสือติดจั่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินงุ่นง่านวนไปมาเหมือนเสือที่ติดอยู่ในจั่นหับ. | เสือติดจั่น (สำ) ว. อาการที่เดินงุ่นง่านวนไปมาเหมือนเสือที่ติดอยู่ในจั่นหับ. |
เสือทลายห้าง ช้างทลายโรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่แสดงกิริยาเอะอะตึงตัง. | เสือทลายห้าง ช้างทลายโรง (สำ) น. คนที่แสดงกิริยาเอะอะตึงตัง. |
เสือนอนกิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ได้รับผลประโยชน์หรือผลกําไรโดยไม่ต้องลงทุนลงแรง. | เสือนอนกิน (สำ) น. คนที่ได้รับผลประโยชน์หรือผลกําไรโดยไม่ต้องลงทุนลงแรง. |
เสือในร่างสมัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนร้ายที่แฝงมาในร่างของคนดี. | เสือในร่างสมัน (สำ) น. คนร้ายที่แฝงมาในร่างของคนดี. |
เสือบอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู | ดู แมวป่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ที่ แมว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เสือบอง ดู แมวป่า ที่ แมว ๑. |
เสือปลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสือชนิด Felis viverrina ในวงศ์ Felidae พื้นลําตัวสีเทา มีลายสีดําเป็นจุดกระจายอยู่ทั่วตัว กินปลาและสัตว์ขนาดเล็ก, ทางภาคตะวันออกเรียกเสือปลาที่มีขนาดใหญ่ว่า เสือแผ้ว. | เสือปลา น. ชื่อเสือชนิด Felis viverrina ในวงศ์ Felidae พื้นลําตัวสีเทา มีลายสีดําเป็นจุดกระจายอยู่ทั่วตัว กินปลาและสัตว์ขนาดเล็ก, ทางภาคตะวันออกเรียกเสือปลาที่มีขนาดใหญ่ว่า เสือแผ้ว. |
เสือป่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ช่วยพลรบซึ่งมีหน้าที่สอดแนมเพื่อสนับสนุนกองทหาร. | เสือป่า (เลิก) น. ผู้ช่วยพลรบซึ่งมีหน้าที่สอดแนมเพื่อสนับสนุนกองทหาร. |
เสือป่าแมวเซา, เสือป่าแมวมอง เสือป่าแมวเซา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อา เสือป่าแมวมอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง กองทหารโบราณ มีหน้าที่สอดแนมและซุ่มคอยดักตีข้าศึกเพื่อตัดเสบียงอาหาร. | เสือป่าแมวเซา, เสือป่าแมวมอง (เลิก) น. กองทหารโบราณ มีหน้าที่สอดแนมและซุ่มคอยดักตีข้าศึกเพื่อตัดเสบียงอาหาร. |
เสือไฟ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสือชนิด Felis temmincki ในวงศ์ Felidae รูปร่างเพรียว สูงขนาดสุนัข ขนสีนํ้าตาลแกมแดงตลอดตัว หรือที่หายากมีสีดำ หางยาวไล่เลี่ยกับลำตัว เวลาเดินยกหางขนานกับพื้น อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง กินสัตว์ขนาดเล็ก. | เสือไฟ น. ชื่อเสือชนิด Felis temmincki ในวงศ์ Felidae รูปร่างเพรียว สูงขนาดสุนัข ขนสีนํ้าตาลแกมแดงตลอดตัว หรือที่หายากมีสีดำ หางยาวไล่เลี่ยกับลำตัว เวลาเดินยกหางขนานกับพื้น อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง กินสัตว์ขนาดเล็ก. |
เสือแมลงภู่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | ดู ดาว เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒. | เสือแมลงภู่ ดู ดาว ๒. |
เสือร้องไห้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อส่วนคอของวัวหรือควายที่มีพังผืดมาก, อาหารชนิดหนึ่งปรุงด้วยเนื้อส่วนที่เรียกว่า เสือร้องไห้. | เสือร้องไห้ น. เนื้อส่วนคอของวัวหรือควายที่มีพังผืดมาก, อาหารชนิดหนึ่งปรุงด้วยเนื้อส่วนที่เรียกว่า เสือร้องไห้. |
เสือรู้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีไหวพริบหรือฉลาดรู้จักเอาตัวรอด. | เสือรู้ (สำ) น. คนที่มีไหวพริบหรือฉลาดรู้จักเอาตัวรอด. |
เสือลากหาง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทําท่าทีเป็นเซื่องซึม เป็นกลอุบายให้ผู้อื่นตายใจแล้วเข้าทําการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ทันให้รู้ตัว, คนที่ทําท่าอย่างเสือลากหาง เพื่อขู่ให้กลัว เช่น ถือไม้เท้าก้าวเดินเป็นท่าทาง ทีเสือลากหางให้นางกลัว. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์. | เสือลากหาง (สำ) น. คนที่ทําท่าทีเป็นเซื่องซึม เป็นกลอุบายให้ผู้อื่นตายใจแล้วเข้าทําการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ทันให้รู้ตัว, คนที่ทําท่าอย่างเสือลากหาง เพื่อขู่ให้กลัว เช่น ถือไม้เท้าก้าวเดินเป็นท่าทาง ทีเสือลากหางให้นางกลัว. (สังข์ทอง). |
เสือลำบาก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เสือที่ถูกทำร้ายบาดเจ็บ มีความดุร้ายมากกว่าปรกติ, โดยปริยายหมายถึงคนที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. | เสือลำบาก น. เสือที่ถูกทำร้ายบาดเจ็บ มีความดุร้ายมากกว่าปรกติ, โดยปริยายหมายถึงคนที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. |
เสือสมิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสือที่เชื่อว่าเดิมเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าแล้วต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นเสือได้, เสือที่กินคนมาก ๆ เข้า เชื่อกันว่าวิญญาณคนตายเข้าสิง ต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นคนได้. | เสือสมิง น. เสือที่เชื่อว่าเดิมเป็นคนที่มีวิชาอาคมแก่กล้าแล้วต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นเสือได้, เสือที่กินคนมาก ๆ เข้า เชื่อกันว่าวิญญาณคนตายเข้าสิง ต่อมาสามารถจำแลงร่างเป็นคนได้. |
เสือสิ้นตวัก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ฮึดสู้อย่างไม่คิดชีวิต, มักพูดเข้าคู่กับ สุนัขจนตรอก ว่า เสือสิ้นตวัก สุนัขจนตรอก. | เสือสิ้นตวัก (สำ) น. คนที่ฮึดสู้อย่างไม่คิดชีวิต, มักพูดเข้าคู่กับ สุนัขจนตรอก ว่า เสือสิ้นตวัก สุนัขจนตรอก. |
เสือสิ้นลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เสือแก่ที่หมดลายดูคล้ายเสือขาวออกหากินตามปรกติไม่ได้, โดยปริยายหมายถึงคนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถมาก่อน ต่อมาเมื่อร่างกายทุพพลภาพหรืออายุมากขึ้น ความเก่งกล้าสามารถก็เสื่อมลง. | เสือสิ้นลาย น. เสือแก่ที่หมดลายดูคล้ายเสือขาวออกหากินตามปรกติไม่ได้, โดยปริยายหมายถึงคนที่เคยมีความเก่งกล้าสามารถมาก่อน ต่อมาเมื่อร่างกายทุพพลภาพหรืออายุมากขึ้น ความเก่งกล้าสามารถก็เสื่อมลง. |
เสือหิว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง คนที่อยากได้ผลประโยชน์หรือลาภสักการะโดยไม่เลือกว่าควรหรือไม่ควร. | เสือหิว (ปาก) น. คนที่อยากได้ผลประโยชน์หรือลาภสักการะโดยไม่เลือกว่าควรหรือไม่ควร. |
เสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาหลายชนิดและหลายวงศ์ซึ่งมีลายพาดขวางลําตัว เช่น เสือพ่นนํ้า (Toxotes jaculator) ในวงศ์ Toxotidae เสือตอ (Datnioides microlepis) ในวงศ์ Lobotidae. | เสือ ๒ น. ชื่อปลาหลายชนิดและหลายวงศ์ซึ่งมีลายพาดขวางลําตัว เช่น เสือพ่นนํ้า (Toxotes jaculator) ในวงศ์ Toxotidae เสือตอ (Datnioides microlepis) ในวงศ์ Lobotidae. |
เสื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง สาด, เครื่องสานชนิดหนึ่งสําหรับปูนั่งและนอน. | เสื่อ น. สาด, เครื่องสานชนิดหนึ่งสําหรับปูนั่งและนอน. |
เสื่อกก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกก ทอหรือสานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า. | เสื่อกก น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกก ทอหรือสานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า. |
เสื่อกระจูด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกระจูด สานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า. | เสื่อกระจูด น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยต้นกระจูด สานเป็นผืนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า. |
เสื่อเงิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่ง ทำด้วยแผ่นเงินตัดเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นผืนตามขนาดพื้นที่ที่ปูลาด. | เสื่อเงิน น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่ง ทำด้วยแผ่นเงินตัดเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นผืนตามขนาดพื้นที่ที่ปูลาด. |
เสื่อน้ำมัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง พรมนํ้ามัน. ในวงเล็บ ดู พรมนํ้ามัน เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-นิก-คะ-หิด-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ พรม เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑. | เสื่อน้ำมัน น. พรมนํ้ามัน. (ดู พรมนํ้ามัน ที่ พรม ๑). |
เสื่อผืนหมอนใบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง สำนวนที่เนื่องมาจากการที่คนจีนจากเมืองจีนเดินทางโดยเรือสำเภาเข้ามาทำมาหากินในเมืองไทย โดยไม่มีทรัพย์สมบัติหรือข้าวของติดตัวมานอกจากเสื่อกับหมอนเท่านั้นแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้; โดยปริยายหมายถึงมีสมบัติติดตัวเพียงเล็กน้อย แต่มีวิริยอุตสาหะแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้. | เสื่อผืนหมอนใบ น. สำนวนที่เนื่องมาจากการที่คนจีนจากเมืองจีนเดินทางโดยเรือสำเภาเข้ามาทำมาหากินในเมืองไทย โดยไม่มีทรัพย์สมบัติหรือข้าวของติดตัวมานอกจากเสื่อกับหมอนเท่านั้นแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้; โดยปริยายหมายถึงมีสมบัติติดตัวเพียงเล็กน้อย แต่มีวิริยอุตสาหะแล้วสามารถตั้งเนื้อตั้งตัวได้. |
เสื่อไม้ไผ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนอน ทำด้วยไม้ไผ่ สับเป็นริ้วละเอียดอย่างฟาก คลี่ออกและต่อกันเป็นผืน. | เสื่อไม้ไผ่ น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนอน ทำด้วยไม้ไผ่ สับเป็นริ้วละเอียดอย่างฟาก คลี่ออกและต่อกันเป็นผืน. |
เสื่อลวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสําหรับรองนั่ง ทําด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จํากัด นิยมใช้ตามวัด. | เสื่อลวด น. เครื่องปูลาดสําหรับรองนั่ง ทําด้วยต้นกก ทอเป็นผืนหน้ากว้างประมาณ ๑ เมตร ความยาวไม่จํากัด นิยมใช้ตามวัด. |
เสื่อลำแพน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องจักสานชนิดหนึ่ง มักสานด้วยตอกไม้ไผ่เส้นใหญ่ ๆ แบน ๆ ซึ่งเรียกว่า ตอกปื้น ที่ทําด้วยหวายหรือเส้นใยเปลือกไม้ก็มี ใช้ปูหรือทําเป็นแผงใช้กั้นหรือกรุเป็นฝาเรือนเป็นต้น. | เสื่อลำแพน น. เครื่องจักสานชนิดหนึ่ง มักสานด้วยตอกไม้ไผ่เส้นใหญ่ ๆ แบน ๆ ซึ่งเรียกว่า ตอกปื้น ที่ทําด้วยหวายหรือเส้นใยเปลือกไม้ก็มี ใช้ปูหรือทําเป็นแผงใช้กั้นหรือกรุเป็นฝาเรือนเป็นต้น. |
เสื่ออ่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยใบเตยหรือใบลำเจียก จักเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า. | เสื่ออ่อน น. เครื่องปูลาดสำหรับรองนั่งหรือนอน ทำด้วยใบเตยหรือใบลำเจียก จักเป็นเส้นอย่างตอก สานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า. |
เสื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสวมกายท่อนบนทําด้วยผ้าเป็นต้น เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น เสื้อกั๊ก เสื้อเชิ้ต. | เสื้อ ๑ น. เครื่องสวมกายท่อนบนทําด้วยผ้าเป็นต้น เรียกชื่อต่าง ๆ กัน เช่น เสื้อกั๊ก เสื้อเชิ้ต. |
เสื้อกระบอก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง. | เสื้อกระบอก น. เสื้อชนิดหนึ่งในสมัยรัชกาลที่ ๔ แขนยาว ช่วงตัวสั้นเสมอบั้นเอว แขนรัด ตัวรัด คอสูง. |
เสื้อกล้าม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชั้นในมักทําด้วยผ้ายืด ไม่มีแขน ไม่มีปก. | เสื้อกล้าม น. เสื้อชั้นในมักทําด้วยผ้ายืด ไม่มีแขน ไม่มีปก. |
เสื้อกั๊ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง ตัวสั้นเสมอเอว ไม่มีแขน ไม่มีปก ผ่าอกตลอด ติดกระดุมหรือไม่ติดก็ได้ มักใช้สวมทับเสื้อเชิ้ต. | เสื้อกั๊ก น. เสื้อชนิดหนึ่ง ตัวสั้นเสมอเอว ไม่มีแขน ไม่มีปก ผ่าอกตลอด ติดกระดุมหรือไม่ติดก็ได้ มักใช้สวมทับเสื้อเชิ้ต. |
เสื้อกุยเฮง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อแบบจีนชนิดหนึ่ง คอกลม มีแขน ผ่าอกตลอด ติดกระดุม มีกระเป๋าล่าง ๒ ข้าง. | เสื้อกุยเฮง น. เสื้อแบบจีนชนิดหนึ่ง คอกลม มีแขน ผ่าอกตลอด ติดกระดุม มีกระเป๋าล่าง ๒ ข้าง. |
เสื้อเกราะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อที่ใช้สวมใส่สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย. | เสื้อเกราะ น. เสื้อที่ใช้สวมใส่สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย. |
เสื้อครุย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง มีหลายแบบ ใช้สวมหรือคลุม เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ. | เสื้อครุย น. เสื้อชนิดหนึ่ง มีหลายแบบ ใช้สวมหรือคลุม เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ. |
เสื้อสามารถ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อที่มอบให้เพื่อแสดงว่าผู้รับมีคุณสมบัติดีเด่นในด้านกีฬา. | เสื้อสามารถ น. เสื้อที่มอบให้เพื่อแสดงว่าผู้รับมีคุณสมบัติดีเด่นในด้านกีฬา. |
เสื้อแสง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อและกางเกง, เครื่องนุ่งห่ม. | เสื้อแสง น. เสื้อและกางเกง, เครื่องนุ่งห่ม. |
เสื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย; ผีหรืออมนุษย์จําพวกหนึ่ง เรียกเต็มว่า ผีเสื้อ, ถ้าอยู่ในนํ้า เรียกว่า ผีเสื้อนํ้า หรือ เสื้อนํ้า, ถ้าเป็นยักษ์ เรียกว่า ผีเสื้อยักษ์, ถ้าอยู่รักษาเมือง เรียกว่า ผีเสื้อเมือง เสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง. | เสื้อ ๒ น. เชื้อสาย; ผีหรืออมนุษย์จําพวกหนึ่ง เรียกเต็มว่า ผีเสื้อ, ถ้าอยู่ในนํ้า เรียกว่า ผีเสื้อนํ้า หรือ เสื้อนํ้า, ถ้าเป็นยักษ์ เรียกว่า ผีเสื้อยักษ์, ถ้าอยู่รักษาเมือง เรียกว่า ผีเสื้อเมือง เสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง. |
เสื้อน้ำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาที่รักษาน่านน้ำ, ผีเสื้อน้ำ ก็เรียก. | เสื้อน้ำ น. เทวดาที่รักษาน่านน้ำ, ผีเสื้อน้ำ ก็เรียก. |
เสื้อเมือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาที่รักษาบ้านเมือง, ผีเสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง ก็เรียก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง พระเชื้อเมือง. | เสื้อเมือง น. เทวดาที่รักษาบ้านเมือง, ผีเสื้อเมือง หรือ พระเสื้อเมือง ก็เรียก; (โบ) พระเชื้อเมือง. |
เสือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไสไป, ผลักไป; สาระแน, (เป็นคำไม่สุภาพ). | เสือก ก. ไสไป, ผลักไป; สาระแน, (เป็นคำไม่สุภาพ). |
เสือกกะโหลก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | [กะโหฺลก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาระแนเข้าไปทําการโดยไม่มีใครต้องการให้ทํา. | เสือกกะโหลก [กะโหฺลก] (ปาก) ว. สาระแนเข้าไปทําการโดยไม่มีใครต้องการให้ทํา. |
เสือกคลาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ดู เลื้อยคลาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | เสือกคลาน ดู เลื้อยคลาน. |
เสือกสน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สอ-เสือ-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง กระเสือกกระสน. | เสือกสน ก. กระเสือกกระสน. |
เสือกไส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งไปที่อื่นเพื่อให้พ้นไป, มักใช้เข้าคู่กับคำ ไล่ส่ง เป็น เสือกไสไล่ส่ง. | เสือกไส ก. ส่งไปที่อื่นเพื่อให้พ้นไป, มักใช้เข้าคู่กับคำ ไล่ส่ง เป็น เสือกไสไล่ส่ง. |
เสือข้างลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิด Puntius partipentazona ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างและลักษณะคล้ายปลาตะเพียน มีลายดำ ๕ แถบ พาดขวางได้จังหวะกัน. | เสือข้างลาย น. ชื่อปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิด Puntius partipentazona ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างและลักษณะคล้ายปลาตะเพียน มีลายดำ ๕ แถบ พาดขวางได้จังหวะกัน. |
เสือดาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | ดูใน เสือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑. | เสือดาว ๑ ดูใน เสือ ๑. |
เสือดาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | ดู ตะกรับ เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๓ (๑). | เสือดาว ๒ ดู ตะกรับ ๓ (๑). |
เสือทะเล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | ดู พิมพา เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา. | เสือทะเล ดู พิมพา. |
เสือนั่งร่ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | ดู กาสัก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒. | เสือนั่งร่ม ดู กาสัก ๒. |
เสื่อม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง น้อยลง, หย่อนลง, เช่น เครื่องจักรเมื่อใช้ไปนาน ๆ คุณภาพก็ค่อย ๆ เสื่อมไป, เสีย เช่น เสื่อมเกียรติ, ค่อย ๆ ลดลง เช่น ความจำเสื่อม, ต่ำกว่าระดับเดิม เช่น เมื่อความเจริญทางวัตถุมีมากขึ้น คุณธรรมของคนก็เสื่อมลง, ถอยความขลัง เช่น มนตร์เสื่อม. | เสื่อม ก. น้อยลง, หย่อนลง, เช่น เครื่องจักรเมื่อใช้ไปนาน ๆ คุณภาพก็ค่อย ๆ เสื่อมไป, เสีย เช่น เสื่อมเกียรติ, ค่อย ๆ ลดลง เช่น ความจำเสื่อม, ต่ำกว่าระดับเดิม เช่น เมื่อความเจริญทางวัตถุมีมากขึ้น คุณธรรมของคนก็เสื่อมลง, ถอยความขลัง เช่น มนตร์เสื่อม. |
เสื่อมคลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น้อยลง, ลดลง, เช่น มิตรภาพเสื่อมคลายลงเพราะต่างฝ่ายต่างเอาเปรียบกัน. | เสื่อมคลาย ว. น้อยลง, ลดลง, เช่น มิตรภาพเสื่อมคลายลงเพราะต่างฝ่ายต่างเอาเปรียบกัน. |
เสื่อมถอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หย่อนลง, ไม่ดีเหมือนเดิม, เช่น เขาป่วยคราวนี้ทำให้สมรรถภาพในการทำงานเสื่อมถอยไปมาก. | เสื่อมถอย ว. หย่อนลง, ไม่ดีเหมือนเดิม, เช่น เขาป่วยคราวนี้ทำให้สมรรถภาพในการทำงานเสื่อมถอยไปมาก. |
เสื่อมทราม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น ตั้งแต่เขาไปมั่วสุมกับคนพาล ชีวิตของเขาก็เสื่อมทรามลง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมทราม. | เสื่อมทราม ก. เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น ตั้งแต่เขาไปมั่วสุมกับคนพาล ชีวิตของเขาก็เสื่อมทรามลง. ว. ที่เลวลง (มักใช้แก่ความประพฤติ) เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมทราม. |
เสื่อมโทรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เลวลง, มีฐานะตกต่ำกว่าเดิม, เช่น ภาวะเศรษฐกิจกำลังเสื่อมโทรม. | เสื่อมโทรม ก. เลวลง, มีฐานะตกต่ำกว่าเดิม, เช่น ภาวะเศรษฐกิจกำลังเสื่อมโทรม. |
เสื่อมสลาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ แปรสภาพไป เช่น อาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้เสื่อมสลายไปแล้ว. | เสื่อมสลาย ก. ค่อย ๆ แปรสภาพไป เช่น อาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้เสื่อมสลายไปแล้ว. |
เสื่อมสิทธิ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง มีสิทธิน้อยลง, ทําให้สิทธิเสียไป. | เสื่อมสิทธิ์ ก. มีสิทธิน้อยลง, ทําให้สิทธิเสียไป. |
เสื่อมสูญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง | เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ ลดน้อยลงไปจนหมดสิ้น เช่น มีผู้พยากรณ์ว่า พระพุทธศาสนากำลังเสื่อมสูญไป พอครบ ๕,๐๐๐ ปีก็สูญสิ้น. | เสื่อมสูญ ก. ค่อย ๆ ลดน้อยลงไปจนหมดสิ้น เช่น มีผู้พยากรณ์ว่า พระพุทธศาสนากำลังเสื่อมสูญไป พอครบ ๕,๐๐๐ ปีก็สูญสิ้น. |
เสื่อมเสีย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียหาย เช่น เพราะถูกกล่าวหาว่าฉ้อราษฎร์บังหลวง จึงทำให้ชื่อเสียงของเขาเสื่อมเสียไปมาก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เสียหาย เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมเสีย ไม่ควรจ้างให้มาทำงานด้วย. | เสื่อมเสีย ก. เสียหาย เช่น เพราะถูกกล่าวหาว่าฉ้อราษฎร์บังหลวง จึงทำให้ชื่อเสียงของเขาเสื่อมเสียไปมาก. ว. ที่เสียหาย เช่น เขามีความประพฤติเสื่อมเสีย ไม่ควรจ้างให้มาทำงานด้วย. |
เสือแมลงวัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง แมงมุมตัวขนาดเล็ก กินแมลงวัน. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. | เสือแมลงวัน น. แมงมุมตัวขนาดเล็ก กินแมลงวัน. (พจน. ๒๔๙๓). |
เสือหมอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | ดู สาบเสือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง. | เสือหมอบ ดู สาบเสือ. |
แส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง แฉ, ชําระ, สะสาง. เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาว, มักใช้ประกอบกับคํา สาว ว่า สาวแส. | แส ๑ ก. แฉ, ชําระ, สะสาง. น. หญิงสาว, มักใช้ประกอบกับคํา สาว ว่า สาวแส. |
แสนา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง วัดนา, ตรวจสอบที่นา, เสนา ก็ว่า. | แสนา ก. วัดนา, ตรวจสอบที่นา, เสนา ก็ว่า. |
แส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentantha (Jacq.) G. Don ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกเล็ก สีคราม, แสเถา ก็เรียก. | แส ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Jacquemontia pentantha (Jacq.) G. Don ในวงศ์ Convolvulaceae ดอกเล็ก สีคราม, แสเถา ก็เรียก. |
แส่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่นหรือเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตนอยู่เนือง ๆ (เป็นคำไม่สุภาพ) เช่น แส่ไม่เข้าเรื่อง แส่หาเรื่อง. | แส่ ก. เข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่นหรือเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตนอยู่เนือง ๆ (เป็นคำไม่สุภาพ) เช่น แส่ไม่เข้าเรื่อง แส่หาเรื่อง. |
แส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออุปกรณ์สำหรับปัดยุงหรือแมลง ทำด้วยขนหางม้า หรือทางจากที่ทุบปลายข้างหนึ่งเป็นเส้น เป็นต้น ลักษณะเป็นพู่ยาว มีด้าม; ชื่ออุปกรณ์สำหรับตีม้า ทำด้วยหวายหรือหนังสัตว์ถักหรือฟั่นเป็นเกลียว ยาวอย่างไม้เรียว เรียกว่า แส้ม้า, ไม้หรือเหล็กกลมยาวสําหรับกระทุ้งดินในลํากล้องปืนให้แน่น เรียกว่า แส้ปืน; ใช้ประกอบกับคํา สาว เป็น สาวแส้ หมายความว่า หญิงสาว. | แส้ น. ชื่ออุปกรณ์สำหรับปัดยุงหรือแมลง ทำด้วยขนหางม้า หรือทางจากที่ทุบปลายข้างหนึ่งเป็นเส้น เป็นต้น ลักษณะเป็นพู่ยาว มีด้าม; ชื่ออุปกรณ์สำหรับตีม้า ทำด้วยหวายหรือหนังสัตว์ถักหรือฟั่นเป็นเกลียว ยาวอย่างไม้เรียว เรียกว่า แส้ม้า, ไม้หรือเหล็กกลมยาวสําหรับกระทุ้งดินในลํากล้องปืนให้แน่น เรียกว่า แส้ปืน; ใช้ประกอบกับคํา สาว เป็น สาวแส้ หมายความว่า หญิงสาว. |
แส้จามรี เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง แส้ที่ทำด้วยขนหางจามรี เป็น ๑ ในเครื่องเบญจกกุธภัณฑ์. | แส้จามรี น. แส้ที่ทำด้วยขนหางจามรี เป็น ๑ ในเครื่องเบญจกกุธภัณฑ์. |
แส้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ผมแผงคอม้า. | แส้ม้า ๑ (ถิ่นปักษ์ใต้) น. ผมแผงคอม้า. |
แสก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง แนวที่อยู่ระหว่างกลาง ในคำว่า แสกผม แสกหน้า. เป็นคำกริยา หมายถึง แบ่งผมออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กัน เรียกว่า แสกกลาง, ถ้าไม่เท่ากัน เรียกว่า แสกข้าง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กันว่า ผมแสกกลาง, เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนไม่เท่ากันว่า ผมแสกข้าง. | แสก ๑ น. แนวที่อยู่ระหว่างกลาง ในคำว่า แสกผม แสกหน้า. ก. แบ่งผมออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กัน เรียกว่า แสกกลาง, ถ้าไม่เท่ากัน เรียกว่า แสกข้าง. ว. เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กันว่า ผมแสกกลาง, เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนไม่เท่ากันว่า ผมแสกข้าง. |
แสกหน้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนหน้าผากกึ่งกลางระหว่างคิ้ว. | แสกหน้า น. ส่วนหน้าผากกึ่งกลางระหว่างคิ้ว. |
แสก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Tytonidae ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิด คือ แสก (Tyto alba) พบอาศัยหลบพักตามต้นไม้หรือชายคา และ แสกแดง (Phodilus badius) ชนิดนี้ไม่พบอาศัยตามบ้านเรือน. | แสก ๒ น. ชื่อนกในวงศ์ Tytonidae ในประเทศไทยพบ ๒ ชนิด คือ แสก (Tyto alba) พบอาศัยหลบพักตามต้นไม้หรือชายคา และ แสกแดง (Phodilus badius) ชนิดนี้ไม่พบอาศัยตามบ้านเรือน. |
แสก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกชนชาติหนึ่งในตระกูลมอญเขมร. | แสก ๓ น. เรียกชนชาติหนึ่งในตระกูลมอญเขมร. |
แสก ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แจ้ง ๆ เช่น กลางวันแสก ๆ. | แสก ๆ ว. แจ้ง ๆ เช่น กลางวันแสก ๆ. |
แสง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ความสว่าง, สิ่งที่ทําให้ดวงตาแลเห็น; เพชรพลอย เช่น ตาวจิ้มแสง ว่า ดาบฝังพลอย. | แสง ๑ น. ความสว่าง, สิ่งที่ทําให้ดวงตาแลเห็น; เพชรพลอย เช่น ตาวจิ้มแสง ว่า ดาบฝังพลอย. |
แสงเงินแสงทอง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่ปรากฏบนขอบฟ้าทางทิศตะวันออก เมื่อเวลาจะรุ่งสว่าง เมื่อแรกเป็นสีขาว เรียกว่า แสงเงิน แล้วแปรเป็นสีแดง เรียกว่า แสงทอง. | แสงเงินแสงทอง น. แสงที่ปรากฏบนขอบฟ้าทางทิศตะวันออก เมื่อเวลาจะรุ่งสว่าง เมื่อแรกเป็นสีขาว เรียกว่า แสงเงิน แล้วแปรเป็นสีแดง เรียกว่า แสงทอง. |
แสงสว่าง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่มีความสว่าง. | แสงสว่าง น. แสงที่มีความสว่าง. |
แสง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง อาวุธ, ศัสตรา, เครื่องมีคม, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระแสง เช่น พระแสงดาบ พระแสงปืน. | แสง ๒ น. อาวุธ, ศัสตรา, เครื่องมีคม, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระแสง เช่น พระแสงดาบ พระแสงปืน. |
แสง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง กางเกง, มักใช้เข้าคู่กับคํา เสื้อ เป็น เสื้อแสง หมายความว่า เสื้อและกางเกง. | แสง ๓ น. กางเกง, มักใช้เข้าคู่กับคํา เสื้อ เป็น เสื้อแสง หมายความว่า เสื้อและกางเกง. |
แสงจันทร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Pisonia grandis R. Br. ในวงศ์ Nyctaginaceae ใบบาง สีเหลืองอมเขียว. | แสงจันทร์ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Pisonia grandis R. Br. ในวงศ์ Nyctaginaceae ใบบาง สีเหลืองอมเขียว. |
แสงอาทิตย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูชนิด Xenopeltis unicolor ในวงศ์ Xenopeltidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ตัวสีนํ้าตาลม่วงเป็นเงามัน ท้องขาว หัวแบน ตาเล็ก ออกหากินเวลากลางคืน ไม่มีพิษ. | แสงอาทิตย์ น. ชื่องูชนิด Xenopeltis unicolor ในวงศ์ Xenopeltidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ตัวสีนํ้าตาลม่วงเป็นเงามัน ท้องขาว หัวแบน ตาเล็ก ออกหากินเวลากลางคืน ไม่มีพิษ. |
แสด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสีเหลืองปนแดง เรียกว่า สีแสด. | แสด ๑ ว. มีสีเหลืองปนแดง เรียกว่า สีแสด. |
แสด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | ดู คําแสด เขียนว่า คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก (๑). | แสด ๒ ดู คําแสด (๑). |
แสดง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | [สะแดง] เป็นคำกริยา หมายถึง ชี้แจง, อธิบาย, บอกข้อความให้รู้, เช่น แสดงธรรม แสดงปาฐกถา, ทําให้ปรากฏออกมา เช่น แสดงตัว แสดงหลักฐาน; เล่น เช่น แสดงละคร แสดงภาพยนตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร แสฺฎง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ดอ-ชะ-ดา-งอ-งู. | แสดง [สะแดง] ก. ชี้แจง, อธิบาย, บอกข้อความให้รู้, เช่น แสดงธรรม แสดงปาฐกถา, ทําให้ปรากฏออกมา เช่น แสดงตัว แสดงหลักฐาน; เล่น เช่น แสดงละคร แสดงภาพยนตร์. (ข. แสฺฎง). |
แสดงออก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น หรือความสามารถเป็นต้นให้ปรากฏ เช่น ภาพวาดนี้ย่อมแสดงออกซึ่งอารมณ์และความสามารถของเขาได้เป็นอย่างดี. | แสดงออก ก. แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น หรือความสามารถเป็นต้นให้ปรากฏ เช่น ภาพวาดนี้ย่อมแสดงออกซึ่งอารมณ์และความสามารถของเขาได้เป็นอย่างดี. |
แสตมป์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด | [สะแตม] เป็นคำนาม หมายถึง ดวงตราไปรษณียากร, ตราไปรษณียากร ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ stamp เขียนว่า เอส-ที-เอ-เอ็ม-พี. | แสตมป์ [สะแตม] น. ดวงตราไปรษณียากร, ตราไปรษณียากร ก็เรียก. (อ. stamp). |
แสเถา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | ดู แส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒. | แสเถา ดู แส ๒. |
แสน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สิบหมื่น; มากยิ่ง, เหลือเกิน, เช่น แสนลําบาก. เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งนายทหารครั้งโบราณทางภาคพายัพ. | แสน ว. สิบหมื่น; มากยิ่ง, เหลือเกิน, เช่น แสนลําบาก. น. ตําแหน่งนายทหารครั้งโบราณทางภาคพายัพ. |
แสนกล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีเล่ห์เหลี่ยมกลอุบายมาก, เจ้าเล่ห์แสนกล ก็ว่า. | แสนกล ว. มีเล่ห์เหลี่ยมกลอุบายมาก, เจ้าเล่ห์แสนกล ก็ว่า. |
แสนเข็ญ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-ยอ-หยิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากเหลือเกิน (มักใช้เกี่ยวกับความยากจน) เช่น เขาเป็นคนยากแค้นแสนเข็ญ. | แสนเข็ญ ว. มากเหลือเกิน (มักใช้เกี่ยวกับความยากจน) เช่น เขาเป็นคนยากแค้นแสนเข็ญ. |
แสนเข็น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยากแก่การที่จะอบรมสั่งสอนให้ดีได้ เช่น เด็กคนนี้ดื้อแสนเข็น. | แสนเข็น ว. ยากแก่การที่จะอบรมสั่งสอนให้ดีได้ เช่น เด็กคนนี้ดื้อแสนเข็น. |
แสนงอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-งอ-งู-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแง่งอนมาก เช่น เธอมีนิสัยแสนงอนมาตั้งแต่เด็ก. | แสนงอน ว. มีแง่งอนมาก เช่น เธอมีนิสัยแสนงอนมาตั้งแต่เด็ก. |
แสนรู้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาดช่างรู้ เช่น ช้างแสนรู้ สุนัขแสนรู้. | แสนรู้ ว. ฉลาดช่างรู้ เช่น ช้างแสนรู้ สุนัขแสนรู้. |
แสนง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-งอ-งู | [สะแหฺนง] เป็นคำนาม หมายถึง เสนง. | แสนง [สะแหฺนง] น. เสนง. |
แสนย, แสนย์ แสนย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก แสนย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [แสนยะ, แสน] เป็นคำนาม หมายถึง คนในกองทัพ, ทหาร เช่น จ่าแสนย์ ว่า ผู้ควบคุมทหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | แสนย, แสนย์ [แสนยะ, แสน] น. คนในกองทัพ, ทหาร เช่น จ่าแสนย์ ว่า ผู้ควบคุมทหาร. (ส. ไสนฺย). |
แสนยากร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [กอน] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่ทหาร, กองทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อากร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ . | แสนยากร [กอน] น. หมู่ทหาร, กองทัพ. (ส. ไสนฺย + อากร). |
แสนยานุภาพ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจทางทหาร เช่น ทหารเดินสวนสนามเพื่อแสดงแสนยานุภาพของกองทัพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไสนฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก + อานุภาว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน . | แสนยานุภาพ น. อํานาจทางทหาร เช่น ทหารเดินสวนสนามเพื่อแสดงแสนยานุภาพของกองทัพ. (ส. ไสนฺย + อานุภาว). |
แสนยากร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | ดู แสนย, แสนย์ แสนย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก แสนย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด . | แสนยากร ดู แสนย, แสนย์. |
แสนยานุภาพ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | ดู แสนย, แสนย์ แสนย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก แสนย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด . | แสนยานุภาพ ดู แสนย, แสนย์. |
แสนเสนาะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | [สะเหฺนาะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | แสนเสนาะ [สะเหฺนาะ] น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
แสบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคือง เช่น แสบตา แสบตัว แสบหน้า, อาการที่รู้สึกเผ็ดร้อน เช่น แสบปาก แสบลิ้น. | แสบ ก. อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคือง เช่น แสบตา แสบตัว แสบหน้า, อาการที่รู้สึกเผ็ดร้อน เช่น แสบปาก แสบลิ้น. |
แสบแก้วหู, แสบหู แสบแก้วหู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู แสบหู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกระคายหูเพราะเสียงดังหรือเสียงแหลมเกินขนาด เช่น เสียงรถจักรยานยนต์ดังแสบแก้วหู เสียงร้องกรี๊ด ๆ ฟังแล้วแสบหู. | แสบแก้วหู, แสบหู ก. อาการที่รู้สึกระคายหูเพราะเสียงดังหรือเสียงแหลมเกินขนาด เช่น เสียงรถจักรยานยนต์ดังแสบแก้วหู เสียงร้องกรี๊ด ๆ ฟังแล้วแสบหู. |
แสบตา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคืองตา, โดยปริยายหมายถึงลักษณะของสีบางชนิดที่จัดจ้าบาดลูกนัยน์ตา เช่น เขาใส่เสื้อสีแดงสดแสบตา. | แสบตา ก. อาการที่รู้สึกเจ็บปวดหรือระคายเคืองตา, โดยปริยายหมายถึงลักษณะของสีบางชนิดที่จัดจ้าบาดลูกนัยน์ตา เช่น เขาใส่เสื้อสีแดงสดแสบตา. |
แสบท้อง, แสบท้องแสบไส้ แสบท้อง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู แสบท้องแสบไส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบท้อง, แสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า. | แสบท้อง, แสบท้องแสบไส้ ก. อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบท้อง, แสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า. |
แสบเนื้อแสบตัว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกระคายเคืองที่ผิวหนัง เช่น เดินตากแดดร้อนจัด แสบเนื้อแสบตัวไปหมด. | แสบเนื้อแสบตัว ก. อาการที่รู้สึกระคายเคืองที่ผิวหนัง เช่น เดินตากแดดร้อนจัด แสบเนื้อแสบตัวไปหมด. |
แสบร้อน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกทั้งแสบทั้งร้อน. | แสบร้อน ก. อาการที่รู้สึกทั้งแสบทั้งร้อน. |
แสบไส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า; มีรสจัด ในคำว่า หวานแสบไส้, โดยปริยายหมายถึงรุนแรงอย่างยิ่ง เช่น ด่าได้แสบไส้จริง ๆ. | แสบไส้ ก. อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้แสบพุง ก็ว่า; มีรสจัด ในคำว่า หวานแสบไส้, โดยปริยายหมายถึงรุนแรงอย่างยิ่ง เช่น ด่าได้แสบไส้จริง ๆ. |
แสบไส้แสบพุง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้แสบพุง, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้ ก็ว่า. | แสบไส้แสบพุง ก. อาการที่หิวจัด เช่น หิวจนแสบไส้แสบพุง, แสบท้อง แสบท้องแสบไส้ หรือ แสบไส้ ก็ว่า. |
แสบหูแสบตา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกระคายเคืองตาอย่างมาก เช่น ข้างบ้านสุมไฟเผาขยะ ควันเต็มไปหมด ทำให้แสบหูแสบตา. | แสบหูแสบตา ก. อาการที่รู้สึกระคายเคืองตาอย่างมาก เช่น ข้างบ้านสุมไฟเผาขยะ ควันเต็มไปหมด ทำให้แสบหูแสบตา. |
แสบก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่ | [สะแบก] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสัตว์ เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ เปนบรรพบุรณะ นเรนทรราชบรรหาร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | แสบก [สะแบก] น. หนังสัตว์ เช่น ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ เปนบรรพบุรณะ นเรนทรราชบรรหาร. (สมุทรโฆษ). (ข.). |
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Avicennia วงศ์ Avicenniaceae คือ แสมขาว (A. alba Blume) แสมทะเล (A. marina Vierh.) และ แสมดํา (A. officinalis L.) มีรากหายใจลักษณะเป็นแท่งตั้งตรง. (๒) ดู โปรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-งอ-งู. | แสม ๑ [สะแหฺม] น. (๑) ชื่อไม้ต้น ๓ ชนิดในสกุล Avicennia วงศ์ Avicenniaceae คือ แสมขาว (A. alba Blume) แสมทะเล (A. marina Vierh.) และ แสมดํา (A. officinalis L.) มีรากหายใจลักษณะเป็นแท่งตั้งตรง. (๒) ดู โปรง. |
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปูหลายชนิดในสกุล Neoepisesarma วงศ์ Grapsidae อยู่ตามป่าแสม. | แสม ๒ [สะแหฺม] น. ชื่อปูหลายชนิดในสกุล Neoepisesarma วงศ์ Grapsidae อยู่ตามป่าแสม. |
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓ | [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลิงชนิด Macaca fascicularis ในวงศ์ Cercopithecidae เป็นลิงไทยที่มีหางยาวที่สุด คือ ยาวเท่ากับความยาวของหัวและลําตัวรวมกัน ตัวสีนํ้าตาลอมเทา ขนหัวสั้นและวนเป็นรูปขวัญ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง พบทุกภาคของประเทศไทย กินพืช แมลง และปูแสม. | แสม ๓ [สะแหฺม] น. ชื่อลิงชนิด Macaca fascicularis ในวงศ์ Cercopithecidae เป็นลิงไทยที่มีหางยาวที่สุด คือ ยาวเท่ากับความยาวของหัวและลําตัวรวมกัน ตัวสีนํ้าตาลอมเทา ขนหัวสั้นและวนเป็นรูปขวัญ อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง พบทุกภาคของประเทศไทย กินพืช แมลง และปูแสม. |
แสม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๔ | [สะแหฺม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกุ้งทะเลหลายชนิดในสกุล Parapenaeopsis วงศ์ Penaeidae ลักษณะคล้ายกุ้งแชบ๊วย แต่มีสันกลางด้านหลังปล้องท้อง เช่น ชนิด P. hungerfordi. | แสม ๔ [สะแหฺม] น. ชื่อกุ้งทะเลหลายชนิดในสกุล Parapenaeopsis วงศ์ Penaeidae ลักษณะคล้ายกุ้งแชบ๊วย แต่มีสันกลางด้านหลังปล้องท้อง เช่น ชนิด P. hungerfordi. |
แสมสาร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [สะแหฺมสาน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia garrettiana Craib ในวงศ์ Leguminosae แก่นใช้ทําลูกประสักเรือ ใบและแก่นใช้ทํายาได้. | แสมสาร [สะแหฺมสาน] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cassia garrettiana Craib ในวงศ์ Leguminosae แก่นใช้ทําลูกประสักเรือ ใบและแก่นใช้ทํายาได้. |
แส้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ดูใน แส้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท. | แส้ม้า ๑ ดูใน แส้. |
แส้ม้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพยาธิตัวกลมในวงศ์ Trichuridae ลักษณะคล้ายแส้ตีม้า ตัวสีขาว ยาวประมาณ ๕ เซนติเมตร ส่วนหัวและลำตัวบางเรียวยาวคล้ายเส้นผม ส่วนท้ายหนา อาศัยดูดกินเลือดอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และสัตว์ เช่น ชนิด Trichuris trichiura. | แส้ม้า ๒ น. ชื่อพยาธิตัวกลมในวงศ์ Trichuridae ลักษณะคล้ายแส้ตีม้า ตัวสีขาว ยาวประมาณ ๕ เซนติเมตร ส่วนหัวและลำตัวบางเรียวยาวคล้ายเส้นผม ส่วนท้ายหนา อาศัยดูดกินเลือดอยู่ในลําไส้ใหญ่ของมนุษย์และสัตว์ เช่น ชนิด Trichuris trichiura. |
แส้ม้าทะลาย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ดู ชิงชี่ เขียนว่า ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก. | แส้ม้าทะลาย ดู ชิงชี่. |
แสยก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | [สะแหฺยก] เป็นคำกริยา หมายถึง แยกเขี้ยวแสดงอาการให้เห็นน่ากลัว. | แสยก ๑ [สะแหฺยก] ก. แยกเขี้ยวแสดงอาการให้เห็นน่ากลัว. |
แสยก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | [สะแหฺยก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Pedilanthus tithymaloides Poit. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบหนา ดอกสีแดง ใช้ปลูกทําเป็นขอบสนาม, กะแหยก ก็เรียก. | แสยก ๒ [สะแหฺยก] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Pedilanthus tithymaloides Poit. ในวงศ์ Euphorbiaceae ใบหนา ดอกสีแดง ใช้ปลูกทําเป็นขอบสนาม, กะแหยก ก็เรียก. |
แสยง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-งอ-งู | [สะแหฺยง] เป็นคำกริยา หมายถึง หวาดเกรง เช่น ตับตายหลายเหลือสังขยา ศพสูงเพียงผา แลดูพันฦกนิเห็นแสยง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, มักใช้ว่า แหยง. | แสยง [สะแหฺยง] ก. หวาดเกรง เช่น ตับตายหลายเหลือสังขยา ศพสูงเพียงผา แลดูพันฦกนิเห็นแสยง. (สมุทรโฆษ), มักใช้ว่า แหยง. |
แสยงขน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-งอ-งู-ขอ-ไข่-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ขนลุกด้วยความกลัวหรือเกลียดเป็นต้น. | แสยงขน ก. ขนลุกด้วยความกลัวหรือเกลียดเป็นต้น. |
แสยะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [สะแหฺยะ] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการของปากที่แบะออก แสดงให้รู้ว่า เกลียด เกลียดกลัว เยาะเย้ย หรือ ดูแคลน. | แสยะ [สะแหฺยะ] ก. อาการของปากที่แบะออก แสดงให้รู้ว่า เกลียด เกลียดกลัว เยาะเย้ย หรือ ดูแคลน. |
แสรก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [สะแหฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง สาแหรก เช่น กรนนเช้าแสรกคานก็พลัดจากอังษา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สงฺแรก เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่. | แสรก [สะแหฺรก] น. สาแหรก เช่น กรนนเช้าแสรกคานก็พลัดจากอังษา. (ม. คำหลวง มัทรี). (ข. สงฺแรก). |
แสร้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู | [แส้ง] เป็นคำกริยา หมายถึง แกล้ง, จงใจทําให้ผิดจากความจริง, จงใจทํา, เช่น รังไรโรยด้วยแป้ง เหมือนนกแสร้งทำรังรวง. (กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน). | แสร้ง [แส้ง] ก. แกล้ง, จงใจทําให้ผิดจากความจริง, จงใจทํา, เช่น รังไรโรยด้วยแป้ง เหมือนนกแสร้งทำรังรวง. (กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน). |
แสร้งว่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทําด้วยกุ้งปรุงเป็นเครื่องจิ้ม. | แสร้งว่า น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทําด้วยกุ้งปรุงเป็นเครื่องจิ้ม. |
แสลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู | [สะแหฺลง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ถูกกับโรค เช่น แสลงโรค, ขัด เช่น แสลงหู แสลงตา. | แสลง [สะแหฺลง] ว. ไม่ถูกกับโรค เช่น แสลงโรค, ขัด เช่น แสลงหู แสลงตา. |
แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รู้สึกกระทบกระเทือนใจเหมือนถูกของมีคมบาดหัวใจ เช่น พอเห็นคนรักเก่าเดินไปกับหญิงคนใหม่ ก็รู้สึกแสลงใจ. | แสลงใจ ๑ ก. อาการที่รู้สึกกระทบกระเทือนใจเหมือนถูกของมีคมบาดหัวใจ เช่น พอเห็นคนรักเก่าเดินไปกับหญิงคนใหม่ ก็รู้สึกแสลงใจ. |
แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ ๑ | ดูใน แสลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู. | แสลงใจ ๑ ดูใน แสลง. |
แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ ๒ | [สะแหฺลง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Strychnos nuxvomica L. ในวงศ์ Strychnaceae ผลกลม สุกสีเหลือง เมล็ดกลมแบน มีแอลคาลอยด์หลัก ๒ ชนิด คือ สตริกนิน และ บรูซีน เป็นสารพิษ, ตูมกาแดง ก็เรียก, อีสาน เรียก แสลงเบื่อ, เมล็ดแก่แห้งใช้ทํายาได้ เรียก โกฐกะกลิ้ง. | แสลงใจ ๒ [สะแหฺลง] น. ชื่อไม้ต้นชนิด Strychnos nuxvomica L. ในวงศ์ Strychnaceae ผลกลม สุกสีเหลือง เมล็ดกลมแบน มีแอลคาลอยด์หลัก ๒ ชนิด คือ สตริกนิน และ บรูซีน เป็นสารพิษ, ตูมกาแดง ก็เรียก, อีสาน เรียก แสลงเบื่อ, เมล็ดแก่แห้งใช้ทํายาได้ เรียก โกฐกะกลิ้ง. |
แสลงเบื่อ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | [สะแหฺลง] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ต้นแสลงใจ. ในวงเล็บ ดู แสลงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน ความหมายที่ ๒. | แสลงเบื่อ [สะแหฺลง] (ถิ่นอีสาน) น. ต้นแสลงใจ. (ดู แสลงใจ ๒). |
แสล้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า | [สะแล่ม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สวย, งดงาม, แช่มช้อย, แฉล้ม หรือ แชล่ม ก็ใช้. | แสล้ม [สะแล่ม] ว. สวย, งดงาม, แช่มช้อย, แฉล้ม หรือ แชล่ม ก็ใช้. |
แสวง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-วอ-แหวน-งอ-งู | [สะแหฺวง] เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวหา, ค้นหา, เสาะหา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | แสวง [สะแหฺวง] ก. เที่ยวหา, ค้นหา, เสาะหา. (ข.). |
แสอก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | [สะแอก] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาพรุ่งนี้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร แสฺอก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่. | แสอก [สะแอก] น. เวลาพรุ่งนี้. (ข. แสฺอก). |
แสะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | แสะ น. ม้า. (ข.). |
โสก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง โศก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โสก ๑ น. โศก. (ป.). |
โสก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง โฉลก, ลักษณะซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนไม่ดี ถ้าดีเรียกว่า ถูกโสก ถ้าไม่ดีเรียกว่า ไม่ถูกโสก มักกำหนดด้วยการดูลักษณะ วัดขนาด นับจำนวน เป็นต้น ของคน สัตว์ สิ่งของ ว่าเป็นมงคลหรือไม่เป็นมงคล. | โสก ๒ (ถิ่นอีสาน) น. โฉลก, ลักษณะซึ่งมีทั้งส่วนดีและส่วนไม่ดี ถ้าดีเรียกว่า ถูกโสก ถ้าไม่ดีเรียกว่า ไม่ถูกโสก มักกำหนดด้วยการดูลักษณะ วัดขนาด นับจำนวน เป็นต้น ของคน สัตว์ สิ่งของ ว่าเป็นมงคลหรือไม่เป็นมงคล. |
โสกโดก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ | [โสกกะโดก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สัปดน, หยาบโลน. | โสกโดก [โสกกะโดก] ว. สัปดน, หยาบโลน. |
โสกันต์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำกริยา หมายถึง โกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าขึ้นไป). | โสกันต์ (ราชา) ก. โกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าขึ้นไป). |
โสกาดานา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง คนใช้, ขอเฝ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | โสกาดานา น. คนใช้, ขอเฝ้า. (ช.). |
โสโครก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [โสโคฺรก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สกปรก, เปื้อนเปรอะน่ารังเกียจ, โดยปริยายหมายความว่า เลว เช่น คนโสโครก ของโสโครก เรื่องโสโครก. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแนวพืดหินหรือโขดหินใต้นํ้าใกล้ ๆ ผิวพื้นน้ำทะเล อาจมีบางส่วนโผล่พ้นน้ำหรือปริ่มน้ำก็ได้ เป็นอันตรายแก่การเดินเรือ ว่า หินโสโครก. | โสโครก [โสโคฺรก] ว. สกปรก, เปื้อนเปรอะน่ารังเกียจ, โดยปริยายหมายความว่า เลว เช่น คนโสโครก ของโสโครก เรื่องโสโครก. น. เรียกแนวพืดหินหรือโขดหินใต้นํ้าใกล้ ๆ ผิวพื้นน้ำทะเล อาจมีบางส่วนโผล่พ้นน้ำหรือปริ่มน้ำก็ได้ เป็นอันตรายแก่การเดินเรือ ว่า หินโสโครก. |