สาคู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตัวอ่อนของพยาธิตัวตืดหมูชนิด Taenia solium ในวงศ์ Taeniidae ฝังตัวอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ของหมู ลักษณะเป็นถุงรูปคล้ายเม็ดสาคู ภายในมีหัวของตัวตืด. | สาคู ๒ น. ชื่อตัวอ่อนของพยาธิตัวตืดหมูชนิด Taenia solium ในวงศ์ Taeniidae ฝังตัวอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ของหมู ลักษณะเป็นถุงรูปคล้ายเม็ดสาคู ภายในมีหัวของตัวตืด. |
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ผี, บางทีใช้เข้าคู่กันเป็น ผีสาง; กลิ่นเหม็นของซากศพ ซากสัตว์ เช่น เหม็นสาบเหม็นสาง, โดยปริยายหมายความว่า มีกลิ่นเหม็นคล้ายคลึงเช่นนั้น. | สาง ๑ น. ผี, บางทีใช้เข้าคู่กันเป็น ผีสาง; กลิ่นเหม็นของซากศพ ซากสัตว์ เช่น เหม็นสาบเหม็นสาง, โดยปริยายหมายความว่า มีกลิ่นเหม็นคล้ายคลึงเช่นนั้น. |
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในนิยาย เข้าใจกันว่ามีรูปร่างอย่างเสือ. | สาง ๒ น. สัตว์ในนิยาย เข้าใจกันว่ามีรูปร่างอย่างเสือ. |
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง เช่น เสือสางสรรโสงสรรพและไกร สรร้องสำเทินสาร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘. | สาง ๓ (วรรณ) น. ช้าง เช่น เสือสางสรรโสงสรรพและไกร สรร้องสำเทินสาร. (สมุทรโฆษ). |
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๔ | เป็นคำนาม หมายถึง ปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลาเช้ามืด เริ่มแต่มีความมืดน้อยลง ๆ ตามลําดับ จนกว่าจะสว่างแจ้งเป็นที่สุด เรียกว่า ท้องฟ้าสาง. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แจ้งให้กระจ่าง เช่น สางคดี, ทําให้หายยุ่ง เช่น สางผม. | สาง ๔ น. ปรากฏการณ์บนท้องฟ้าในเวลาเช้ามืด เริ่มแต่มีความมืดน้อยลง ๆ ตามลําดับ จนกว่าจะสว่างแจ้งเป็นที่สุด เรียกว่า ท้องฟ้าสาง. ก. ทําให้แจ้งให้กระจ่าง เช่น สางคดี, ทําให้หายยุ่ง เช่น สางผม. |
สาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๕ | เป็นคำนาม หมายถึง หวี, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสาง. | สาง ๕ น. หวี, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระสาง. |
ส้าง เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างในสําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรมอยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ สําซ่าง ก็เรียก. | ส้าง น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างในสําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรมอยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ สําซ่าง ก็เรียก. |
สางคลื่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นที่ยอดไม่แตก, คลื่นใต้นํ้า. | สางคลื่น น. คลื่นที่ยอดไม่แตก, คลื่นใต้นํ้า. |
สางห่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อจิ้งเหลนหางยาวชนิด Takydromus sexlineatus ในวงศ์ Lacertidae ตัวเล็ก หางยาวประมาณ ๕ เท่าของความยาวลําตัว พบทุกภาคของประเทศไทย ที่เรียกสางห่าเพราะเข้าใจผิดว่ามีพิษร้ายแรง. | สางห่า (ถิ่นอีสาน) น. ชื่อจิ้งเหลนหางยาวชนิด Takydromus sexlineatus ในวงศ์ Lacertidae ตัวเล็ก หางยาวประมาณ ๕ เท่าของความยาวลําตัว พบทุกภาคของประเทศไทย ที่เรียกสางห่าเพราะเข้าใจผิดว่ามีพิษร้ายแรง. |
สาชล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สายชล, สายน้ำ, เช่น โอ้เรือพ้นวนมาในสาชล ใจยังวนหวังสวาทไม่คลาดคลา. (นิ. ภูเขาทอง). | สาชล (กลอน) น. สายชล, สายน้ำ, เช่น โอ้เรือพ้นวนมาในสาชล ใจยังวนหวังสวาทไม่คลาดคลา. (นิ. ภูเขาทอง). |
สาฎก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่ | [สาดก] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาฏก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต ศาฏก เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่. | สาฎก [สาดก] น. ผ้า. (ป. สาฏก; ส. ศาฏก). |
สาฏิก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [สาติกะ] เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อ, เสื้อคลุม; ผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาฏิกา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา. | สาฏิก [สาติกะ] น. เสื้อ, เสื้อคลุม; ผ้า. (ป.; ส. ศาฏิกา). |
สาณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [สานะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าหยาบ, ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน. | สาณ [สานะ] น. ผ้าหยาบ, ผ้าป่าน. (ป.; ส. ศาณ). |
สาณี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ม่าน, ฉาก, มู่ลี่; ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาณี เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี. | สาณี น. ม่าน, ฉาก, มู่ลี่; ผ้าป่าน. (ป.; ส. ศาณี). |
สาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เสื่อ, มักใช้ประกอบหลังคํา เสื่อ เป็น เสื่อสาด. | สาด ๑ น. เสื่อ, มักใช้ประกอบหลังคํา เสื่อ เป็น เสื่อสาด. |
สาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ซัดไป เช่น สาดน้ำ สาดโคลน สาดทราย, วักน้ำหรือตักน้ำซัดออกไปโดยแรง เช่น สาดน้ำรดแปลงผัก, ซัดหรือกระเซ็นเข้ามา เช่น ฝนสาด, ซัดหรือยิงอาวุธหรือกระสุนปืนทีละมาก ๆ เช่น สาดอาวุธเข้าหากัน สาดกระสุนเข้าใส่กัน; ส่องแสงเข้ามา เช่น ดวงจันทร์สาดแสง ห้องนี้แดดสาดทั้งวัน, กระจาย เช่น ถูกตีหัวเลือดสาด. | สาด ๒ ก. ซัดไป เช่น สาดน้ำ สาดโคลน สาดทราย, วักน้ำหรือตักน้ำซัดออกไปโดยแรง เช่น สาดน้ำรดแปลงผัก, ซัดหรือกระเซ็นเข้ามา เช่น ฝนสาด, ซัดหรือยิงอาวุธหรือกระสุนปืนทีละมาก ๆ เช่น สาดอาวุธเข้าหากัน สาดกระสุนเข้าใส่กัน; ส่องแสงเข้ามา เช่น ดวงจันทร์สาดแสง ห้องนี้แดดสาดทั้งวัน, กระจาย เช่น ถูกตีหัวเลือดสาด. |
สาดโคลน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู | [โคฺลน] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ใส่ร้ายป้ายสี. | สาดโคลน [โคฺลน] (สำ) ก. ใส่ร้ายป้ายสี. |
สาดน้ำรดกัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวให้ร้ายซึ่งกันและกัน, ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กันและกัน. | สาดน้ำรดกัน (สำ) ก. กล่าวให้ร้ายซึ่งกันและกัน, ก่อให้เกิดความเสียหายแก่กันและกัน. |
สาดเสียเทเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สิ่งของสิ้นเปลืองไปเปล่า ๆ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างเจ็บแสบทําให้เสียหายอย่างรุนแรง เช่น ด่าว่าอย่างสาดเสียเทเสีย. | สาดเสียเทเสีย ก. ใช้สิ่งของสิ้นเปลืองไปเปล่า ๆ. ว. อย่างเจ็บแสบทําให้เสียหายอย่างรุนแรง เช่น ด่าว่าอย่างสาดเสียเทเสีย. |
สาต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําราญ, ยินดี, เป็นที่พอใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาต เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า. | สาต ว. สําราญ, ยินดี, เป็นที่พอใจ. (ป.; ส. ศาต). |
สาตรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [สาดตฺรา] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ของมีคม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ศสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี สตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง. | สาตรา [สาดตฺรา] (โบ) น. ของมีคม. (ส. ศสฺตฺร; ป. สตฺถ). |
สาไถย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง การแสร้งทําให้เขาหลงผิดเข้าใจผิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ มารยา เป็น มารยาสาไถย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาเยฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถาน-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต ศาฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ถอ-ถาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สาไถย น. การแสร้งทําให้เขาหลงผิดเข้าใจผิด, มักใช้เข้าคู่กับคำ มารยา เป็น มารยาสาไถย. (ป. สาเยฺย; ส. ศาฺย). |
สาทร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ | [ทอน] เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อเฟื้อ, เอาใจใส่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาทร [ทอน] ก. เอื้อเฟื้อ, เอาใจใส่. (ป., ส.). |
สาทิส, สาทิส สาทิส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ สาทิส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ | [สาทิด, สาทิดสะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมือนกัน, คล้ายกัน, เช่นกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาทิสฺส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต สาทฺฤศฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สาทิส, สาทิส [สาทิด, สาทิดสะ] ว. เหมือนกัน, คล้ายกัน, เช่นกัน. (ป. สาทิสฺส; ส. สาทฺฤศฺย). |
สาทิสลักษณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ภาพเขียนเหมือนบุคคลจริง, ใช้ว่า พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์. | สาทิสลักษณ์ (ราชา) น. ภาพเขียนเหมือนบุคคลจริง, ใช้ว่า พระบรมสาทิสลักษณ์ หรือ พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์. |
สาทุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวาน, อร่อย; น่าปรารถนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวาทุ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ. | สาทุ ว. หวาน, อร่อย; น่าปรารถนา. (ป.; ส. สฺวาทุ). |
สาโท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง น้ำเมาที่ได้จากการหมัก เช่น น้ำขาว อุ กะแช่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาโท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน ว่า ยินดี . | สาโท น. น้ำเมาที่ได้จากการหมัก เช่น น้ำขาว อุ กะแช่. (ป. สาโท ว่า ยินดี). |
สาธก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-กอ-ไก่ | [ทก] เป็นคำกริยา หมายถึง ยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ว่า ช่วยทํา, ทําให้สําเร็จ . | สาธก [ทก] ก. ยกตัวอย่างมาอ้างให้เห็น. (ป.; ส. ว่า ช่วยทํา, ทําให้สําเร็จ). |
สาธย, สาธยะ สาธย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก สาธยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [ทะยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรทําให้สําเร็จ. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในปรัชญา เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งหรือเรื่องที่อนุมาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาธฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สาธย, สาธยะ [ทะยะ] ว. ควรทําให้สําเร็จ. (ปรัชญา) น. สิ่งหรือเรื่องที่อนุมาน. (ส. สาธฺย). |
สาธยาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [สาทะยาย, สาดทะยาย] เป็นคำนาม หมายถึง การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สฺวาธฺยาย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สชฺฌาย เขียนว่า สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-เชอ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก. | สาธยาย [สาทะยาย, สาดทะยาย] น. การท่อง, การสวด, การทบทวน, เช่น สาธยายมนต์, (ปาก) การชี้แจงแสดงเรื่อง เช่น สาธยายอยู่นั่นแหละ ไม่รู้จักจบเสียที. (ส. สฺวาธฺยาย; ป. สชฺฌาย). |
สาธารณ, สาธารณะ สาธารณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน สาธารณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [สาทาระนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์สาธารณะ บ่อน้ำสาธารณะ, ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในที่สาธารณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาธารณ, สาธารณะ [สาทาระนะ] ว. เพื่อประชาชนทั่วไป เช่น สวนสาธารณะ โทรศัพท์สาธารณะ บ่อน้ำสาธารณะ, ทั่วไป เช่น ถนนนี้ไม่ใช่ถนนสาธารณะ อย่าแต่งตัวประเจิดประเจ้อในที่สาธารณะ. (ป., ส.). |
สาธารณชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ประชาชนทั่วไป. | สาธารณชน น. ประชาชนทั่วไป. |
สาธารณประโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ทั่วไปแก่ประชาชน เช่น บริจาคเงินสร้างโรงพยาบาลเพื่อเป็นสาธารณประโยชน์. | สาธารณประโยชน์ น. ประโยชน์ทั่วไปแก่ประชาชน เช่น บริจาคเงินสร้างโรงพยาบาลเพื่อเป็นสาธารณประโยชน์. |
สาธารณภัย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มากอย่างไฟไหม้ น้ำท่วม เช่น หน่วยบรรเทาสาธารณภัย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีผู้ทําให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ. | สาธารณภัย น. ภัยที่เกิดแก่คนหมู่มากอย่างไฟไหม้ น้ำท่วม เช่น หน่วยบรรเทาสาธารณภัย; (กฎ) อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอื่น ๆ อันมีมาเป็นสาธารณะ ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ หรือมีผู้ทําให้เกิดขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตร่างกายของประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ. |
สาธารณรัฐ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน | เป็นคำนาม หมายถึง ประเทศหรือการปกครองที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ republic เขียนว่า อา-อี-พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี. | สาธารณรัฐ น. ประเทศหรือการปกครองที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี. (อ. republic). |
สาธารณสถาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ใด ๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้. | สาธารณสถาน (กฎ) น. สถานที่ใด ๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้. |
สาธารณสมบัติ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินส่วนรวมของประชาชน เช่น ถนนสาธารณะ แม่นํ้า ลําคลอง. | สาธารณสมบัติ น. ทรัพย์สินส่วนรวมของประชาชน เช่น ถนนสาธารณะ แม่นํ้า ลําคลอง. |
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสําหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ. | สาธารณสมบัติของแผ่นดิน (กฎ) น. ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสําหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน และทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ. |
สาธารณสุข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ การสาธารณสุข การควบคุมอาหารและยา รวมทั้งสิ่งที่อาจเป็นพิษหรือเป็นภัยแก่สุขภาพ และควบคุมกิจการกาชาด; กิจการเกี่ยวกับการป้องกัน การบําบัดโรค การรักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี health เขียนว่า เอช-อี-เอ-แอล-ที-เอช . | สาธารณสุข น. ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ การสาธารณสุข การควบคุมอาหารและยา รวมทั้งสิ่งที่อาจเป็นพิษหรือเป็นภัยแก่สุขภาพ และควบคุมกิจการกาชาด; กิจการเกี่ยวกับการป้องกัน การบําบัดโรค การรักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชน. (อ. public health). |
สาธารณูปการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง กิจการเกี่ยวกับการสงเคราะห์บุคคลที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ เช่น คนชรา คนพิการ เด็กกําพร้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี assistance เขียนว่า เอ-เอส-เอส-ไอ-เอส-ที-เอ-เอ็น-ซี-อี ; การก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ทางศาสนา เช่น งานด้านสาธารณูปการ. | สาธารณูปการ น. กิจการเกี่ยวกับการสงเคราะห์บุคคลที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ เช่น คนชรา คนพิการ เด็กกําพร้า. (อ. public assistance); การก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ทางศาสนา เช่น งานด้านสาธารณูปการ. |
สาธารณูปโภค เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง บริการสาธารณะที่จัดทําเพื่ออํานวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา การเดินรถประจําทาง โทรศัพท์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ public เขียนว่า พี-ยู-บี-แอล-ไอ-ซี utility เขียนว่า ยู-ที-ไอ-แอล-ไอ-ที-วาย . | สาธารณูปโภค น. บริการสาธารณะที่จัดทําเพื่ออํานวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปา การเดินรถประจําทาง โทรศัพท์. (อ. public utility). |
สาธารณ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [สาทาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตํ่า, เลว; ชั่วช้า, เช่น ดังกากาจชาติช้าสาธารณ์ จะประมาณหมายหงส์พงศ์พระยา. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสาธารณ์; ทั่ว ๆ ไป เช่น ของสาธารณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ว่า ทั่วไป, สามัญ . | สาธารณ์ [สาทาน] ว. ตํ่า, เลว; ชั่วช้า, เช่น ดังกากาจชาติช้าสาธารณ์ จะประมาณหมายหงส์พงศ์พระยา. (อิเหนา), บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสาธารณ์; ทั่ว ๆ ไป เช่น ของสาธารณ์. (ป., ส. ว่า ทั่วไป, สามัญ). |
สาธารณูปการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู สาธารณ, สาธารณะ สาธารณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน สาธารณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | สาธารณูปการ ดู สาธารณ, สาธารณะ. |
สาธารณูปโภค เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย | ดู สาธารณ, สาธารณะ สาธารณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน สาธารณะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | สาธารณูปโภค ดู สาธารณ, สาธารณะ. |
สาธิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น สาธิตการสอน สาธิตการทำขนม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น แปลงสาธิต โรงเรียนสาธิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ว่า ให้สําเร็จ . | สาธิต ก. แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น สาธิตการสอน สาธิตการทำขนม. ว. ที่แสดงเป็นตัวอย่าง เช่น แปลงสาธิต โรงเรียนสาธิต. (ส., ป. ว่า ให้สําเร็จ). |
สาธุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดีแล้ว, ชอบแล้ว, (เป็นคําที่พระสงฆ์เปล่งวาจาเพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทําไป). ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย, มักใช้เข้าคู่กับคำ โมทนา เป็น โมทนาสาธุ; ไหว้ (เป็นคําบอกให้เด็กแสดงความเคารพตามธรรมเนียม กร่อนเสียง เป็น ธุ ก็มี). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาธุ ว. ดีแล้ว, ชอบแล้ว, (เป็นคําที่พระสงฆ์เปล่งวาจาเพื่อยืนยันหรือรับรองพิธีทางศาสนาที่กระทําไป). (ปาก) ก. เปล่งวาจาแสดงความเห็นว่าชอบแล้วหรืออนุโมทนาด้วย, มักใช้เข้าคู่กับคำ โมทนา เป็น โมทนาสาธุ; ไหว้ (เป็นคําบอกให้เด็กแสดงความเคารพตามธรรมเนียม กร่อนเสียง เป็น ธุ ก็มี). (ป., ส.). |
สาธุการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การเปล่งวาจาว่าชอบแล้วเมื่อเวลาเห็นควรหรือยกย่องสรรเสริญ เช่น แซ่ซ้องสาธุการ กล่าวสาธุการขึ้นพร้อม ๆ กัน; ชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่สําคัญยิ่ง ใช้บรรเลงในพิธีกรรมเมื่อบูชาหรืออัญเชิญพระรัตนตรัย เทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และใช้เพื่อแสดงกิริยาน้อมไหว้ เป็นเพลงอันดับแรกของชุดโหมโรงเช้าโหมโรงเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาธุการ น. การเปล่งวาจาว่าชอบแล้วเมื่อเวลาเห็นควรหรือยกย่องสรรเสริญ เช่น แซ่ซ้องสาธุการ กล่าวสาธุการขึ้นพร้อม ๆ กัน; ชื่อเพลงหน้าพาทย์ที่สําคัญยิ่ง ใช้บรรเลงในพิธีกรรมเมื่อบูชาหรืออัญเชิญพระรัตนตรัย เทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และใช้เพื่อแสดงกิริยาน้อมไหว้ เป็นเพลงอันดับแรกของชุดโหมโรงเช้าโหมโรงเย็น. (ป., ส.). |
สาธุชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนดี, คนที่มีคุณงามความดี, (ใช้ในการยกย่อง). (ป.). | สาธุชน น. คนดี, คนที่มีคุณงามความดี, (ใช้ในการยกย่อง). (ป.). |
สาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ใช้เส้นตอกทําด้วยไม้ไผ่ หวาย กก ใบลาน เป็นต้น ขัดกันให้เป็นผืนเช่นเสื่อ หรือทําขึ้นเป็นวัตถุมีรูปร่างต่าง ๆ เช่นกระบุง กระจาด. | สาน ก. อาการที่ใช้เส้นตอกทําด้วยไม้ไผ่ หวาย กก ใบลาน เป็นต้น ขัดกันให้เป็นผืนเช่นเสื่อ หรือทําขึ้นเป็นวัตถุมีรูปร่างต่าง ๆ เช่นกระบุง กระจาด. |
ส่าน เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าขนสัตว์โบราณ. (เปอร์เซีย). | ส่าน น. ผ้าขนสัตว์โบราณ. (เปอร์เซีย). |
สานตวะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | [ตะวะ] เป็นคำนาม หมายถึง การปลอบโยน, การเกลี้ยกล่อม; คําอ่อนโยนและไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | สานตวะ [ตะวะ] น. การปลอบโยน, การเกลี้ยกล่อม; คําอ่อนโยนและไพเราะ. (ส.). |
สานะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺวาน เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | สานะ น. หมา. (ป.; ส. ศฺวาน). |
สานุ, สานู สานุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ สานู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ยอดเขา, เนินเขา, ไหล่เขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สานุ, สานู น. ยอดเขา, เนินเขา, ไหล่เขา. (ป., ส.). |
สานุศิษย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ศิษย์น้อยใหญ่. (กร่อนมาจาก เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ศิษฺยานุศิษฺย; ป. สิสฺสานุสิสฺส). | สานุศิษย์ น. ศิษย์น้อยใหญ่. (กร่อนมาจาก ส. ศิษฺยานุศิษฺย; ป. สิสฺสานุสิสฺส). |
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นเหม็นชนิดหนึ่ง เช่นกลิ่นเสื้อผ้าที่ใช้แล้วแต่ยังไม่ได้ซัก, กลิ่นตัวที่มีประจําอยู่กับสัตว์บางชนิด เช่น สาบเสือ สาบแพะ, กลิ่นอื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. | สาบ ๑ น. กลิ่นเหม็นชนิดหนึ่ง เช่นกลิ่นเสื้อผ้าที่ใช้แล้วแต่ยังไม่ได้ซัก, กลิ่นตัวที่มีประจําอยู่กับสัตว์บางชนิด เช่น สาบเสือ สาบแพะ, กลิ่นอื่น ๆ ที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. |
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงพวกเดียวกับแมลงแกลบแต่ตัวโตกว่า ลําตัวยาวประมาณ ๒ เซนติเมตรหรือมากกว่านี้ รูปร่างรูปไข่ค่อนข้างแบนราบ หัวซ่อนอยู่ใต้อก หนวดยาวคล้ายเส้นด้าย ขายาวมีหนามคลุม ตัวเต็มวัยมีทั้งพวกมีปีกและไม่มีปีก ที่พบบ่อยเป็นพวกอาศัยตามบ้านเรือน ได้แก่ ชนิด Periplaneta americana และชนิด Blatta orientalis ในวงศ์ Blattidae. | สาบ ๒ น. ชื่อแมลงพวกเดียวกับแมลงแกลบแต่ตัวโตกว่า ลําตัวยาวประมาณ ๒ เซนติเมตรหรือมากกว่านี้ รูปร่างรูปไข่ค่อนข้างแบนราบ หัวซ่อนอยู่ใต้อก หนวดยาวคล้ายเส้นด้าย ขายาวมีหนามคลุม ตัวเต็มวัยมีทั้งพวกมีปีกและไม่มีปีก ที่พบบ่อยเป็นพวกอาศัยตามบ้านเรือน ได้แก่ ชนิด Periplaneta americana และชนิด Blatta orientalis ในวงศ์ Blattidae. |
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผ้าทาบที่อกเสื้อสําหรับติดดุมและเจาะรังดุมว่า สาบเสื้อ, ปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าทาบที่คอ แขน กระเป๋า เป็นต้น เพื่อให้หนาขึ้น ว่า สาบคอ สาบแขน สาบกระเป๋า. | สาบ ๓ น. เรียกผ้าทาบที่อกเสื้อสําหรับติดดุมและเจาะรังดุมว่า สาบเสื้อ, ปัจจุบันอนุโลมเรียกผ้าทาบที่คอ แขน กระเป๋า เป็นต้น เพื่อให้หนาขึ้น ว่า สาบคอ สาบแขน สาบกระเป๋า. |
สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๔ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกห้วงนํ้าใหญ่คล้ายบึง แต่โตกว่า ว่า ทะเลสาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ ว่า จืด . | สาบ ๔ น. เรียกห้วงนํ้าใหญ่คล้ายบึง แต่โตกว่า ว่า ทะเลสาบ. (ข. สาบ ว่า จืด). |
สาบขนุน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | ดู ใบขนุน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู (๑). | สาบขนุน ดู ใบขนุน (๑). |
สาบแร้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู | ดู กระต่ายจาม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า (๑). | สาบแร้ง ดู กระต่ายจาม (๑). |
สาบแร้งสาบกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Compositae ใบมีขน กลิ่นฉุน คือ ชนิด Ageratum conyzoides L. ดอกสีฟ้าอ่อน และชนิด Blumea aurita (L.) DC. ดอกสีขาว ต้นสูงกว่าชนิดแรก. | สาบแร้งสาบกา น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในวงศ์ Compositae ใบมีขน กลิ่นฉุน คือ ชนิด Ageratum conyzoides L. ดอกสีฟ้าอ่อน และชนิด Blumea aurita (L.) DC. ดอกสีขาว ต้นสูงกว่าชนิดแรก. |
สาบสูญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง | เป็นคำกริยา หมายถึง สูญหายไปอย่างไม่ทิ้งร่องรอย. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง เรียกบุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ว่า คนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น. | สาบสูญ ก. สูญหายไปอย่างไม่ทิ้งร่องรอย. (กฎ) น. เรียกบุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ว่า คนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น. |
สาบเสือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Chromolaena odorata (L.) R.M. King ในวงศ์ Compositae เป็นวัชพืชขึ้นทั่วไป ใบมีกลิ่นเหม็นใช้ทํายาได้, เสือหมอบ ก็เรียก. | สาบเสือ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Chromolaena odorata (L.) R.M. King ในวงศ์ Compositae เป็นวัชพืชขึ้นทั่วไป ใบมีกลิ่นเหม็นใช้ทํายาได้, เสือหมอบ ก็เรียก. |
สาบาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวคําปฏิญาณโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน, ประเพณีเดิมจะต้องดื่มนํ้าพระพุทธมนต์ นํ้าเทพมนตร์ หรือ สุราผสมเลือดที่ผู้ร่วมกล่าวคำปฏิญาณกรีดให้หยดลงไปด้วย เช่น สาบานเป็นพี่น้องกัน เพื่อนร่วมสาบาน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง กล่าวคําปฏิญาณตามลัทธิศาสนาหรือจารีตประเพณีแห่งชาติของตนว่า จะให้การตามสัตย์จริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สปน เขียนว่า สอ-เสือ-ปอ-ปลา-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต ศปน เขียนว่า สอ-สา-ลา-ปอ-ปลา-นอ-หนู. | สาบาน ก. กล่าวคําปฏิญาณโดยอ้างสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นพยาน, ประเพณีเดิมจะต้องดื่มนํ้าพระพุทธมนต์ นํ้าเทพมนตร์ หรือ สุราผสมเลือดที่ผู้ร่วมกล่าวคำปฏิญาณกรีดให้หยดลงไปด้วย เช่น สาบานเป็นพี่น้องกัน เพื่อนร่วมสาบาน; (กฎ) กล่าวคําปฏิญาณตามลัทธิศาสนาหรือจารีตประเพณีแห่งชาติของตนว่า จะให้การตามสัตย์จริง. (ป. สปน; ส. ศปน). |
สาบานธง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวปฏิญาณตนต่อหน้าธงชัยเฉลิมพล (ใช้แก่ทหาร). | สาบานธง ก. กล่าวปฏิญาณตนต่อหน้าธงชัยเฉลิมพล (ใช้แก่ทหาร). |
สาป, สาปสรร สาป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา สาปสรร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง คําแช่งให้เป็นไปต่าง ๆ ของผู้มีฤทธิ์อำนาจ เช่นเทวดา ฤๅษี แม่มด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาป เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา. | สาป, สาปสรร น. คําแช่งให้เป็นไปต่าง ๆ ของผู้มีฤทธิ์อำนาจ เช่นเทวดา ฤๅษี แม่มด. (ป.; ส. ศาป). |
สาปแช่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวมุ่งร้ายให้ผู้อื่นเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง เช่น สาปแช่งไม่ให้ผุดให้เกิด. | สาปแช่ง ก. กล่าวมุ่งร้ายให้ผู้อื่นเป็นอันตรายอย่างร้ายแรง เช่น สาปแช่งไม่ให้ผุดให้เกิด. |
สาปส่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดขาดไม่เกี่ยวข้องด้วย เช่น คนคนนี้ฉันขอสาปส่งไม่คบอีก. | สาปส่ง (ปาก) ก. ตัดขาดไม่เกี่ยวข้องด้วย เช่น คนคนนี้ฉันขอสาปส่งไม่คบอีก. |
สาปไตย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [สาปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์, สมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาปเตยฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวาปเตย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก. | สาปไตย [สาปะไต] น. ทรัพย์, สมบัติ. (ป. สาปเตยฺย; ส. สฺวาปเตย). |
สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์. | สาม ๑ น. จํานวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์. |
สามกษัตริย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง รูปพรรณที่ในชิ้นเดียวกันมีทั้งทอง นาก และเงินสลับกัน โบราณถือว่าเป็นมงคลแก่ผู้สวม เช่น สายสร้อยสามกษัตริย์ กําไลสามกษัตริย์. | สามกษัตริย์ น. รูปพรรณที่ในชิ้นเดียวกันมีทั้งทอง นาก และเงินสลับกัน โบราณถือว่าเป็นมงคลแก่ผู้สวม เช่น สายสร้อยสามกษัตริย์ กําไลสามกษัตริย์. |
สามเกลอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๓ ที่; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนกลม ๆ เล็ก ๆ มีไส้หน้ากระฉีก ร้อยด้วยตอกให้ติดกัน ๓ ก้อน แล้วนำไปทอด. | สามเกลอ น. เครื่องมือสำหรับตอกกระทุ้งเสาเข็ม ลักษณะเป็นไม้ท่อนกลม มีที่จับสำหรับยก ๓ ที่; ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนกลม ๆ เล็ก ๆ มีไส้หน้ากระฉีก ร้อยด้วยตอกให้ติดกัน ๓ ก้อน แล้วนำไปทอด. |
สามขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องวางภาชนะต้มนํ้าเป็นต้น ทําด้วยโลหะ มี ๓ เส้า; ชื่อตะเกียงที่มีพวยใส่ไส้จุดไฟ ๓ พวย; เต้าเสียบไฟฟ้าชนิดที่มีขาเสียบ ๓ ขา. | สามขา น. เครื่องวางภาชนะต้มนํ้าเป็นต้น ทําด้วยโลหะ มี ๓ เส้า; ชื่อตะเกียงที่มีพวยใส่ไส้จุดไฟ ๓ พวย; เต้าเสียบไฟฟ้าชนิดที่มีขาเสียบ ๓ ขา. |
สามขุม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกท่าเดินเข้าหาคู่ต่อสู้หรือถอยจากคู่ต่อสู้ของนักมวยนักกระบี่กระบองเป็นต้น โดยเดินก้าวย่างเป็นสลับฟันปลา มีตำแหน่งวางเท้าเป็น ๓ เส้า ว่า ย่างสามขุม. | สามขุม น. เรียกท่าเดินเข้าหาคู่ต่อสู้หรือถอยจากคู่ต่อสู้ของนักมวยนักกระบี่กระบองเป็นต้น โดยเดินก้าวย่างเป็นสลับฟันปลา มีตำแหน่งวางเท้าเป็น ๓ เส้า ว่า ย่างสามขุม. |
สามคาน, สามลำคาน สามคาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู สามลำคาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระยานมาศขนาดใหญ่มีคานสําหรับแบก ๓ คานว่า พระยานมาศสามลำคาน. | สามคาน, สามลำคาน น. เรียกพระยานมาศขนาดใหญ่มีคานสําหรับแบก ๓ คานว่า พระยานมาศสามลำคาน. |
สามง่าม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้หรือเหล็กที่แยกออกเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน, เรียกอาวุธที่มีปลายแหลมเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน ด้ามยาว ว่า สามง่าม, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะเช่นนั้น. | สามง่าม น. ไม้หรือเหล็กที่แยกออกเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน, เรียกอาวุธที่มีปลายแหลมเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน ด้ามยาว ว่า สามง่าม, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะเช่นนั้น. |
สามชั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเนื้อหมูส่วนท้องที่ชำแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อว่า หมูสามชั้น; จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสามชั้น เพลงสามชั้น. | สามชั้น น. เรียกเนื้อหมูส่วนท้องที่ชำแหละให้ติดทั้งหนัง มัน และเนื้อว่า หมูสามชั้น; จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, เรียกหน้าทับและเพลงที่มีจังหวะเช่นนี้ว่า หน้าทับสามชั้น เพลงสามชั้น. |
สามชาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกธงสามเหลี่ยมมุมฉาก ปลายธงมี ๓ แฉก เป็น ๓ ชายลดหลั่นกัน มักใช้นำริ้วกระบวน ถ้าใช้เข้ากระบวนแห่ในพระราชพิธี ผืนธงทำด้วยผ้าสักหลาดสอดสีปักดิ้นหักทองขวางเป็นลวดลาย ว่า ธงสามชาย. | สามชาย น. เรียกธงสามเหลี่ยมมุมฉาก ปลายธงมี ๓ แฉก เป็น ๓ ชายลดหลั่นกัน มักใช้นำริ้วกระบวน ถ้าใช้เข้ากระบวนแห่ในพระราชพิธี ผืนธงทำด้วยผ้าสักหลาดสอดสีปักดิ้นหักทองขวางเป็นลวดลาย ว่า ธงสามชาย. |
สามแซ่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อของหวานประเภทน้ำเชื่อม ประกอบด้วยของ ๓ อย่าง คือ วุ้น ลูกพลับแห้ง และชิ้นฟักแช่อิ่ม. | สามแซ่ น. ชื่อของหวานประเภทน้ำเชื่อม ประกอบด้วยของ ๓ อย่าง คือ วุ้น ลูกพลับแห้ง และชิ้นฟักแช่อิ่ม. |
สามตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวิธีจับยามของหมอดู ใช้นับหลักทั้ง ๓ เวียนไป มักใช้ทายเกี่ยวกับของหาย เรียกว่า ยามสามตา; เต้ารับไฟฟ้าที่มีรู ๓ คู่ สําหรับนําเต้าเสียบมาเสียบเพื่อนํากระแสไฟฟ้าออกไปใช้ได้ ๓ วงจร. | สามตา น. ชื่อวิธีจับยามของหมอดู ใช้นับหลักทั้ง ๓ เวียนไป มักใช้ทายเกี่ยวกับของหาย เรียกว่า ยามสามตา; เต้ารับไฟฟ้าที่มีรู ๓ คู่ สําหรับนําเต้าเสียบมาเสียบเพื่อนํากระแสไฟฟ้าออกไปใช้ได้ ๓ วงจร. |
สามบาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงกระบี่กระบองแบบหนึ่ง ใช้อาวุธหลายชนิดเข้าต่อสู้กันโดยไม่จับคู่กับอาวุธชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น กระบองคู่กับดาบสองมือ ง้าวคู่กับดาบดั้ง. | สามบาน น. การแสดงกระบี่กระบองแบบหนึ่ง ใช้อาวุธหลายชนิดเข้าต่อสู้กันโดยไม่จับคู่กับอาวุธชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น กระบองคู่กับดาบสองมือ ง้าวคู่กับดาบดั้ง. |
สามใบเถา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตลับหรือโถแป้งเป็นต้น ๓ ใบที่มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมเป็นชุดหนึ่ง เช่น ตลับหมากสามใบเถา โถแป้งสามใบเถา, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรียกพี่น้องผู้หญิง ๓ คนเรียงกันว่า สามใบเถา. | สามใบเถา น. เรียกตลับหรือโถแป้งเป็นต้น ๓ ใบที่มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมเป็นชุดหนึ่ง เช่น ตลับหมากสามใบเถา โถแป้งสามใบเถา, (ปาก) เรียกพี่น้องผู้หญิง ๓ คนเรียงกันว่า สามใบเถา. |
สามเพลงตกม้าตาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-งอ-งู-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แพ้เร็ว, ยุติเร็ว, ใช้สั้น ๆ ว่า ตกม้าตาย ก็มี. | สามเพลงตกม้าตาย (สำ) ว. แพ้เร็ว, ยุติเร็ว, ใช้สั้น ๆ ว่า ตกม้าตาย ก็มี. |
สามแพร่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ทางที่แยกเป็น ๓ สาย เกิดจากทางสายหนึ่งมาบรรจบเป็นมุมฉากกับทางอีกสายหนึ่ง เรียกว่า ทางสามแพร่ง, โบราณถือว่าเป็นทางผีผ่าน ไม่เป็นมงคล เช่น ไปทำพิธีเซ่นวักเสียกบาลที่ทางสามแพร่ง. | สามแพร่ง น. ทางที่แยกเป็น ๓ สาย เกิดจากทางสายหนึ่งมาบรรจบเป็นมุมฉากกับทางอีกสายหนึ่ง เรียกว่า ทางสามแพร่ง, โบราณถือว่าเป็นทางผีผ่าน ไม่เป็นมงคล เช่น ไปทำพิธีเซ่นวักเสียกบาลที่ทางสามแพร่ง. |
สามเมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนติดเหล้า กัญชา และยาฝิ่น ว่า คนสามเมา. | สามเมา (ปาก) ว. เรียกคนติดเหล้า กัญชา และยาฝิ่น ว่า คนสามเมา. |
สามรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอาหารที่มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาเก๋าสามรส. | สามรส ๑ น. เรียกอาหารที่มีรสเปรี้ยว เค็ม หวาน เช่น ปลาเก๋าสามรส. |
สามล้อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ยานพาหนะถีบขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีล้อ ๓ ล้อ เรียกเต็มคําว่า จักรยานสามล้อ, ถ้าติดเครื่องยนต์ เรียกว่า สามล้อเครื่อง หรือ จักรยานสามล้อเครื่อง. | สามล้อ น. ยานพาหนะถีบขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีล้อ ๓ ล้อ เรียกเต็มคําว่า จักรยานสามล้อ, ถ้าติดเครื่องยนต์ เรียกว่า สามล้อเครื่อง หรือ จักรยานสามล้อเครื่อง. |
สามโลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง โลกทั้ง ๓ คือ มนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก. | สามโลก น. โลกทั้ง ๓ คือ มนุษยโลก เทวโลก และพรหมโลก. |
สามวันดีสี่วันไข้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจ็บออด ๆ แอด ๆ อยู่เสมอ. | สามวันดีสี่วันไข้ ว. เจ็บออด ๆ แอด ๆ อยู่เสมอ. |
สามเศียร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ไพ่ตองที่เข้าเศียร แล้ว ๓ ชุด. | สามเศียร น. ไพ่ตองที่เข้าเศียร แล้ว ๓ ชุด. |
สามสบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่แม่น้ำ ๓ สายมาบรรจบกัน. | สามสบ น. บริเวณที่แม่น้ำ ๓ สายมาบรรจบกัน. |
สามสลึงเฟื้อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ้า ๆ บอ ๆ, มีสติไม่สมบูรณ์, มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สองสลึงเฟื้อง ไม่เต็มเต็ง หรือ ไม่เต็มบาท ก็ว่า. | สามสลึงเฟื้อง (ปาก) ว. บ้า ๆ บอ ๆ, มีสติไม่สมบูรณ์, มีจิตใจใกล้ไปทางบ้า ๆ บอ ๆ, สองสลึงเฟื้อง ไม่เต็มเต็ง หรือ ไม่เต็มบาท ก็ว่า. |
สามสาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อซอชนิดหนึ่ง มีกะโหลกทำด้วยกะลามะพร้าว ใช้หนังปิดด้านหนึ่ง มีสาย ๓ สาย คันชักอยู่ต่างหาก. | สามสาย น. ชื่อซอชนิดหนึ่ง มีกะโหลกทำด้วยกะลามะพร้าว ใช้หนังปิดด้านหนึ่ง มีสาย ๓ สาย คันชักอยู่ต่างหาก. |
สามสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแมวที่มีสีดำ เหลืองและขาว ในตัวเดียวกันว่า แมวสามสี; พลอยชนิดหนึ่ง เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะมีสีเขียวมรกต เมื่อโดนแสงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่แสงอาทิตย์เช่นแสงจากหลอดไฟ จะมีสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วง เรียกว่า พลอยสามสีหรือ เจ้าสามสี. | สามสี ๑ น. เรียกแมวที่มีสีดำ เหลืองและขาว ในตัวเดียวกันว่า แมวสามสี; พลอยชนิดหนึ่ง เมื่อโดนแสงอาทิตย์จะมีสีเขียวมรกต เมื่อโดนแสงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่แสงอาทิตย์เช่นแสงจากหลอดไฟ จะมีสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นสีม่วง เรียกว่า พลอยสามสีหรือ เจ้าสามสี. |
สามเส้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่นกเขาขันคูเป็น ๓ จังหวะ, สามกุก ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | สามเส้า ก. อาการที่นกเขาขันคูเป็น ๓ จังหวะ, สามกุก ก็ว่า. (พจน. ๒๔๙๓); ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
สามหมุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมีดสําหรับปอกหรือฝานชนิดที่ตรึงกั่นติดกับด้ามด้วยหมุด ๓ ตัวว่า มีดสามหมุด. | สามหมุด น. ชื่อมีดสําหรับปอกหรือฝานชนิดที่ตรึงกั่นติดกับด้ามด้วยหมุด ๓ ตัวว่า มีดสามหมุด. |
สามหยิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหมวกลูกเสือที่มีรอยบุ๋ม ๓ รอยตรงด้านบนหมวกว่า หมวกสามหยิบ. | สามหยิบ น. เรียกหมวกลูกเสือที่มีรอยบุ๋ม ๓ รอยตรงด้านบนหมวกว่า หมวกสามหยิบ. |
สามหาบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอาหารคาว ๑ หาบ หวาน ๑ หาบ และเครื่องหุงต้ม ๑ หาบที่เจ้าภาพหาบเดินรอบเมรุแล้วถวายพระสงฆ์ในเวลาเก็บอัฐิ ว่า สามหาบ, เรียกการเดินในพิธีเช่นนั้นว่า เดินสามหาบ. | สามหาบ น. เรียกอาหารคาว ๑ หาบ หวาน ๑ หาบ และเครื่องหุงต้ม ๑ หาบที่เจ้าภาพหาบเดินรอบเมรุแล้วถวายพระสงฆ์ในเวลาเก็บอัฐิ ว่า สามหาบ, เรียกการเดินในพิธีเช่นนั้นว่า เดินสามหาบ. |
สามเหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง รูปเหลี่ยมที่มีด้านโดยรอบเป็นเส้นตรง ๓ เส้น ปลายเส้นจดกัน. | สามเหลี่ยม ๑ น. รูปเหลี่ยมที่มีด้านโดยรอบเป็นเส้นตรง ๓ เส้น ปลายเส้นจดกัน. |
สามเหลี่ยมด้านเท่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้ง ๓ ยาวเท่ากัน. | สามเหลี่ยมด้านเท่า น. รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านทั้ง ๓ ยาวเท่ากัน. |
สามเหลี่ยมมุมฉาก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมฉาก. | สามเหลี่ยมมุมฉาก น. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมฉาก. |
สามเหลี่ยมมุมป้าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน. | สามเหลี่ยมมุมป้าน น. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมหนึ่งเป็นมุมป้าน. |
สามเหลี่ยมมุมแหลม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมทั้ง ๓ เป็นมุมแหลม. | สามเหลี่ยมมุมแหลม น. รูปสามเหลี่ยมที่มีมุมทั้ง ๓ เป็นมุมแหลม. |
สามเหลี่ยมหน้าจั่ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านคู่หนึ่งยาวเท่ากัน. | สามเหลี่ยมหน้าจั่ว น. รูปสามเหลี่ยมที่มีด้านคู่หนึ่งยาวเท่ากัน. |
สามแหยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปอยผมที่แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนเพื่อเตรียมโกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าลงมาถึงสามัญชน). | สามแหยม น. เรียกปอยผมที่แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนเพื่อเตรียมโกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าลงมาถึงสามัญชน). |
สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | [สามะ, สามมะ] เป็นคำนาม หมายถึง บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | สาม ๒ [สามะ, สามมะ] น. บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. (ส.). |
สามเวท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน | [สามะเวด, สามมะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ที่ ๓ ของพระเวท ประพันธ์เป็นฉันท์ ส่วนใหญ่คัดมาจากฤคเวท สำหรับขับในพิธีบูชาด้วยน้ำโสม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . ในวงเล็บ ดู เวท, เวท ประกอบ เวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน เวท ประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ . | สามเวท [สามะเวด, สามมะเวด] น. ชื่อคัมภีร์ที่ ๓ ของพระเวท ประพันธ์เป็นฉันท์ ส่วนใหญ่คัดมาจากฤคเวท สำหรับขับในพิธีบูชาด้วยน้ำโสม. (ส.). (ดู เวท, เวท ประกอบ). |
สามแก้ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน | ดู ดุกทะเล เขียนว่า ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง. | สามแก้ว ดู ดุกทะเล. |
สามเขี้ยว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | ดู ขยุย เขียนว่า ขอ-ไข่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒. | สามเขี้ยว ดู ขยุย ๒. |
สามชุก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, กระชุก ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู กระชุก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒. | สามชุก น. ภาชนะสานรูปฟักผ่าตามยาว ใช้สอดลงในเกวียน สําหรับใส่ข้าวเปลือกเป็นต้น, กระชุก ก็เรียก. (ดู กระชุก ๒). |
สามเณร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ | [สามมะเนน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดํารงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สามเณร [สามมะเนน] น. ผู้ดํารงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐, เรียกสั้น ๆ ว่า เณร. (ป.). |
สามเณรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [สามมะ] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่บวชเป็นสามเณร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สามเณรี [สามมะ] น. หญิงที่บวชเป็นสามเณร. (ป.). |
สามนต, สามนต์ สามนต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า สามนต์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [สามนตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รอบ ๆ, ใกล้เคียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สามนต, สามนต์ [สามนตะ] ว. รอบ ๆ, ใกล้เคียง. (ป.). |
สามนตราช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง พระราชาแห่งแคว้นที่ใกล้เคียง, เจ้าประเทศราช. | สามนตราช น. พระราชาแห่งแคว้นที่ใกล้เคียง, เจ้าประเทศราช. |
สามยทรัพย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [สามะยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของได้รับประโยชน์เหนืออสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นที่ตกอยู่ในภาระจํายอม, คู่กับ ภารยทรัพย์. | สามยทรัพย์ [สามะยะ] (กฎ) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของได้รับประโยชน์เหนืออสังหาริมทรัพย์ของผู้อื่นที่ตกอยู่ในภาระจํายอม, คู่กับ ภารยทรัพย์. |
สามรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๑ | ดูใน สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑. | สามรส ๑ ดูใน สาม ๑. |
สามรส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒ | ดู ปากแตร เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒. | สามรส ๒ ดู ปากแตร ๒. |
สามล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง | [มน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีคลํ้า, สีดํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺยามล เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง. | สามล [มน] ว. สีคลํ้า, สีดํา. (ป.; ส. ศฺยามล). |
สามสิบกลีบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องในวัว คือ กระเพาะอาหารหยาบ ข้างในเป็นกลีบ. | สามสิบกลีบ น. ชื่อเครื่องในวัว คือ กระเพาะอาหารหยาบ ข้างในเป็นกลีบ. |
สามสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | ดูใน สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑. | สามสี ๑ ดูใน สาม ๑. |
สามสี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | ดู ราชินี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒. | สามสี ๒ ดู ราชินี ๒. |
สามหาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบคาย, โอหังก้าวร้าวผู้หลักผู้ใหญ่, (ใช้แก่วาจา) เช่น เด็กพูดจาสามหาวกับผู้ใหญ่. | สามหาว ๑ ว. หยาบคาย, โอหังก้าวร้าวผู้หลักผู้ใหญ่, (ใช้แก่วาจา) เช่น เด็กพูดจาสามหาวกับผู้ใหญ่. |
สามหาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผักตบชนิด Monochoria hastata (L.) Solms. ว่า ผักสามหาว เช่น นางสงกรานต์ทัดดอกสามหาว. | สามหาว ๒ (ราชา) น. เรียกผักตบชนิด Monochoria hastata (L.) Solms. ว่า ผักสามหาว เช่น นางสงกรานต์ทัดดอกสามหาว. |
สามเหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | ดูใน สาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑. | สามเหลี่ยม ๑ ดูใน สาม ๑. |
สามเหลี่ยม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูพิษชนิด Bungarus fasciatus ในวงศ์ Elapidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๑.๓ เมตร สีสวย ลายปล้องดําสลับเหลือง หลังเป็นสันทําให้ลําตัวมีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ปลายหางทู่ออกหากินในเวลากลางคืน. | สามเหลี่ยม ๒ น. ชื่องูพิษชนิด Bungarus fasciatus ในวงศ์ Elapidae โตเต็มวัยยาวประมาณ ๑.๓ เมตร สีสวย ลายปล้องดําสลับเหลือง หลังเป็นสันทําให้ลําตัวมีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยม ปลายหางทู่ออกหากินในเวลากลางคืน. |
สามัคคี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่พร้อมเพรียงกันทำ, ที่ร่วมมือร่วมใจกันทำ, เช่น กฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สามคฺรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี. | สามัคคี น. ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดองกัน. ว. ที่พร้อมเพรียงกันทำ, ที่ร่วมมือร่วมใจกันทำ, เช่น กฐินสามัคคี ผ้าป่าสามัคคี. (ป.; ส. สามคฺรี). |
สามัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ความหมายที่ ๑ | [สามันยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นสมณะ เช่น สามัญผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺรามณฺย เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สามัญ ๑ [สามันยะ] น. ความเป็นสมณะ เช่น สามัญผล. (ป. สามฺ; ส. ศฺรามณฺย). |
สามัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ความหมายที่ ๒ | [สามัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรกติ, ธรรมดา, เช่น ชนชั้นสามัญ คนสามัญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต สามานฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สามัญ ๒ [สามัน] ว. ปรกติ, ธรรมดา, เช่น ชนชั้นสามัญ คนสามัญ. (ป. สามฺ; ส. สามานฺย). |
สามัญชน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนธรรมดาที่มิใช่เจ้า. | สามัญชน น. คนธรรมดาที่มิใช่เจ้า. |
สามัญสำนึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ความสำนึกหรือความเฉลียวใจที่คนปรกติธรรมดาทั่วไปควรจะต้องรู้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับคำแนะนำสั่งสอน เช่น ทำอะไรให้มีสามัญสำนึกเสียบ้างว่าอะไรควรอะไรไม่ควร. | สามัญสำนึก น. ความสำนึกหรือความเฉลียวใจที่คนปรกติธรรมดาทั่วไปควรจะต้องรู้โดยไม่จำเป็นต้องได้รับคำแนะนำสั่งสอน เช่น ทำอะไรให้มีสามัญสำนึกเสียบ้างว่าอะไรควรอะไรไม่ควร. |
สามัตถิยะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถ, อํานาจ, ความแข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สมตฺถิย เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สามารฺถฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สามัตถิยะ น. ความสามารถ, อํานาจ, ความแข็งแรง. (ป. สมตฺถิย; ส. สามารฺถฺย). |
สามะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง สีดํา, สีนิล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺยาม เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | สามะ น. สีดํา, สีนิล. (ป.; ส. ศฺยาม). |
สามานย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก | [สามานนะยะ, สามานยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรกติ, ธรรมดา, เช่น สามานยนาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สามานฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี สามฺ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง. | สามานย [สามานนะยะ, สามานยะ] ว. ปรกติ, ธรรมดา, เช่น สามานยนาม. (ส. สามานฺย; ป. สามฺ). |
สามานยนาม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | [สามานยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำนาม หมายถึง คํานามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ และสิ่งของ เช่น เด็ก นก หนังสือ ลม ใจ. | สามานยนาม [สามานยะ] (ไว) น. คํานามที่เป็นชื่อทั่วไปของคน สัตว์ และสิ่งของ เช่น เด็ก นก หนังสือ ลม ใจ. |
สามานย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลวทรามตํ่าช้า เช่น ลูกสามานย์ทำร้ายพ่อแม่, มักใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสามานย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สามานฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สามานย์ ว. เลวทรามตํ่าช้า เช่น ลูกสามานย์ทำร้ายพ่อแม่, มักใช้เข้าคู่กับคำ ชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสามานย์. (ส. สามานฺย). |
สามารถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | [สามาด]เป็นคำช่วยกริยาบอกว่ามีคุณสมบัติที่จะทำได้ เช่น เขาสามารถเดินได้ชั่วโมงละ ๕ กิโลเมตร เพื่อนฉันสามารถขี่จักรยานไต่ลวดได้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีคุณสมบัติที่จะทำได้ โดยเฉพาะทางความรู้หรือความชำนาญเป็นต้น เช่น ลูกเขาเป็นคนสามารถเรียนอะไรก็เรียนได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สมรฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาบาลี สมตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง. | สามารถ [สามาด] เป็นคำช่วยกริยาบอกว่ามีคุณสมบัติที่จะทำได้ เช่น เขาสามารถเดินได้ชั่วโมงละ ๕ กิโลเมตร เพื่อนฉันสามารถขี่จักรยานไต่ลวดได้. ว. มีคุณสมบัติที่จะทำได้ โดยเฉพาะทางความรู้หรือความชำนาญเป็นต้น เช่น ลูกเขาเป็นคนสามารถเรียนอะไรก็เรียนได้. (ส. สมรฺถ; ป. สมตฺถ). |
สามิกะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าของ; ผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สามิกะ น. เจ้าของ; ผัว. (ป.). |
สามิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นเจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามิตฺต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | สามิต น. ความเป็นเจ้าของ. (ป. สามิตฺต). |
สามินี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงผู้เป็นเจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินี เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี. | สามินี น. หญิงผู้เป็นเจ้าของ. (ป.; ส. สฺวามินี). |
สามิภักดิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ความจงรักภักดีต่อเจ้านาย, การยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อํานาจ. เป็นคำกริยา หมายถึง จงรักภักดีเจ้านาย, ยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อำนาจ, สวามิภักดิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สามิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ + ภาษาสันสกฤต ภกฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ + ภกฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ . | สามิภักดิ์ น. ความจงรักภักดีต่อเจ้านาย, การยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อํานาจ. ก. จงรักภักดีเจ้านาย, ยอมตนหรือมอบตนอยู่ใต้อำนาจ, สวามิภักดิ์. (ป. สามิ + ส. ภกฺติ; ส. สฺวามินฺ + ภกฺติ). |
สามี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผัว, ชายที่เป็นคู่ครองของหญิง, คู่กับ ภรรยา หรือ ภริยา; นาย, เจ้าของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺวามินฺ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | สามี น. ผัว, ชายที่เป็นคู่ครองของหญิง, คู่กับ ภรรยา หรือ ภริยา; นาย, เจ้าของ. (ป.; ส. สฺวามินฺ). |
สามีจิกรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงความเคารพตามธรรมเนียมของพระเณรในระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย เช่น ระหว่างพระอุปัชฌาย์กับสัทธิวิหาริก ระหว่างอาจารย์กับอันเตวาสิก หรือระหว่างผู้แก่พรรษากับผู้อ่อนพรรษากว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี สามีจิกมฺม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | สามีจิกรรม น. การแสดงความเคารพตามธรรมเนียมของพระเณรในระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย เช่น ระหว่างพระอุปัชฌาย์กับสัทธิวิหาริก ระหว่างอาจารย์กับอันเตวาสิก หรือระหว่างผู้แก่พรรษากับผู้อ่อนพรรษากว่า. (ส.; ป. สามีจิกมฺม). |
สาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เวลาระหว่างเช้ากับเที่ยงประมาณ ๙.๐๐ เป็นคำนาม หมายถึง ถึง ๑๐.๐๐ เป็นคำนาม หมายถึง เช่น พอสายก็ออกเดินทาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ช้ากว่าเวลาที่กําหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย, โดยปริยายหมายความว่า พ้นเวลาที่จะแก้ไข, สุดที่จะแก้ไขได้ เช่น เรื่องนี้ทำอะไรไม่ได้ สายเกินไปเสียแล้ว. | สาย ๑ น. เวลาระหว่างเช้ากับเที่ยงประมาณ ๙.๐๐ น. ถึง ๑๐.๐๐ น. เช่น พอสายก็ออกเดินทาง. ว. ช้ากว่าเวลาที่กําหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย, โดยปริยายหมายความว่า พ้นเวลาที่จะแก้ไข, สุดที่จะแก้ไขได้ เช่น เรื่องนี้ทำอะไรไม่ได้ สายเกินไปเสียแล้ว. |
สาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นเป็นแนวยาว เช่น สายสร้อย สายไฟฟ้า สายรุ้ง สายนาฬิกา สายเข็มขัด, ทาง, เส้นทาง, เช่น รถไฟสายเหนือ รถไฟสายใต้, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สายการบิน สายการเดินเรือ สายงาน; ญาติที่สืบมาจากต้นวงศ์หรือต้นสกุลเดียวกัน แล้วแยกเป็นสกุลย่อยออกไป; ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น ระวังคนใช้เป็นสายให้โจร; ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นแนวหรือเส้นยาวว่า สาย เช่น สายสะพาย ๒ สาย ทาง ๓ สาย. | สาย ๒ น. สิ่งที่มีลักษณะเป็นเส้นเป็นแนวยาว เช่น สายสร้อย สายไฟฟ้า สายรุ้ง สายนาฬิกา สายเข็มขัด, ทาง, เส้นทาง, เช่น รถไฟสายเหนือ รถไฟสายใต้, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สายการบิน สายการเดินเรือ สายงาน; ญาติที่สืบมาจากต้นวงศ์หรือต้นสกุลเดียวกัน แล้วแยกเป็นสกุลย่อยออกไป; ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น ระวังคนใช้เป็นสายให้โจร; ลักษณนามเรียกสิ่งที่เป็นแนวหรือเส้นยาวว่า สาย เช่น สายสะพาย ๒ สาย ทาง ๓ สาย. |
สายกระได เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกถักที่ผูกเหนือจอมแห ใช้สาวดึงแหกลับ. | สายกระได น. เชือกถักที่ผูกเหนือจอมแห ใช้สาวดึงแหกลับ. |
สายง่อง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-งอ-งู-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง สายโยงใต้คางม้าไม่ให้เงย. | สายง่อง น. สายโยงใต้คางม้าไม่ให้เงย. |
สายใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง กระแสแห่งความรักและความผูกพัน, เรียกผู้ที่เป็นที่รักดังดวงใจ. | สายใจ น. กระแสแห่งความรักและความผูกพัน, เรียกผู้ที่เป็นที่รักดังดวงใจ. |
สายชนวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษห่อดินปืนม้วนเป็นเส้น ใช้จุดให้ไฟลุกแล่นเข้าไปติดดินระเบิด. | สายชนวน น. กระดาษห่อดินปืนม้วนเป็นเส้น ใช้จุดให้ไฟลุกแล่นเข้าไปติดดินระเบิด. |
สายซุง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อุ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าว ห่างกันพอสมควรสําหรับต่อกับสายป่านเพื่อให้ว่าวต้านลมได้ตรงตัว, ซุง ก็เรียก. | สายซุง น. เชือกที่ใช้ปลายทั้ง ๒ ผูกกับอกว่าว ห่างกันพอสมควรสําหรับต่อกับสายป่านเพื่อให้ว่าวต้านลมได้ตรงตัว, ซุง ก็เรียก. |
สายดำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง แถบผ้าสีดำที่แสดงว่าผู้ที่ได้รับมีความสามารถระดับสูงสุดในการเล่นยูโด ใช้คาดเอว. | สายดำ น. แถบผ้าสีดำที่แสดงว่าผู้ที่ได้รับมีความสามารถระดับสูงสุดในการเล่นยูโด ใช้คาดเอว. |
สายดิ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ปลายด้านหนึ่งผูกติดกับลูกดิ่งสำหรับวัดความลึกของน้ำหรือตรวจสอบเสาหรือกำแพงเป็นต้นว่าอยู่ในแนวดิ่งหรือไม่, เชือกที่ผูกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นเป็นคู่สกัดหัวท้ายดอกจำปาของว่าวจุฬา. | สายดิ่ง น. เชือกที่ปลายด้านหนึ่งผูกติดกับลูกดิ่งสำหรับวัดความลึกของน้ำหรือตรวจสอบเสาหรือกำแพงเป็นต้นว่าอยู่ในแนวดิ่งหรือไม่, เชือกที่ผูกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นเป็นคู่สกัดหัวท้ายดอกจำปาของว่าวจุฬา. |
สายดิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สายตัวนําไฟฟ้าที่ต่อกับจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้าให้เชื่อมกับพื้นโลก โดยประสงค์ให้จุดนั้น ๆ มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าของโลก. | สายดิน น. สายตัวนําไฟฟ้าที่ต่อกับจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟ้าให้เชื่อมกับพื้นโลก โดยประสงค์ให้จุดนั้น ๆ มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับศักย์ไฟฟ้าของโลก. |
สายตรวจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกผู้ตรวจผู้ดูแลความสงบเรียบร้อยหรือความถูกระเบียบเป็นย่าน ๆ ไป เช่น สายตรวจสรรพสามิต ตำรวจสายตรวจ. | สายตรวจ น. เรียกผู้ตรวจผู้ดูแลความสงบเรียบร้อยหรือความถูกระเบียบเป็นย่าน ๆ ไป เช่น สายตรวจสรรพสามิต ตำรวจสายตรวจ. |
สายตะพาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกที่ร้อยจมูกวัวควาย. | สายตะพาย น. เชือกที่ร้อยจมูกวัวควาย. |
สายตัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อตัว เช่น ทํางานสายตัวแทบขาด. | สายตัว น. เนื้อตัว เช่น ทํางานสายตัวแทบขาด. |
สายตัวแทบขาด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหน็ดเหนื่อยเพราะทำงานหนักแทบไม่ได้พักผ่อน เช่น เพราะสามีตาย ภรรยาจึงต้องทำงานสายตัวแทบขาดเพื่อเลี้ยงลูก ๕ คน. | สายตัวแทบขาด (สำ) ว. เหน็ดเหนื่อยเพราะทำงานหนักแทบไม่ได้พักผ่อน เช่น เพราะสามีตาย ภรรยาจึงต้องทำงานสายตัวแทบขาดเพื่อเลี้ยงลูก ๕ คน. |
สายทิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง สายที่ห้อยโยงกับนาฬิกาพกหรือกำไลเป็นต้น. | สายทิ้ง น. สายที่ห้อยโยงกับนาฬิกาพกหรือกำไลเป็นต้น. |
สายน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง กระแสนํ้าที่ไหลเห็นเป็นสายยาวไป เช่น เรือล่องลอยไปตามสายน้ำ. | สายน้ำ น. กระแสนํ้าที่ไหลเห็นเป็นสายยาวไป เช่น เรือล่องลอยไปตามสายน้ำ. |
สายบังเหียน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สายที่ผูกปลายบังเหียนทั้ง ๒ ข้างสำหรับโยงไปให้ผู้ขี่ม้าถือเพื่อบังคับม้า. | สายบังเหียน น. สายที่ผูกปลายบังเหียนทั้ง ๒ ข้างสำหรับโยงไปให้ผู้ขี่ม้าถือเพื่อบังคับม้า. |
สายบัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ก้านดอกบัวสายที่เป็นเส้นยาว ๆ มีลักษณะอ่อน ไม่มีหนาม ใช้กินเป็นผัก. | สายบัว น. ก้านดอกบัวสายที่เป็นเส้นยาว ๆ มีลักษณะอ่อน ไม่มีหนาม ใช้กินเป็นผัก. |
สายพาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นด้ายที่คล้องโยงในเครื่องไนหูก, สายหนังหรือสายยางเป็นต้นสําหรับคล้องโยงเครื่องยนต์ต่าง ๆ เพื่อพาให้หมุนไปด้วยกัน เช่น สายพานจักรเย็บผ้า สายพานพัดลมเป่าหม้อน้ำรถยนต์. | สายพาน น. เส้นด้ายที่คล้องโยงในเครื่องไนหูก, สายหนังหรือสายยางเป็นต้นสําหรับคล้องโยงเครื่องยนต์ต่าง ๆ เพื่อพาให้หมุนไปด้วยกัน เช่น สายพานจักรเย็บผ้า สายพานพัดลมเป่าหม้อน้ำรถยนต์. |
สายฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่เป็นสายแวบวาบเมื่อเวลาฟ้าแลบฟ้าผ่า; ใยแมงมุมที่ลอยอยู่ในอากาศ. | สายฟ้า น. แสงที่เป็นสายแวบวาบเมื่อเวลาฟ้าแลบฟ้าผ่า; ใยแมงมุมที่ลอยอยู่ในอากาศ. |
สายไฟฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นโลหะตัวนำไฟฟ้า ใช้เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านอาจมีฉนวนหุ้มหรือไม่มีก็ได้, ถ้าไม่มีฉนวนหุ้มเรียก สายเปลือย. | สายไฟฟ้า น. เส้นโลหะตัวนำไฟฟ้า ใช้เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านอาจมีฉนวนหุ้มหรือไม่มีก็ได้, ถ้าไม่มีฉนวนหุ้มเรียก สายเปลือย. |
สายมงคล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง สายธุรําของพราหมณ์, ยัชโญปวีต ก็เรียก. | สายมงคล น. สายธุรําของพราหมณ์, ยัชโญปวีต ก็เรียก. |
สายยงยศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง สายที่ข้าราชการทหารหรือตำรวจใช้เพื่อแสดงสถานะ มี ๓ ชนิด ได้แก่ สายยงยศราชองครักษ์ สายยงยศเสนาธิการ และสายยงยศนายทหารคนสนิท. | สายยงยศ น. สายที่ข้าราชการทหารหรือตำรวจใช้เพื่อแสดงสถานะ มี ๓ ชนิด ได้แก่ สายยงยศราชองครักษ์ สายยงยศเสนาธิการ และสายยงยศนายทหารคนสนิท. |
สายยาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ยางหรือวัสดุอื่นที่ทำเป็นเส้นยาว กลวง ใช้เป็นอุปกรณ์ฉีดน้ำรดน้ำต้นไม้เป็นต้น. | สายยาง น. ยางหรือวัสดุอื่นที่ทำเป็นเส้นยาว กลวง ใช้เป็นอุปกรณ์ฉีดน้ำรดน้ำต้นไม้เป็นต้น. |
สายยู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กยาวประมาณ ๑ คืบ ๒ ท่อนเกี่ยวกันเป็นสายด้านหนึ่งใช้ติดกับบานประตูขนาดใหญ่ เพื่อล่ามบานประตูให้ติดกับห่วงเหล็กที่ธรณีประตู สําหรับลั่นกุญแจ เช่น สายยูโบสถ์วิหาร, อุปกรณ์สําหรับติดโต๊ะตู้เป็นต้นสําหรับลั่นกุญแจ มี ๒ ชิ้น ชิ้นหนึ่งมีลักษณะเป็นช่องหรือห่วงเพื่อพับลงมาคล้องบนอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายรูปเกือกม้าควํ่า. | สายยู ๑ น. เหล็กยาวประมาณ ๑ คืบ ๒ ท่อนเกี่ยวกันเป็นสายด้านหนึ่งใช้ติดกับบานประตูขนาดใหญ่ เพื่อล่ามบานประตูให้ติดกับห่วงเหล็กที่ธรณีประตู สําหรับลั่นกุญแจ เช่น สายยูโบสถ์วิหาร, อุปกรณ์สําหรับติดโต๊ะตู้เป็นต้นสําหรับลั่นกุญแจ มี ๒ ชิ้น ชิ้นหนึ่งมีลักษณะเป็นช่องหรือห่วงเพื่อพับลงมาคล้องบนอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายรูปเกือกม้าควํ่า. |
สายโยก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง สายถลกบาตรสําหรับคล้องที่ไหล่. | สายโยก น. สายถลกบาตรสําหรับคล้องที่ไหล่. |
สายใย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเส้นเล็ก ๆ ขดเป็นวงในเครื่องนาฬิกาชนิดที่ไม่มีลูกตุ้ม ทําให้เกิดแรงเหวี่ยง บังคับให้นาฬิกาเดินเที่ยงตรง, โดยปริยายหมายถึงความผูกพัน เช่น สายใยแห่งความรักระหว่างแม่กับลูก. | สายใย น. โลหะเส้นเล็ก ๆ ขดเป็นวงในเครื่องนาฬิกาชนิดที่ไม่มีลูกตุ้ม ทําให้เกิดแรงเหวี่ยง บังคับให้นาฬิกาเดินเที่ยงตรง, โดยปริยายหมายถึงความผูกพัน เช่น สายใยแห่งความรักระหว่างแม่กับลูก. |
สายรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ต่อระหว่างผนังมดลูกกับสายสะดือเด็ก. | สายรก น. ส่วนที่ต่อระหว่างผนังมดลูกกับสายสะดือเด็ก. |
สายระเดียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง หวายหรือสายลวดเป็นต้นที่ขึงสําหรับตากผ้า (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). | สายระเดียง น. หวายหรือสายลวดเป็นต้นที่ขึงสําหรับตากผ้า (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). |
สายระยาง, สายระโยง สายระยาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู สายระโยง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง สายเชือกหรือลวดที่รั้งเสากระโดงเรือเป็นต้น. | สายระยาง, สายระโยง น. สายเชือกหรือลวดที่รั้งเสากระโดงเรือเป็นต้น. |
สายรัดคาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง สายหนังหรือเชือกที่โยงจากขอบหมวกหรือชฎาเป็นต้น สำหรับรัดคางกันหลุด. | สายรัดคาง น. สายหนังหรือเชือกที่โยงจากขอบหมวกหรือชฎาเป็นต้น สำหรับรัดคางกันหลุด. |
สายรัดทึบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง สายรัดท้องม้าเพื่อยึดอานให้แน่น. | สายรัดทึบ น. สายรัดท้องม้าเพื่อยึดอานให้แน่น. |
สายรุ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษม้วนสีต่าง ๆ ทำเป็นแถบเล็กยาว ใช้ตกแต่งสถานที่หรือใช้ขว้างให้คลี่ออกแสดงความรื่นเริง. | สายรุ้ง น. กระดาษม้วนสีต่าง ๆ ทำเป็นแถบเล็กยาว ใช้ตกแต่งสถานที่หรือใช้ขว้างให้คลี่ออกแสดงความรื่นเริง. |
สายล่อฟ้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แท่งโลหะปลายแหลมใช้ติดบนหลังคาอาคารสูง ๆ โดยโยงต่อกับพื้นดินด้วยลวดโลหะ เพื่อทําหน้าที่เป็นตัวนําไฟฟ้าให้อิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ได้ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เป็นการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า. | สายล่อฟ้า น. แท่งโลหะปลายแหลมใช้ติดบนหลังคาอาคารสูง ๆ โดยโยงต่อกับพื้นดินด้วยลวดโลหะ เพื่อทําหน้าที่เป็นตัวนําไฟฟ้าให้อิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ได้ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เป็นการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า. |
สายลับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เข้าไปสืบความลับ เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับการจารกรรมของสายลับ, สาย ก็ว่า. | สายลับ น. ผู้เข้าไปสืบความลับ เช่น ภาพยนตร์เกี่ยวกับการจารกรรมของสายลับ, สาย ก็ว่า. |
สายเลือด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน, ลูก, เช่น เด็กคนนี้เป็นสายเลือดของเขาแท้ ๆ เขายังไม่เอาใจใส่เลย; โดยปริยายหมายถึงนิสัย, สันดาน, เช่น เขาชอบเล่นการพนันอยู่ในสายเลือด. | สายเลือด น. ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน, ลูก, เช่น เด็กคนนี้เป็นสายเลือดของเขาแท้ ๆ เขายังไม่เอาใจใส่เลย; โดยปริยายหมายถึงนิสัย, สันดาน, เช่น เขาชอบเล่นการพนันอยู่ในสายเลือด. |
สายโลหิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน. | สายโลหิต น. ญาติพี่น้องที่มีบรรพบุรุษร่วมกัน. |
สายวัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องวัดระยะชนิดหนึ่งเป็นแถบเล็กยาว มีหน่วยวัดระยะ ใช้วัดสิ่งต่าง ๆ เช่น สายวัดตัวของช่างเย็บเสื้อ สายวัดของช่างไม้. | สายวัด น. เครื่องวัดระยะชนิดหนึ่งเป็นแถบเล็กยาว มีหน่วยวัดระยะ ใช้วัดสิ่งต่าง ๆ เช่น สายวัดตัวของช่างเย็บเสื้อ สายวัดของช่างไม้. |
สายส่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดำเนินกิจการเป็นตัวแทนในการส่งหนังสือหรือสินค้าอื่นให้แก่ผู้รับ. | สายส่ง น. ผู้ดำเนินกิจการเป็นตัวแทนในการส่งหนังสือหรือสินค้าอื่นให้แก่ผู้รับ. |
สายสนกลใน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เลศนัยสลับซับซ้อน (มักใช้ในทางไม่บริสุทธิ์) เช่น เรื่องนี้มีสายสนกลในมาก ต้องใช้นักสืบมืออาชีพสืบดู. | สายสนกลใน น. เลศนัยสลับซับซ้อน (มักใช้ในทางไม่บริสุทธิ์) เช่น เรื่องนี้มีสายสนกลในมาก ต้องใช้นักสืบมืออาชีพสืบดู. |
สายสมร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ | [สะหฺมอน] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่รัก, นาง. | สายสมร [สะหฺมอน] น. หญิงที่รัก, นาง. |
สายสร้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับที่ทำเป็นเส้น เช่น สายสร้อยคอ สายสร้อยข้อมือ, สร้อย ก็ว่า. | สายสร้อย น. เครื่องประดับที่ทำเป็นเส้น เช่น สายสร้อยคอ สายสร้อยข้อมือ, สร้อย ก็ว่า. |
สายสวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สายยางหรือท่อโลหะที่ใช้สวนปัสสาวะ. | สายสวน น. สายยางหรือท่อโลหะที่ใช้สวนปัสสาวะ. |
สายสวาท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นที่รัก. | สายสวาท น. ผู้เป็นที่รัก. |
สายสะดือ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่ต่อระหว่างรกกับสะดือเด็ก. | สายสะดือ น. ส่วนที่ต่อระหว่างรกกับสะดือเด็ก. |
สายสะพาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง แพรแถบสีเดียวหรือหลายสี เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง ใช้สะพายบ่า. | สายสะพาย น. แพรแถบสีเดียวหรือหลายสี เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูง ใช้สะพายบ่า. |
สายสัมพันธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ความผูกพันกันมาช้านาน, ความเกี่ยวข้องเป็นมิตรไมตรีกันมานาน, เช่น ไทยกับจีนมีสายสัมพันธ์อันดีมาหลายร้อยปีแล้ว. | สายสัมพันธ์ น. ความผูกพันกันมาช้านาน, ความเกี่ยวข้องเป็นมิตรไมตรีกันมานาน, เช่น ไทยกับจีนมีสายสัมพันธ์อันดีมาหลายร้อยปีแล้ว. |
สายสำอาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ผูกติดกับรัดประคนทั้ง ๒ ข้าง ปรกติทอดขนานลำตัวช้างไปผูกติดกับกระวินคล้องกับระวิงหรือซองหาง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบ ใช้สายสำอางนี้สอดผูกเพื่อช่วยรั้งมิให้เลื่อนไปทางหัวช้าง ขณะเดินลงที่ลาด. | สายสำอาง น. เชือกหรือลวดหนังตีเป็นเกลียวหุ้มผ้าแดง ผูกติดกับรัดประคนทั้ง ๒ ข้าง ปรกติทอดขนานลำตัวช้างไปผูกติดกับกระวินคล้องกับระวิงหรือซองหาง เมื่อตั้งสัปคับหรือกูบ ใช้สายสำอางนี้สอดผูกเพื่อช่วยรั้งมิให้เลื่อนไปทางหัวช้าง ขณะเดินลงที่ลาด. |
สายสิญจน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ด้ายดิบสีขาวที่นำมาจับทบเป็น ๓ เส้น หรือ ๙ เส้น ใช้ในพิธีทางศาสนา เช่นสำหรับพระถือในเวลาสวดมนต์ หรือพราหมณ์ใช้ในพระราชพิธีบางอย่าง. | สายสิญจน์ น. ด้ายดิบสีขาวที่นำมาจับทบเป็น ๓ เส้น หรือ ๙ เส้น ใช้ในพิธีทางศาสนา เช่นสำหรับพระถือในเวลาสวดมนต์ หรือพราหมณ์ใช้ในพระราชพิธีบางอย่าง. |
สายสืบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง, สาย ก็ว่า. | สายสืบ น. ผู้เข้าไปสืบความลับหรือความเคลื่อนไหวเป็นต้นของอีกฝ่ายหนึ่ง, สาย ก็ว่า. |
สายสูตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกหนังที่ผูกช้างให้เดินตามกัน; เส้นด้ายที่เจ้านายหรือสมเด็จพระสังฆราชจับโยงไปเพื่อกระทำกิจกรรมทางศาสนา เช่น ยกช่อฟ้าหรือเททองหล่อพระพุทธรูปเป็นต้น. | สายสูตร น. เชือกหนังที่ผูกช้างให้เดินตามกัน; เส้นด้ายที่เจ้านายหรือสมเด็จพระสังฆราชจับโยงไปเพื่อกระทำกิจกรรมทางศาสนา เช่น ยกช่อฟ้าหรือเททองหล่อพระพุทธรูปเป็นต้น. |
สายสูบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง สายส่งน้ำทำด้วยวัสดุทนไฟ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังน้ำบนรถหรือต่อกับหัวประตูน้ำดับเพลิง อีกข้างหนึ่งสวมเข้ากับหัวฉีดน้ำ, ถ้าใช้ในการชลประทาน หรือส่งน้ำให้ประชาชนใช้ เรียกว่า สายสูบส่งน้ำ, ถ้าใช้ในการดับเพลิง เรียกว่า สายสูบส่งน้ำดับเพลิง; สายที่ทำด้วยสารสังเคราะห์ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังบนรถ อีกข้างหนึ่งจุ่มลงในของเหลวหรือสิ่งปฏิกูลแล้วสูบขึ้นมา. | สายสูบ น. สายส่งน้ำทำด้วยวัสดุทนไฟ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังน้ำบนรถหรือต่อกับหัวประตูน้ำดับเพลิง อีกข้างหนึ่งสวมเข้ากับหัวฉีดน้ำ, ถ้าใช้ในการชลประทาน หรือส่งน้ำให้ประชาชนใช้ เรียกว่า สายสูบส่งน้ำ, ถ้าใช้ในการดับเพลิง เรียกว่า สายสูบส่งน้ำดับเพลิง; สายที่ทำด้วยสารสังเคราะห์ ปลายสายทั้ง ๒ ข้างมีข้อต่อสำหรับต่อกับถังบนรถ อีกข้างหนึ่งจุ่มลงในของเหลวหรือสิ่งปฏิกูลแล้วสูบขึ้นมา. |
สายหยก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เชือกผูกรั้งตรวนเพื่อให้นักโทษเดินสะดวกขึ้น เช่น มือถือสายหยกยกสะเทิน พลั้งเท้าก้าวเกินก็ล้มลง. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑. | สายหยก น. เชือกผูกรั้งตรวนเพื่อให้นักโทษเดินสะดวกขึ้น เช่น มือถือสายหยกยกสะเทิน พลั้งเท้าก้าวเกินก็ล้มลง. (ขุนช้างขุนแผน). |
สายเหา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง สายเชือกหรือหนังที่รั้งอานหรือเบาะม้า แล้วมาโยงกับโคนหางม้า. | สายเหา น. สายเชือกหรือหนังที่รั้งอานหรือเบาะม้า แล้วมาโยงกับโคนหางม้า. |
สายไหม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยน้ำตาลซึ่งใช้เครื่องปั่นจนเป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายเส้นไหม ห่อด้วยแผ่นโรตีหรือแผ่นเปาะเปี๊ยะ, ถ้าห่อด้วยแผ่นโรตี เรียกว่า โรตีสายไหม. | สายไหม น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยน้ำตาลซึ่งใช้เครื่องปั่นจนเป็นเส้นฝอย ๆ คล้ายเส้นไหม ห่อด้วยแผ่นโรตีหรือแผ่นเปาะเปี๊ยะ, ถ้าห่อด้วยแผ่นโรตี เรียกว่า โรตีสายไหม. |
สายอากาศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง สายลวดที่ขึงไว้เพื่อส่งหรือรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า. | สายอากาศ น. สายลวดที่ขึงไว้เพื่อส่งหรือรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า. |
สายเอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง สายสมอเรือสําเภา ทําด้วยเชือกเหนียวกว่าเชือกอื่น สําหรับลงสมอเมื่อพายุแรง; เรียกสายเครื่องดนตรีที่เป็นเสียงสูงว่า สายเอก, ส่วนสายที่มีเสียงรองลงมาเรียกว่า สายทุ้ม. | สายเอก น. สายสมอเรือสําเภา ทําด้วยเชือกเหนียวกว่าเชือกอื่น สําหรับลงสมอเมื่อพายุแรง; เรียกสายเครื่องดนตรีที่เป็นเสียงสูงว่า สายเอก, ส่วนสายที่มีเสียงรองลงมาเรียกว่า สายทุ้ม. |
ส่าย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง แกว่งไปมา เช่น ส่ายผ้าอ้อมในน้ำ, ย้ายไปมา เช่น ส่ายหัว ส่ายสะโพก ว่าวส่าย. เป็นคำนาม หมายถึง กระโปรงยาวที่ผู้หญิงนุ่ง. | ส่าย ๑ ก. แกว่งไปมา เช่น ส่ายผ้าอ้อมในน้ำ, ย้ายไปมา เช่น ส่ายหัว ส่ายสะโพก ว่าวส่าย. น. กระโปรงยาวที่ผู้หญิงนุ่ง. |
ส่ายตา เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง กวาดตามองทั่ว ๆ เช่น เขาส่ายตามองหาคนรู้จัก. | ส่ายตา ก. กวาดตามองทั่ว ๆ เช่น เขาส่ายตามองหาคนรู้จัก. |
ส่ายศึก, ส่ายเศิก ส่ายศึก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ ส่ายเศิก เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง กวาดล้างให้หมดสิ้นข้าศึกศัตรู เช่น ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์. | ส่ายศึก, ส่ายเศิก ก. กวาดล้างให้หมดสิ้นข้าศึกศัตรู เช่น ส่ายเศิกเหลี้ยนล่งหล้า ราญราบหน้าเภริน. (นิ. นรินทร์). |
ส่ายหน้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ทำหน้าหันไปมาช้า ๆ แสดงถึงความหมดหวัง หมดศรัทธา หมดปัญญาเป็นต้น เช่น หมอเห็นผลการตรวจคนไข้แล้วส่ายหน้า. | ส่ายหน้า ก. อาการที่ทำหน้าหันไปมาช้า ๆ แสดงถึงความหมดหวัง หมดศรัทธา หมดปัญญาเป็นต้น เช่น หมอเห็นผลการตรวจคนไข้แล้วส่ายหน้า. |
ส่าย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากผ้าแพรเนื้อหนาแข็งเสียดสีกัน เช่น ได้ยินเสียงแพรส่าย. | ส่าย ๒ ว. เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากผ้าแพรเนื้อหนาแข็งเสียดสีกัน เช่น ได้ยินเสียงแพรส่าย. |
ส้าย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง กําจัด, สู้. | ส้าย ก. กําจัด, สู้. |
สายชู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ของเหลวซึ่งมีกรดแอซีติกละลายอยู่ไม่เกินร้อยละ ๖ มีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงอาหาร เรียกว่า นํ้าส้มสายชู, นํ้าส้ม ก็เรียก. | สายชู น. ของเหลวซึ่งมีกรดแอซีติกละลายอยู่ไม่เกินร้อยละ ๖ มีรสเปรี้ยว ใช้ปรุงอาหาร เรียกว่า นํ้าส้มสายชู, นํ้าส้ม ก็เรียก. |
สายตา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ระยะที่ตาจะมองเห็นได้ เช่น สุดสายตา อยู่ในสายตา, โดยปริยายหมายความว่า ความเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น ความประพฤติของนักเรียนอยู่ในสายตาของครูอาจารย์, ความสอดส่องจับตาดูอยู่เสมอ เช่น พวกนักเลงอยู่ในสายตาของตำรวจ, ความสนใจ เช่น คนจนไม่อยู่ในสายตาของพวกเศรษฐี. | สายตา น. ระยะที่ตาจะมองเห็นได้ เช่น สุดสายตา อยู่ในสายตา, โดยปริยายหมายความว่า ความเอาใจใส่ดูแลอย่างใกล้ชิด เช่น ความประพฤติของนักเรียนอยู่ในสายตาของครูอาจารย์, ความสอดส่องจับตาดูอยู่เสมอ เช่น พวกนักเลงอยู่ในสายตาของตำรวจ, ความสนใจ เช่น คนจนไม่อยู่ในสายตาของพวกเศรษฐี. |
สายตาไกล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามารถคิดและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในภายหน้าได้ค่อนข้างจะถูกต้อง เช่น ผู้ใหญ่มักจะเป็นผู้มีสายตาไกล, สายตากว้างไกล ก็ว่า. | สายตาไกล ว. สามารถคิดและคาดการณ์เหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในภายหน้าได้ค่อนข้างจะถูกต้อง เช่น ผู้ใหญ่มักจะเป็นผู้มีสายตาไกล, สายตากว้างไกล ก็ว่า. |
สายตาพิการ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ความพิการในการเห็น, สายตาที่บกพร่องมองเห็นไม่เหมือนคนปรกติ เช่นตาบอดสี, การเห็นไม่ดีจนเป็นอุปสรรคต่อการงานซึ่งต้องใช้การมองเห็นเป็นหลัก. | สายตาพิการ น. ความพิการในการเห็น, สายตาที่บกพร่องมองเห็นไม่เหมือนคนปรกติ เช่นตาบอดสี, การเห็นไม่ดีจนเป็นอุปสรรคต่อการงานซึ่งต้องใช้การมองเห็นเป็นหลัก. |
สายตายาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ไกลเท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ใกล้มองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์นูน. | สายตายาว น. ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ไกลเท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ใกล้มองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์นูน. |
สายตาสั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ใกล้เท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ไกลมองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์เว้า. | สายตาสั้น น. ความสามารถของนัยน์ตาที่มองเห็นชัดเฉพาะสิ่งที่อยู่ใกล้เท่านั้น ส่วนสิ่งที่อยู่ไกลมองเห็นพร่าไม่ชัดเจน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์เว้า. |
สายตาเอียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ความบกพร่องของนัยน์ตาที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในแนวระดับหรือในแนวดิ่งไม่ได้ชัดสม่ำเสมอกัน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์รูปกาบกล้วย. | สายตาเอียง น. ความบกพร่องของนัยน์ตาที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ในแนวระดับหรือในแนวดิ่งไม่ได้ชัดสม่ำเสมอกัน ช่วยได้โดยสวมแว่นที่เป็นเลนส์รูปกาบกล้วย. |
สายติ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้นํ้าชนิด Nymphoides parvifolium Kuntze ในวงศ์ Menyanthaceae กินได้, บัวสายติ่ง หรือ บัวสายทิ้ง ก็เรียก. | สายติ่ง น. ชื่อไม้นํ้าชนิด Nymphoides parvifolium Kuntze ในวงศ์ Menyanthaceae กินได้, บัวสายติ่ง หรือ บัวสายทิ้ง ก็เรียก. |
สายน้ำผึ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Lonicera japonica Thunb. ในวงศ์ Caprifoliaceae ดอกสีนวลแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้. | สายน้ำผึ้ง น. ชื่อไม้เถาชนิด Lonicera japonica Thunb. ในวงศ์ Caprifoliaceae ดอกสีนวลแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้. |
สายม่าน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่องูขนาดเล็กในวงศ์ Colubridae ตัวเล็กเรียวยาว ส่วนมากสีนํ้าตาล เกล็ดสันหลังมักวาวคล้ายทองเหลือง ว่องไวปราดเปรียว ออกหากินเวลากลางวันตามป่าหญ้าและบนต้นไม้ มีหลายชนิดและชุกชุมทุกภาคของประเทศไทย เช่น สายม่านลิ้นแดง (Dendrelaphis pictus) สายม่านหลังทอง (D. formosus) ไม่มีพิษ. | สายม่าน น. ชื่องูขนาดเล็กในวงศ์ Colubridae ตัวเล็กเรียวยาว ส่วนมากสีนํ้าตาล เกล็ดสันหลังมักวาวคล้ายทองเหลือง ว่องไวปราดเปรียว ออกหากินเวลากลางวันตามป่าหญ้าและบนต้นไม้ มีหลายชนิดและชุกชุมทุกภาคของประเทศไทย เช่น สายม่านลิ้นแดง (Dendrelaphis pictus) สายม่านหลังทอง (D. formosus) ไม่มีพิษ. |
สายยู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาน้ำจืดในวงศ์ Schilbeidae ตัวเรียวยาว มีหนวดยาว ๔ คู่ และมีครีบหลัง ๒ ตอน เฉพาะตอนหลังเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กมาก ได้แก่ ชนิด Platytropius siamensis, เกด ก็เรียก. | สายยู ๒ น. ชื่อปลาน้ำจืดในวงศ์ Schilbeidae ตัวเรียวยาว มีหนวดยาว ๔ คู่ และมีครีบหลัง ๒ ตอน เฉพาะตอนหลังเป็นแผ่นเนื้อขนาดเล็กมาก ได้แก่ ชนิด Platytropius siamensis, เกด ก็เรียก. |
สายหยุด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos chinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม พอสายก็หมดกลิ่น. | สายหยุด น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos chinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม พอสายก็หมดกลิ่น. |
สายัณห์, สายาห์ สายัณห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด สายาห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เวลาเย็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สายณฺห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-เนน-พิน-ทุ-หอ-หีบ และมาจากภาษาสันสกฤต สายาหฺน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-พิน-ทุ-นอ-หนู. | สายัณห์, สายาห์ น. เวลาเย็น. (ป. สายณฺห; ส. สายาหฺน). |
สายา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น สายาอยู่ในถนน ถามข่าว รยมฤๅ. (กำสรวล). | สายา (กลอน) น. ผู้หญิง, นางผู้มีโฉมงาม, เช่น สายาอยู่ในถนน ถามข่าว รยมฤๅ. (กำสรวล). |
สาร ๑, สาร ๑ สาร ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ สาร ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [สาน, สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง แก่น, เนื้อแท้, มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็น แก่นสาร; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสาร สื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาร ๑, สาร ๑ [สาน, สาระ] น. แก่น, เนื้อแท้, มักใช้เข้าคู่กับคำ แก่น เป็น แก่นสาร; ข้อความ, ถ้อยคำ, เรื่องราว, เช่น กล่าวสาร สื่อสาร, หนังสือ เช่น นิตยสาร วารสาร, จดหมาย เช่น เขียนสาร สารของนายกรัฐมนตรีถึงเยาวชน. (ป., ส.). |
สารกรมธรรม์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด | [สานกฺรมมะ]ดู กรมธรรม์ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด. | สารกรมธรรม์ [สานกฺรมมะ] ดู กรมธรรม์. |
สารคดี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ. | สารคดี [สาระ] น. เรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ เช่น สารคดีท่องเที่ยว สารคดีชีวประวัติ. |
สารตรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [สาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือราชการที่เชิญพระบรมราชโองการซึ่งประทับตราใหญ่; หนังสือราชการที่เสนาบดีเจ้ากระทรวงลงชื่อและประทับตรากระทรวงส่งไปยังหัวเมือง ซึ่งในสมัยต่อมาเรียกว่า ท้องตรา. | สารตรา [สาน] (กฎ; โบ) น. หนังสือราชการที่เชิญพระบรมราชโองการซึ่งประทับตราใหญ่; หนังสือราชการที่เสนาบดีเจ้ากระทรวงลงชื่อและประทับตรากระทรวงส่งไปยังหัวเมือง ซึ่งในสมัยต่อมาเรียกว่า ท้องตรา. |
สารธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมเป็นหลักฐาน, ธรรมที่มั่นคง. | สารธรรม [สาระ] น. ธรรมเป็นหลักฐาน, ธรรมที่มั่นคง. |
สารนิเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา | [สาระนิเทด] เป็นคำนาม หมายถึง การชี้แจงแนะนําเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + นิรฺเทศ เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + นิทฺเทส เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ . | สารนิเทศ [สาระนิเทด] น. การชี้แจงแนะนําเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ. (ส. สาร + นิรฺเทศ; ป. สาร + นิทฺเทส). |
สารบบ, สารบับ สารบบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ สารบับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง คําบอกเรื่อง, บัญชีเรื่อง, เช่น เรื่องนี้ไม่ได้อยู่ในสารบบ. | สารบบ, สารบับ [สาระ] น. คําบอกเรื่อง, บัญชีเรื่อง, เช่น เรื่องนี้ไม่ได้อยู่ในสารบบ. |
สารบบความ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีคดีความต่าง ๆ ของศาล. | สารบบความ น. บัญชีคดีความต่าง ๆ ของศาล. |
สารบรรณ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่เป็นหลักฐาน, เรียกงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ว่า งานสารบรรณ. | สารบรรณ [สาระ] น. หนังสือที่เป็นหลักฐาน, เรียกงานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลายเอกสาร ว่า งานสารบรรณ. |
สารบัญ, สารบาญ สารบัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง สารบาญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง บัญชีเรื่อง, รายชื่อเรื่อง. (ตัดจาก สารบัญชี และ สารบาญชี). | สารบัญ, สารบาญ [สาระ] น. บัญชีเรื่อง, รายชื่อเรื่อง. (ตัดจาก สารบัญชี และ สารบาญชี). |
สารบาญชี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง การจัดวิธีเกณฑ์คนเข้ารับราชการฝ่ายทหารและพลเรือนในสมัยโบราณตั้งเป็นกรม เรียกว่า กรมพระสุรัสวดี คือ สัสดี เดี๋ยวนี้. | สารบาญชี [สาระ] น. การจัดวิธีเกณฑ์คนเข้ารับราชการฝ่ายทหารและพลเรือนในสมัยโบราณตั้งเป็นกรม เรียกว่า กรมพระสุรัสวดี คือ สัสดี เดี๋ยวนี้. |
สารประโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [สาระ] เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า. | สารประโยชน์ [สาระ] น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร เช่น สารประโยชน์ของกฎหมายฉบับนี้ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของประชาชน, สารัตถประโยชน์ ก็ว่า. |
สารสนเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา | [สาระสนเทด, สานสนเทด] เป็นคำนาม หมายถึง ข่าวสาร; การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + สนฺเทศ เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ + สนฺเทส เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ . | สารสนเทศ [สาระสนเทด, สานสนเทด] น. ข่าวสาร; การแสดงหรือชี้แจงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ. (ส. สาร + สนฺเทศ; ป. สาร + สนฺเทส). |
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | [สาน] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีองค์ประกอบเป็นอย่างเดียวกัน มีสมบัติเฉพาะของตนเอง และไม่สามารถใช้วิธีกลใด ๆ มาแบ่งแยกให้เป็นส่วนอื่นที่มีองค์ประกอบและสมบัติแตกต่างออกไปได้; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เรียกธาตุจําพวกหนึ่งและธาตุที่เข้าแทรกในต้นไม้ว่า สาร. | สาร ๒ [สาน] น. สิ่งที่มีองค์ประกอบเป็นอย่างเดียวกัน มีสมบัติเฉพาะของตนเอง และไม่สามารถใช้วิธีกลใด ๆ มาแบ่งแยกให้เป็นส่วนอื่นที่มีองค์ประกอบและสมบัติแตกต่างออกไปได้; (โบ) เรียกธาตุจําพวกหนึ่งและธาตุที่เข้าแทรกในต้นไม้ว่า สาร. |
สารประกอบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ compound เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-พี-โอ-ยู-เอ็น-ดี. | สารประกอบ (เคมี) น. สารที่เกิดจากธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปมารวมตัวกันโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี และมีอัตราส่วนผสมคงที่เสมอ. (อ. compound). |
สารละลาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ สารขึ้นไป แผ่กระจายผสมรวมกันอยู่อย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง แก๊สละลายในแก๊ส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ solution เขียนว่า เอส-โอ-แอล-ยู-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | สารละลาย (เคมี) น. ของผสมเนื้อเดียวล้วน ซึ่งประกอบด้วยสารต่างชนิดกันตั้งแต่ ๒ สารขึ้นไป แผ่กระจายผสมรวมกันอยู่อย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น ของแข็งละลายในของเหลว ของเหลวละลายในของเหลว ของแข็งละลายในของแข็ง แก๊สละลายในแก๊ส. (อ. solution). |
สารส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เกลือเคมีประเภทหนึ่ง ทั่วไปรู้จักกันเฉพาะชนิดที่ใช้ประโยชน์ทําให้นํ้าใสสะอาด ชนิดนี้มีสูตร K2SO4Al2(SO4)324H2O ลักษณะเป็นก้อนแข็ง สีขาว มีรสเปรี้ยวฝาด. | สารส้ม น. เกลือเคมีประเภทหนึ่ง ทั่วไปรู้จักกันเฉพาะชนิดที่ใช้ประโยชน์ทําให้นํ้าใสสะอาด ชนิดนี้มีสูตร K2SO4Al2(SO4)324H2O ลักษณะเป็นก้อนแข็ง สีขาว มีรสเปรี้ยวฝาด. |
สารหนู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๓ สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มี ๓ อัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดํา และสารหนูสีเหลือง เป็นธาตุที่มีพิษอย่างร้ายแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ arsenic เขียนว่า เอ-อา-เอส-อี-เอ็น-ไอ-ซี. | สารหนู น. ธาตุลําดับที่ ๓๓ สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มี ๓ อัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดํา และสารหนูสีเหลือง เป็นธาตุที่มีพิษอย่างร้ายแรง. (อ. arsenic). |
สารหนูขาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู. | สารหนูขาว น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทําสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู. |
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ช้างใหญ่ ใช้ว่า ช้างสาร. | สาร ๓ น. ช้างใหญ่ ใช้ว่า ช้างสาร. |
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๔ | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวที่สีหรือตําเอาเปลือกออกแล้ว เรียกว่า ข้าวสาร. | สาร ๔ น. ข้าวที่สีหรือตําเอาเปลือกออกแล้ว เรียกว่า ข้าวสาร. |
สาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | [สาระ]คําประกอบหน้าคํา แปลว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุก, เช่น สารทิศ ว่า ทุกทิศ, สารทุกข์ ว่า ทุกข์ทั้งหมด, สารเลว ว่า เลวทั้งสิ้น. (เลือนมาจาก สรฺว ในสันสกฤต เช่น สรฺวงฺค เป็น สารพางค์ หรือ สรรพางค์). | สาร ๒ [สาระ] คําประกอบหน้าคํา แปลว่า ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุก, เช่น สารทิศ ว่า ทุกทิศ, สารทุกข์ ว่า ทุกข์ทั้งหมด, สารเลว ว่า เลวทั้งสิ้น. (เลือนมาจาก สรฺว ในสันสกฤต เช่น สรฺวงฺค เป็น สารพางค์ หรือ สรรพางค์). |
สารทุกข์สุกดิบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ข่าวคราวความเป็นไปหรือความเป็นอยู่ เช่น ไม่พบกันมานาน เพื่อน ๆ ต่างก็ถามสารทุกข์สุกดิบซึ่งกันและกัน. | สารทุกข์สุกดิบ (ปาก) น. ข่าวคราวความเป็นไปหรือความเป็นอยู่ เช่น ไม่พบกันมานาน เพื่อน ๆ ต่างก็ถามสารทุกข์สุกดิบซึ่งกันและกัน. |
สารถี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี | [สาระถี] เป็นคำนาม หมายถึง คนขับรถ, คนบังคับม้า, โดยปริยายหมายความว่า ผู้บังคับหรือฝึกหัด ในความว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สารถิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ. | สารถี [สาระถี] น. คนขับรถ, คนบังคับม้า, โดยปริยายหมายความว่า ผู้บังคับหรือฝึกหัด ในความว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก. (ป., ส. สารถิ). |
สารถีชักรถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทย ๒ ชั้นทำนองหนึ่ง ต่อมามีผู้แต่งขยายเป็น ๓ ชั้น แล้วตัดลงเป็นชั้นเดียว เพื่อให้ครบเป็นเพลงเถา เรียกว่า เพลงสารถีเถา; วิธีรำละครท่าหนึ่งอยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุ ตระเวนเวหา; ชื่อเพลงยาวกลบทแบบหนึ่ง ตัวอย่างว่า สงสารกายหมายมิตร์คิดสงสาร ประมาณจิตร์ผิดเพราะเชื่อเหลือประมาณ เสียดายการที่คิดเปล่าเศร้าเสียดาย. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๒. | สารถีชักรถ น. ชื่อเพลงไทย ๒ ชั้นทำนองหนึ่ง ต่อมามีผู้แต่งขยายเป็น ๓ ชั้น แล้วตัดลงเป็นชั้นเดียว เพื่อให้ครบเป็นเพลงเถา เรียกว่า เพลงสารถีเถา; วิธีรำละครท่าหนึ่งอยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุ ตระเวนเวหา; ชื่อเพลงยาวกลบทแบบหนึ่ง ตัวอย่างว่า สงสารกายหมายมิตร์คิดสงสาร ประมาณจิตร์ผิดเพราะเชื่อเหลือประมาณ เสียดายการที่คิดเปล่าเศร้าเสียดาย. (จารึกวัดโพธิ์). |
สารท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ ๑ | [สาด] เป็นคำนาม หมายถึง เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือน ๑๐ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์และข้าวมธุปายาสถวายพระสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สรท เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน สารท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาสันสกฤต ศารท เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน. | สารท ๑ [สาด] น. เทศกาลทำบุญในวันสิ้นเดือน ๑๐ โดยนำพืชพรรณธัญญาหารแรกเก็บเกี่ยวมาปรุงเป็นข้าวทิพย์และข้าวมธุปายาสถวายพระสงฆ์. (ป. สรท, สารท; ส. ศารท). |
สารท ๒, สารทฤดู สารท ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน สารทฤดู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู | [สาด, สาระทะรึดู] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ autumn เขียนว่า เอ-ยู-ที-ยู-เอ็ม-เอ็น. | สารท ๒, สารทฤดู [สาด, สาระทะรึดู] น. ฤดูใบไม้ร่วง, ในประเทศเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือ ซึ่งแบ่งฤดูกาลออกเป็น ๔ ฤดู คือ ฤดูหนาว (เหมันตฤดู) ฤดูใบไม้ผลิ (วสันตฤดู) ฤดูร้อน (คิมหันตฤดู) และฤดูใบไม้ร่วง (สารทฤดู) นั้น ฤดูใบไม้ร่วงเริ่มต้นในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน. (อ. autumn). |
สารทา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา | [สาระทา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี. | สารทา [สาระทา] น. ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี. |
ส้ารบับ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | [ส้าระบับ] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าเยียรบับ. | ส้ารบับ [ส้าระบับ] น. ผ้าเยียรบับ. |
สารพัด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | [สาระพัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทุก, ทุกอย่าง, เช่น ร้านชำมีของขายสารพัด, เขียนเป็น สารพัตร ก็มี. | สารพัด [สาระพัด] ว. ทั้งปวง, ทั้งหมด, ทุก, ทุกอย่าง, เช่น ร้านชำมีของขายสารพัด, เขียนเป็น สารพัตร ก็มี. |
สารพัน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [สาระพัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สารพัด เช่น สารพันปัญหา, มักใช้เข้าคู่กัน เป็น สารพัดสารพัน ก็มี. | สารพัน [สาระพัน] ว. สารพัด เช่น สารพันปัญหา, มักใช้เข้าคู่กัน เป็น สารพัดสารพัน ก็มี. |
สารพางค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [สาระพาง] เป็นคำนาม หมายถึง ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สารพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสารพางค์กาย, สรรพางค์ ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู สรรพ, สรรพ สรรพ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน สรรพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน . | สารพางค์ [สาระพาง] น. ทั้งตัว, ทั่วตัว, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาย เป็น สารพางค์กาย เช่น เจ็บปวดทั่วสารพางค์กาย, สรรพางค์ ก็ว่า. (ดู สรรพ, สรรพ). |
สารภาพ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | [สาระพาบ] เป็นคำกริยา หมายถึง รับว่ากระทำผิด เช่น จำเลยสารภาพว่าขโมยของไปจริง; บอกความในใจ เช่น สารภาพรัก. | สารภาพ [สาระพาบ] ก. รับว่ากระทำผิด เช่น จำเลยสารภาพว่าขโมยของไปจริง; บอกความในใจ เช่น สารภาพรัก. |
สารภี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี | [สาระพี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Mammea วงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้ คือ ชนิด M. harmandii Kosterm. ดอกใหญ่ และชนิด M. siamensis (Miq.) T. Anderson ดอกเล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สุรภิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ. | สารภี [สาระพี] น. ชื่อไม้ต้น ๒ ชนิดในสกุล Mammea วงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว กลิ่นหอม ใช้ทํายาได้ คือ ชนิด M. harmandii Kosterm. ดอกใหญ่ และชนิด M. siamensis (Miq.) T. Anderson ดอกเล็ก. (ป., ส. สุรภิ). |
สารภีทะเล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | ดู กระทิง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๒. | สารภีทะเล ดู กระทิง ๒. |
สารภีป่า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ดู พะวา เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา. | สารภีป่า ดู พะวา. |
สารไมย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ยอ-ยัก | [สาระไม] เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สารเมยฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต สารเมย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก. | สารไมย [สาระไม] น. หมา. (ป. สารเมยฺย; ส. สารเมย). |
สารวัตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [สาระวัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ตรวจงานทั่วไป เช่น สารวัตรจราจร สารวัตรปราบปราม. | สารวัตร [สาระวัด] น. ผู้ตรวจงานทั่วไป เช่น สารวัตรจราจร สารวัตรปราบปราม. |
สารวัตรทหาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร. | สารวัตรทหาร น. ทหารที่ได้รับคำสั่งจากผู้มีอำนาจสั่งใช้ให้ปฏิบัติหน้าที่ เช่น สอดส่อง ตรวจตรา ตักเตือน จับกุมทหาร ข้าราชการพลเรือนและคนงานสังกัดกระทรวงกลาโหมที่กระทำความผิดหรือไม่อยู่ในระเบียบวินัยซึ่งอยู่ภายนอกที่ตั้งหน่วยทหาร. |
สารวัตรนักเรียน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่ตรวจตราดูแลและควบคุมความประพฤติของนักเรียน. | สารวัตรนักเรียน น. เจ้าหน้าที่ตรวจตราดูแลและควบคุมความประพฤติของนักเรียน. |
สาระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสำคัญ, ข้อใหญ่ใจความ, เช่น เขียนมายืดยาวแต่มีสาระน้อย ทำดีย่อมได้ดีเป็นสาระสำคัญของเรื่องนี้; ประโยชน์ เช่น เรื่องไม่เป็นสาระ ไร้สาระ. | สาระ น. ส่วนสำคัญ, ข้อใหญ่ใจความ, เช่น เขียนมายืดยาวแต่มีสาระน้อย ทำดีย่อมได้ดีเป็นสาระสำคัญของเรื่องนี้; ประโยชน์ เช่น เรื่องไม่เป็นสาระ ไร้สาระ. |
สาระโกก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โกงเกะกะเกเร, เป็นพาล. | สาระโกก ว. โกงเกะกะเกเร, เป็นพาล. |
สาระแน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่น, ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน, เช่น เขากำลังทำงานกันอยู่ดี ๆ ก็สาระแนเข้าไปทำงานเขาเสีย; ยุแหย่ให้เขาผิดใจกัน, ยุยงให้เขาแตกกัน, เช่น พูดอะไรให้ฟัง ก็สาระแนไปบอกเขาหมด. | สาระแน ว. ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องของคนอื่น, ชอบเข้าไปยุ่งในเรื่องที่มิใช่หน้าที่ของตน, เช่น เขากำลังทำงานกันอยู่ดี ๆ ก็สาระแนเข้าไปทำงานเขาเสีย; ยุแหย่ให้เขาผิดใจกัน, ยุยงให้เขาแตกกัน, เช่น พูดอะไรให้ฟัง ก็สาระแนไปบอกเขาหมด. |
สาระพา, สาระพาเฮโล สาระพา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา สาระพาเฮโล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ฮอ-นก-ฮูก-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, เฮโลสาระพา ก็ว่า. | สาระพา, สาระพาเฮโล ว. เสียงร้องพร้อม ๆ กันเพื่อบอกจังหวะให้ออกแรงพร้อมกันเมื่อเวลาลากหรือยกของหนักเป็นต้น, เฮโลสาระพา ก็ว่า. |
สาระยำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ. (พระไชยสุริยา). | สาระยำ ก. ชั่วมาก เช่น ผู้เฒ่าเหล่าเมธา ว่าใบ้บ้าสาระยำ. (พระไชยสุริยา). |
สาระวอน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดออดอ้อน เช่น สาระวอนอยู่นั่นแล้ว ไม่รู้จักเลิก. | สาระวอน ก. พูดออดอ้อน เช่น สาระวอนอยู่นั่นแล้ว ไม่รู้จักเลิก. |
สาระวารี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ดอกการะเกด. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | สาระวารี น. ดอกการะเกด. (ช.). |
สาระสะมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ดอกชมพู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | สาระสะมา น. ดอกชมพู่. (ช.). |
สารัตถ, สารัตถะ สารัตถ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง สารัตถะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ | [สารัดถะ] เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อหาหลัก, ใจความสําคัญ, ความคิดสําคัญของเรื่อง. | สารัตถ, สารัตถะ [สารัดถะ] น. เนื้อหาหลัก, ใจความสําคัญ, ความคิดสําคัญของเรื่อง. |
สารัตถประโยชน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร, สารประโยชน์ ก็ว่า. | สารัตถประโยชน์ น. ประโยชน์ที่เป็นแก่นสาร, สารประโยชน์ ก็ว่า. |
สารัตถศึกษา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. | สารัตถศึกษา น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. |
สารัทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปั่นป่วน, ฉุนเฉียว, รุนแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สารัทธ์ ว. ปั่นป่วน, ฉุนเฉียว, รุนแรง. (ป.). |
สารัมภ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง เริ่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สารัมภ์ ก. เริ่ม. (ป.). |
สาราณีย, สาราณียะ สาราณีย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก สาราณียะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [นียะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺมรณีย เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก. | สาราณีย, สาราณียะ [นียะ] ว. เป็นที่ตั้งแห่งความระลึก. (ป.; ส. สฺมรณีย). |
สาราณียธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาราณีย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก + ภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า . | สาราณียธรรม น. ธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน. (ป. สาราณีย + ส. ธรฺม). |
สาราณียกร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [นียะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษาเป็นต้น ทําหน้าที่อย่างบรรณาธิการ. | สาราณียกร [นียะกอน] น. ตําแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษาเป็นต้น ทําหน้าที่อย่างบรรณาธิการ. |
สารานุกรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลําดับอักษร.(อ. encyclopaedia). | สารานุกรม น. หนังสือที่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพาะแขนงใดแขนงหนึ่ง มักเรียงตามลําดับอักษร.(อ. encyclopaedia). |
สารีริกธาตุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | [ริกกะทาด] เป็นคำนาม หมายถึง พระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า, ใช้ว่า พระบรมสารีริกธาตุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สารีริก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ + ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ . | สารีริกธาตุ [ริกกะทาด] น. พระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า, ใช้ว่า พระบรมสารีริกธาตุ. (ป. สารีริก + ธาตุ). |
สารูป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะ, สมควร, เช่น สมณสารูป ว่า สมควรแก่สมณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สารุปฺป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา และมาจากภาษาสันสกฤต สารูปฺย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | สารูป ว. เหมาะ, สมควร, เช่น สมณสารูป ว่า สมควรแก่สมณะ. (ป. สารุปฺป; ส. สารูปฺย). |
สาโรช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง | [โรด] เป็นคำนาม หมายถึง บัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สโรช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง. | สาโรช [โรด] น. บัว. (ป., ส. สโรช). |
สาละ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Shorea robusta Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาละ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Shorea robusta Roxb. ในวงศ์ Dipterocarpaceae. (ป., ส.). |
สาละวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง วุ่นอยู่กับการงาน เช่น มัวสาละวนอยู่กับการเย็บเสื้อจนลืมทำกับข้าว. | สาละวน ก. วุ่นอยู่กับการงาน เช่น มัวสาละวนอยู่กับการเย็บเสื้อจนลืมทำกับข้าว. |
สาลิ, สาลี ๑ สาลิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ สาลี ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าว; ข้าวสาลี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สาลิ, สาลี ๑ น. ข้าว; ข้าวสาลี. (ป.). |
สาลิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Acridotheres tristis ในวงศ์ Sturnidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกกิ้งโครง ลําตัวสีนํ้าตาลเข้ม หัวสีดํา ขอบตาและปากสีเหลือง มีแต้มขาวที่ปีก ปลายหางสีขาว กินแมลงและผลไม้ พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย, เอี้ยง หรือ เอี้ยงสาริกา ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศาริกา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา. | สาลิกา ๑ น. ชื่อนกชนิด Acridotheres tristis ในวงศ์ Sturnidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับนกกิ้งโครง ลําตัวสีนํ้าตาลเข้ม หัวสีดํา ขอบตาและปากสีเหลือง มีแต้มขาวที่ปีก ปลายหางสีขาว กินแมลงและผลไม้ พบทั่วทุกภาคของประเทศไทย, เอี้ยง หรือ เอี้ยงสาริกา ก็เรียก. (ป.; ส. ศาริกา). |
สาลิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตะกรุดดอกเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง ใช้ในทางเมตตามหานิยม. | สาลิกา ๒ น. ชื่อตะกรุดดอกเล็ก ๆ ชนิดหนึ่ง ใช้ในทางเมตตามหานิยม. |
สาลิกาแก้ว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. | สาลิกาแก้ว น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. |
สาลิกาเขมร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. | สาลิกาเขมร น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. |
สาลิกาชมเดือน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. | สาลิกาชมเดือน น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. |
สาลินี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๑ คํา วรรคหน้ามี ๕ คํา เป็นครุล้วน วรรคหลังมี ๖ คํา คําที่ ๑ และคําที่ ๔ เป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ เช่น พราหมณ์ครูรู้สังเกต ตระหนักเหตุถนัดครัน ราชาวัชชีสรร- พจักสู้พินาศสม. (สามัคคีเภท). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สาลินี น. ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๑ คํา วรรคหน้ามี ๕ คํา เป็นครุล้วน วรรคหลังมี ๖ คํา คําที่ ๑ และคําที่ ๔ เป็นลหุ นอกนั้นเป็นครุ เช่น พราหมณ์ครูรู้สังเกต ตระหนักเหตุถนัดครัน ราชาวัชชีสรร- พจักสู้พินาศสม. (สามัคคีเภท). (ป.). |
สาลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวสาลี. ในวงเล็บ ดู ข้าวสาลี เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ที่ ข้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | สาลี ๒ น. ข้าวสาลี. (ดู ข้าวสาลี ที่ ข้าว). |
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Pyrus pyriflora L. ในวงศ์ Rosaceae ผลเนื้อกรอบ รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย กลิ่นหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | สาลี่ ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Pyrus pyriflora L. ในวงศ์ Rosaceae ผลเนื้อกรอบ รสหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย กลิ่นหอม. (จ.). |
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีตีกับไข่และน้ำตาลจนฟู แล้วนึ่งจนสุก. | สาลี่ ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีตีกับไข่และน้ำตาลจนฟู แล้วนึ่งจนสุก. |
สาลี่กรอบ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีนวดกับไข่ มะพร้าวผสมน้ำตาล และกะทิ ผิงหรืออบจนหน้าเกรียม. | สาลี่กรอบ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลีนวดกับไข่ มะพร้าวผสมน้ำตาล และกะทิ ผิงหรืออบจนหน้าเกรียม. |
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบรรทุกของหนักมี ๒ ล้อ ใช้ลากหรือผลักไป. | สาลี่ ๓ น. เครื่องบรรทุกของหนักมี ๒ ล้อ ใช้ลากหรือผลักไป. |
สาลี่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๔ | เป็นคำนาม หมายถึง คันเหล็กติดอยู่บนหลังคารถราง ปลายมีลูกรอกยันอยู่กับสายไฟฟ้า เพื่อเป็นทางให้กระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องรถ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ trolley เขียนว่า ที-อา-โอ-แอล-แอล-อี-วาย. | สาลี่ ๔ น. คันเหล็กติดอยู่บนหลังคารถราง ปลายมีลูกรอกยันอยู่กับสายไฟฟ้า เพื่อเป็นทางให้กระแสไฟฟ้าเข้าเครื่องรถ. (อ. trolley). |
สาลู เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าขาวเนื้อบางละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลม เรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทําเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย. | สาลู น. ผ้าขาวเนื้อบางละเอียด, ในปัจจุบันอนุโลม เรียกผ้าขาวบางเนื้อนุ่ม มักใช้ทําเป็นผ้าอ้อม ว่า ผ้าสาลู ด้วย. |
สาโลหิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สายโลหิต, มักใช้เข้าคู่กับคํา ญาติ เป็น ญาติสาโลหิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สาโลหิต (แบบ) น. สายโลหิต, มักใช้เข้าคู่กับคํา ญาติ เป็น ญาติสาโลหิต. (ป.). |
สาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว โตเป็นสาวแล้วยังซุกซนเหมือนเด็ก ๆ, ถ้ายังไม่ได้แต่งงาน ใช้คําว่า นางสาว นําหน้าชื่อ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนและสัตว์ที่มีท้องครั้งแรกว่า ท้องสาว, เรียกต้นไม้ที่เริ่มผลิดอกออกผลครั้งแรก เช่น หมากสาว มะพร้าวสาว, เรียกหญิงที่ยังไม่แก่ตามวัย เช่น แม้จะอายุมากแล้ว แต่ก็ยังดูสาวอยู่, เรียกหญิงที่ยังไม่แต่งงาน เช่น จะพูดอะไรให้เกรงใจเขาบ้าง ถึงเขาจะอายุมากแล้วแต่ก็ยังเป็นสาวอยู่. | สาว ๑ น. หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว โตเป็นสาวแล้วยังซุกซนเหมือนเด็ก ๆ, ถ้ายังไม่ได้แต่งงาน ใช้คําว่า นางสาว นําหน้าชื่อ. ว. เรียกคนและสัตว์ที่มีท้องครั้งแรกว่า ท้องสาว, เรียกต้นไม้ที่เริ่มผลิดอกออกผลครั้งแรก เช่น หมากสาว มะพร้าวสาว, เรียกหญิงที่ยังไม่แก่ตามวัย เช่น แม้จะอายุมากแล้ว แต่ก็ยังดูสาวอยู่, เรียกหญิงที่ยังไม่แต่งงาน เช่น จะพูดอะไรให้เกรงใจเขาบ้าง ถึงเขาจะอายุมากแล้วแต่ก็ยังเป็นสาวอยู่. |
สาวแก่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีอายุเลยวัยสาว แต่ยังไม่ได้แต่งงาน. | สาวแก่ น. หญิงที่มีอายุเลยวัยสาว แต่ยังไม่ได้แต่งงาน. |
สาวใช้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงลูกจ้างช่วยแม่บ้านทำงาน. | สาวใช้ น. หญิงลูกจ้างช่วยแม่บ้านทำงาน. |
สาวน้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยรุ่น. | สาวน้อย น. หญิงที่อยู่ในวัยรุ่น. |
สาวน้อยร้อยชั่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่มีค่าตัวสูง มีคุณสมบัติและรูปสมบัติเป็นที่ยกย่อง. | สาวน้อยร้อยชั่ง น. หญิงที่มีค่าตัวสูง มีคุณสมบัติและรูปสมบัติเป็นที่ยกย่อง. |
สาวทึนทึก, สาวทึมทึก สาวทึนทึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ สาวทึมทึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง สาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน, สาวเทื้อ ก็ว่า. | สาวทึนทึก, สาวทึมทึก น. สาวใหญ่ที่ยังไม่ได้แต่งงาน, สาวเทื้อ ก็ว่า. |
สาวเทื้อ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง สาวแก่, สาวทึนทึก, สาวทึมทึก. | สาวเทื้อ น. สาวแก่, สาวทึนทึก, สาวทึมทึก. |
สาวพรหมจารี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง สาวที่ยังไม่มีสามี, หญิงที่ยังไม่มีระดู, เช่น ตามที่ถือกันว่า ผู้ซึ่งสำหรับกวนข้าวทิพย์นั้นต้องเป็นสาวพรหมจารี คือที่ยังไม่มีสามีนั้นประการหนึ่ง อีกนัยหนึ่งคือหญิงซึ่งยังไม่มีระดูกล่าวว่าเป็นพรหมจารีแท้ (สิบสองเดือน); สาวบริสุทธิ์, หญิงที่ยังบริสุทธิ์, หญิงที่ยังไม่เคยร่วมประเวณี. | สาวพรหมจารี น. สาวที่ยังไม่มีสามี, หญิงที่ยังไม่มีระดู, เช่น ตามที่ถือกันว่า ผู้ซึ่งสำหรับกวนข้าวทิพย์นั้นต้องเป็นสาวพรหมจารี คือที่ยังไม่มีสามีนั้นประการหนึ่ง อีกนัยหนึ่งคือหญิงซึ่งยังไม่มีระดูกล่าวว่าเป็นพรหมจารีแท้ (สิบสองเดือน); สาวบริสุทธิ์, หญิงที่ยังบริสุทธิ์, หญิงที่ยังไม่เคยร่วมประเวณี. |
สาวรุ่น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่เพิ่งแตกเนื้อสาว. | สาวรุ่น น. หญิงที่เพิ่งแตกเนื้อสาว. |
สาวศรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สาววัยรุ่น. | สาวศรี (กลอน) น. สาววัยรุ่น. |
สาวศรีสาวใช้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง สาวใช้. | สาวศรีสาวใช้ (สำ) น. สาวใช้. |
สาวสะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาววัยรุ่นแต่งตัวใส่เกี้ยว นุ่งผ้าลายพื้นเขียว ห่มผ้าแพรพื้นแดง เดินประนมมือตามกระบวนแห่เต็มยศขนาบพระราชยานในพระราชพิธีโสกันต์, นางแต่งตัวสะ หรือ นางสะ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงสาวรุ่น. | สาวสะ น. หญิงสาววัยรุ่นแต่งตัวใส่เกี้ยว นุ่งผ้าลายพื้นเขียว ห่มผ้าแพรพื้นแดง เดินประนมมือตามกระบวนแห่เต็มยศขนาบพระราชยานในพระราชพิธีโสกันต์, นางแต่งตัวสะ หรือ นางสะ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงสาวรุ่น. |
สาวสะเทิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยระหว่างสาวกับเด็กก้ำกึ่งกัน. | สาวสะเทิน น. หญิงที่อยู่ในวัยระหว่างสาวกับเด็กก้ำกึ่งกัน. |
สาวแส้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาว. | สาวแส้ น. หญิงสาว. |
สาวใหญ่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่อยู่ในวัยกลางคน. | สาวใหญ่ น. หญิงที่อยู่ในวัยกลางคน. |
สาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ชักหรือดึงสิ่งที่เป็นเส้นยาว ๆ ออกจากที่เข้าหาตัว เช่น สาวไหม สาวเชือก; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สาวความ. | สาว ๒ ก. ชักหรือดึงสิ่งที่เป็นเส้นยาว ๆ ออกจากที่เข้าหาตัว เช่น สาวไหม สาวเชือก; โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สาวความ. |
สาวก้าว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ก้าวยาวอย่างเร็ว, เดินเร็ว. | สาวก้าว ก. ก้าวยาวอย่างเร็ว, เดินเร็ว. |
สาวเท้า เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ก้าวยาว ๆ เร่งฝีเท้าให้เร็ว. | สาวเท้า ก. ก้าวยาว ๆ เร่งฝีเท้าให้เร็ว. |
สาวไส้ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง นําความลับที่ไม่ควรเปิดเผยไปให้คนอื่นรู้, มักใช้ในทางไม่ดี. | สาวไส้ ก. นําความลับที่ไม่ควรเปิดเผยไปให้คนอื่นรู้, มักใช้ในทางไม่ดี. |
สาวไส้ให้กากิน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง นำความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผยให้คนอื่นรู้เป็นการประจานตนหรือพรรคพวกของตน. | สาวไส้ให้กากิน (สำ) ก. นำความลับของฝ่ายตนไปเปิดเผยให้คนอื่นรู้เป็นการประจานตนหรือพรรคพวกของตน. |
สาว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๓ | [สาวะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีดําแดง, สีนํ้าตาลแก่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺยาว เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | สาว ๓ [สาวะ] ว. สีดําแดง, สีนํ้าตาลแก่. (ป.; ส. ศฺยาว). |
สาวก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ศิษย์ของศาสดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺราวก เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่. | สาวก น. ศิษย์ของศาสดา. (ป.; ส. ศฺราวก). |
สาวกระทืบหอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L.. | สาวกระทืบหอ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L.. |
สาวน้อยเล่นน้ำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | สาวน้อยเล่นน้ำ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
สาวนะ ๑, ศรวณะ, ศระวณะ สาวนะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ศรวณะ เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ศระวณะ เขียนว่า สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [สาวะนะ, สะระวะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปหามผีหรือโลง, ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี ก็เรียก. | สาวนะ ๑, ศรวณะ, ศระวณะ [สาวะนะ, สะระวะนะ] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปหามผีหรือโลง, ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี ก็เรียก. |
สาวนะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [สาวะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เดือน ๙. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺราวณ เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-เนน. | สาวนะ ๒ [สาวะนะ] น. เดือน ๙. (ป.; ส. ศฺราวณ). |
สาวิกา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ศิษย์ผู้หญิงของศาสดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺราวิกา เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา. | สาวิกา น. ศิษย์ผู้หญิงของศาสดา. (ป.; ส. ศฺราวิกา). |
สาวิตร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [วิด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวเนื่องกับพระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | สาวิตร [วิด] ว. เกี่ยวเนื่องกับพระอาทิตย์. (ส.). |
สาวิตรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [วิดตฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง คําสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | สาวิตรี [วิดตฺรี] น. คําสดุดีพระอาทิตย์บทหนึ่งในฤคเวท. (ส.). |
สาสน, สาสน, สาสน์, สาส์น สาสน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู สาสน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู สาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด สาส์น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู | [สาน, สาสะนะ, สาดสะนะ, สาด, สาน] เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่ง, คําสั่งสอน, เช่น สาสนธรรม; จดหมายของประมุขของประเทศหรือประมุขสงฆ์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, ถ้าเป็นจดหมายของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชสาส์น, เขียนเป็น พระราชสาสน หรือ พระราชสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของประธานาธิบดี เรียกว่า อักษรสาส์น, เขียนเป็น อักษรสาสน หรือ อักษรสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า สมณสาสน์, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า เรียกว่า พระสมณสาสน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สาสน, สาสน, สาสน์, สาส์น [สาน, สาสะนะ, สาดสะนะ, สาด, สาน] น. คําสั่ง, คําสั่งสอน, เช่น สาสนธรรม; จดหมายของประมุขของประเทศหรือประมุขสงฆ์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, ถ้าเป็นจดหมายของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชสาส์น, เขียนเป็น พระราชสาสน หรือ พระราชสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของประธานาธิบดี เรียกว่า อักษรสาส์น, เขียนเป็น อักษรสาสน หรือ อักษรสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า สมณสาสน์, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า เรียกว่า พระสมณสาสน์. (ป.). |
สาสนธรรม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง คําสั่งสอนทางศาสนา. | สาสนธรรม น. คําสั่งสอนทางศาสนา. |
สาสนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [สาดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง ศาสนา, คําสั่งสอนของศาสดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สาสน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต ศาสน เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู. | สาสนา [สาดสะหฺนา] น. ศาสนา, คําสั่งสอนของศาสดา. (ป. สาสน; ส. ศาสน). |
สาสม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า | [สาสม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะ, สมควร, เช่น ต้องลงโทษให้สาสมแก่ความผิด. | สาสม [สาสม] ว. เหมาะ, สมควร, เช่น ต้องลงโทษให้สาสมแก่ความผิด. |
สาหร่าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีลําต้น ใบ และรากที่แท้จริง แต่มีคลอโรฟิลล์ บ้างเป็นเซลล์เดียว บ้างเป็นกลุ่มเซลล์ เป็นสาย หรือเป็นต้นคล้ายพืชชั้นสูง ขึ้นทั่วไปในนํ้าหรือที่ชื้นแฉะ เช่น สาหร่ายไส้ไก่ [Enteromorpha intestinalis (L.) Link] ในวงศ์ Ulvaceae; ชื่อพืชชั้นสูงที่มีดอกบางชนิดซึ่งขึ้นอยู่ในนํ้า เช่น สาหร่ายพุงชะโด (Ceratophyllum demersum L.) ในวงศ์ Ceratophyllaceae สาหร่ายเส้นด้าย (Najas graminea Del.) ในวงศ์ Najadaceae. | สาหร่าย ๑ น. ชื่อพืชชั้นตํ่าที่ไม่มีลําต้น ใบ และรากที่แท้จริง แต่มีคลอโรฟิลล์ บ้างเป็นเซลล์เดียว บ้างเป็นกลุ่มเซลล์ เป็นสาย หรือเป็นต้นคล้ายพืชชั้นสูง ขึ้นทั่วไปในนํ้าหรือที่ชื้นแฉะ เช่น สาหร่ายไส้ไก่ [Enteromorpha intestinalis (L.) Link] ในวงศ์ Ulvaceae; ชื่อพืชชั้นสูงที่มีดอกบางชนิดซึ่งขึ้นอยู่ในนํ้า เช่น สาหร่ายพุงชะโด (Ceratophyllum demersum L.) ในวงศ์ Ceratophyllaceae สาหร่ายเส้นด้าย (Najas graminea Del.) ในวงศ์ Najadaceae. |
สาหร่าย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายประเภทเครื่องห้อยแบบหนึ่งนิยมประดับริมเสามุขเด็จพระมหาปราสาทหรือพระอุโบสถเป็นต้น. | สาหร่าย ๒ น. ชื่อลายประเภทเครื่องห้อยแบบหนึ่งนิยมประดับริมเสามุขเด็จพระมหาปราสาทหรือพระอุโบสถเป็นต้น. |
สาหรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [หฺรี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, น่ารัก, ดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | สาหรี [หฺรี] ว. งาม, น่ารัก, ดี. (ช.). |
ส่าหรี เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [หฺรี] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแต่งกายสตรีอินเดียแบบหนึ่ง เป็นผ้าชิ้นยาวประมาณ ๕๖ เมตร ใช้เป็นทั้งผ้านุ่งและผ้าห่ม ส่วนที่นุ่ง ยาวกรอมส้น พันรอบตัวและจีบข้างหน้าเหน็บไว้ที่เอว ส่วนผ้าห่มใช้ชายผ้าที่เหลือพาดอกและสะพายบ่า โดยมากเป็นบ่าซ้ายห้อยชายไปข้างหลัง ชายที่ห้อยดึงมาคลุมหัวก็ได้. | ส่าหรี [หฺรี] น. เครื่องแต่งกายสตรีอินเดียแบบหนึ่ง เป็นผ้าชิ้นยาวประมาณ ๕๖ เมตร ใช้เป็นทั้งผ้านุ่งและผ้าห่ม ส่วนที่นุ่ง ยาวกรอมส้น พันรอบตัวและจีบข้างหน้าเหน็บไว้ที่เอว ส่วนผ้าห่มใช้ชายผ้าที่เหลือพาดอกและสะพายบ่า โดยมากเป็นบ่าซ้ายห้อยชายไปข้างหลัง ชายที่ห้อยดึงมาคลุมหัวก็ได้. |
สาหัตถ, สาหัตถิก สาหัตถ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง สาหัตถิก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [ถะ, ถิกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําด้วยมือของตนเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สาหัตถ, สาหัตถิก [ถะ, ถิกะ] ว. ที่ทําด้วยมือของตนเอง. (ป.). |
สาหัส เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | [หัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้ายแรง เช่น บาดเจ็บสาหัส, รุนแรงเกินควร เช่น ถูกลงโทษอย่างสาหัส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สาหัส [หัด] ว. ร้ายแรง เช่น บาดเจ็บสาหัส, รุนแรงเกินควร เช่น ถูกลงโทษอย่างสาหัส. (ป., ส.). |
สาหัสสากรรจ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-จอ-จาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสนสาหัส, ร้ายแรงมาก, คอขาดบาดตาย, เช่น ได้รับทุกข์ทรมานอย่างสาหัสสากรรจ์, โดยปริยายหมายความว่า ลำบากยิ่ง เช่น ทางนี้ทุรกันดารสาหัสสากรรจ์ บุกป่าฝ่าดงอย่างสาหัสสากรรจ์. | สาหัสสากรรจ์ ว. แสนสาหัส, ร้ายแรงมาก, คอขาดบาดตาย, เช่น ได้รับทุกข์ทรมานอย่างสาหัสสากรรจ์, โดยปริยายหมายความว่า ลำบากยิ่ง เช่น ทางนี้ทุรกันดารสาหัสสากรรจ์ บุกป่าฝ่าดงอย่างสาหัสสากรรจ์. |
สาเหตุ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | [สาเหด] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นเหตุ เช่น ความประมาทเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุ บุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เป็นโรคมะเร็ง. | สาเหตุ [สาเหด] น. ต้นเหตุ เช่น ความประมาทเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุ บุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เป็นโรคมะเร็ง. |
ส่าเหล้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ดูใน ส่า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา. | ส่าเหล้า ๑ ดูใน ส่า. |
ส่าเหล้า เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos cochinchinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ใบด้านล่างเป็นคราบขาว ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม. | ส่าเหล้า ๒ น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Desmos cochinchinensis Lour. ในวงศ์ Annonaceae ใบด้านล่างเป็นคราบขาว ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม. |
สาแหรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | [แหฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใส่ของสําหรับหิ้วหรือหาบเป็นต้น ปรกติทําด้วยหวาย มี ๔ สาย ตอนบนทําเป็นหูสําหรับหิ้วหรือสอดไม้คาน ตอนล่างขัดกันเป็นสี่เหลี่ยมสําหรับวางกระจาดเป็นต้น. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร สงฺแรก เขียนว่า สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่. | สาแหรก ๑ [แหฺรก] น. เครื่องใส่ของสําหรับหิ้วหรือหาบเป็นต้น ปรกติทําด้วยหวาย มี ๔ สาย ตอนบนทําเป็นหูสําหรับหิ้วหรือสอดไม้คาน ตอนล่างขัดกันเป็นสี่เหลี่ยมสําหรับวางกระจาดเป็นต้น. (เทียบ ข. สงฺแรก). |
สาแหรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชมพู่ชนิด Syzygium malaccensis (L.) Merr. et L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae ผลใหญ่ สีชมพู เนื้อหนา มีลายสีแดงเข้มเป็นเส้น ๆ ตามยาว. | สาแหรก ๒ น. ชื่อชมพู่ชนิด Syzygium malaccensis (L.) Merr. et L.M. Perry ในวงศ์ Myrtaceae ผลใหญ่ สีชมพู เนื้อหนา มีลายสีแดงเข้มเป็นเส้น ๆ ตามยาว. |
สาแหรก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ร่องที่อยู่บนข้าวเปลือก ถ้าร่องนั้นลึกก็จะปรากฏบนเมล็ดข้าวด้วย. | สาแหรก ๓ น. ร่องที่อยู่บนข้าวเปลือก ถ้าร่องนั้นลึกก็จะปรากฏบนเมล็ดข้าวด้วย. |
สาฬุระ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง หมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; กบ, เขียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สาลูร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ ว่า กบ, ศาลูร ว่า กบ, เขียด . | สาฬุระ น. หมา. (ป.); กบ, เขียด. (ส. สาลูร ว่า กบ, ศาลูร ว่า กบ, เขียด). |
สำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ซับซ้อนกัน, ปะปนกัน, ไม่เป็นลําดับ, ไม่เป็นระเบียบ. | สำ ก. ซับซ้อนกัน, ปะปนกัน, ไม่เป็นลําดับ, ไม่เป็นระเบียบ. |
สำส่อน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ปะปนโดยไม่เลือกเช่นในการคบค้าสมาคมหรือในการซ่องเสพเป็นต้น เช่น สำส่อนทางเพศ จะเป็นเอดส์ไม่รู้ตัว อย่าสำส่อนในการกินอาหาร. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ปะปนในลักษณะเช่นนั้น เช่น เที่ยวสำส่อน กินสำส่อน. | สำส่อน ก. ปะปนโดยไม่เลือกเช่นในการคบค้าสมาคมหรือในการซ่องเสพเป็นต้น เช่น สำส่อนทางเพศ จะเป็นเอดส์ไม่รู้ตัว อย่าสำส่อนในการกินอาหาร. ว. ที่ปะปนในลักษณะเช่นนั้น เช่น เที่ยวสำส่อน กินสำส่อน. |
ส่ำ เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, เหล่า, พวก, ชนิด, เช่น สํ่าสัตว์. | ส่ำ น. หมู่, เหล่า, พวก, ชนิด, เช่น สํ่าสัตว์. |
สำคัญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นพิเศษกว่าธรรมดา เช่น เรื่องสําคัญ, มีคุณค่า เช่น ของสําคัญ, มีชื่อเสียง เช่น คนสําคัญ; ควรกําหนดจดจํา เช่น หัวข้อสำคัญ. เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าใจ เช่น สำคัญตนผิด สำคัญว่าเชือกเป็นงู, คะเน, คาดว่า, เช่น ลงทุนไปแล้วก็สำคัญว่าจะได้กำไรมาก. เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมาย, เครื่องจดจํา, เช่น ถือหลักเขตเป็นสําคัญ ให้ไว้เป็นสำคัญ ประทับตราบัวแก้วไว้เป็นสำคัญ. | สำคัญ ว. เป็นพิเศษกว่าธรรมดา เช่น เรื่องสําคัญ, มีคุณค่า เช่น ของสําคัญ, มีชื่อเสียง เช่น คนสําคัญ; ควรกําหนดจดจํา เช่น หัวข้อสำคัญ. ก. เข้าใจ เช่น สำคัญตนผิด สำคัญว่าเชือกเป็นงู, คะเน, คาดว่า, เช่น ลงทุนไปแล้วก็สำคัญว่าจะได้กำไรมาก. น. เครื่องหมาย, เครื่องจดจํา, เช่น ถือหลักเขตเป็นสําคัญ ให้ไว้เป็นสำคัญ ประทับตราบัวแก้วไว้เป็นสำคัญ. |
สำซ่าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ ส้าง ก็เรียก. | สำซ่าง น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมเมรุ, คดซ่าง คดสร้าง ซ่าง สร้าง หรือ ส้าง ก็เรียก. |
สำแดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดง, ทําให้เห็นปรากฏ, เช่น สําแดงฤทธิ์ สําแดงเดช ปีศาจสำแดงตน. (แผลงมาจาก แสดง). | สำแดง ๑ ก. แสดง, ทําให้เห็นปรากฏ, เช่น สําแดงฤทธิ์ สําแดงเดช ปีศาจสำแดงตน. (แผลงมาจาก แสดง). |
สำแดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ของแสลงที่ทำให้โรคกำเริบ, สำแลง ก็ว่า, ใช้ในคำว่า ผิดสำแดง หรือ ผิดสำแลง. | สำแดง ๒ น. ของแสลงที่ทำให้โรคกำเริบ, สำแลง ก็ว่า, ใช้ในคำว่า ผิดสำแดง หรือ ผิดสำแลง. |
สำแดง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | คํากล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสํานวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สําแดงอานนท์. | สำแดง ๓ คํากล่าวประกอบชื่อผู้อื่นซึ่งปรากฏอยู่เฉพาะหน้า, เป็นสํานวนแปลบาลีเก่า ใช้ในที่ซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสกับพระสาวก เช่น สําแดงอานนท์. |
สำทับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง ยํ้า, กำชับ, เช่น เขาสั่งให้ทำงานแล้วสำทับว่าต้องเสร็จใน ๓ วัน, ซ้ำเติม เช่น ลูกถูกแม่ตีแล้วพ่อยังสำทับว่าถ้าทำอีกก็จะถูกตีอีก, ขู่ เช่น ผู้ร้ายสำทับว่า อย่าไปบอกตำรวจมิฉะนั้นจะฆ่าปิดปาก. | สำทับ ก. ยํ้า, กำชับ, เช่น เขาสั่งให้ทำงานแล้วสำทับว่าต้องเสร็จใน ๓ วัน, ซ้ำเติม เช่น ลูกถูกแม่ตีแล้วพ่อยังสำทับว่าถ้าทำอีกก็จะถูกตีอีก, ขู่ เช่น ผู้ร้ายสำทับว่า อย่าไปบอกตำรวจมิฉะนั้นจะฆ่าปิดปาก. |
สำนวด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | [สําหฺนวด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง สวด. (แผลงมาจาก สวด). | สำนวด [สําหฺนวด] (กลอน) ก. สวด. (แผลงมาจาก สวด). |
สำนวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สํานวนโวหาร เช่น สารคดีเรื่องนี้สํานวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สํานวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ; คดี เช่น ปิดสำนวน; ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รําไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคําที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สํานวนฝรั่ง สํานวนบาลี, ชั้นเชิงหรือท่วงทํานองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สํานวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สํานวนยาขอบ สํานวนไม้ เมืองเดิม; ลักษณนามใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ เช่น อิเหนามีหลายสํานวน บทความ ๒ สํานวน. | สำนวน น. ถ้อยคําที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สํานวนโวหาร เช่น สารคดีเรื่องนี้สํานวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สํานวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ; คดี เช่น ปิดสำนวน; ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รําไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคําที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สํานวนฝรั่ง สํานวนบาลี, ชั้นเชิงหรือท่วงทํานองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สํานวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สํานวนยาขอบ สํานวนไม้ เมืองเดิม; ลักษณนามใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ เช่น อิเหนามีหลายสํานวน บทความ ๒ สํานวน. |
สำนวนความ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาคําคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่คู่ความหรือศาลหรือเจ้าพนักงานศาลได้ทําขึ้น ซึ่งประกอบเป็นสํานวนของคดี. | สำนวนความ (กฎ) น. บรรดาคําคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่คู่ความหรือศาลหรือเจ้าพนักงานศาลได้ทําขึ้น ซึ่งประกอบเป็นสํานวนของคดี. |
สำนอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง รับผิดชอบ, ต้องรับใช้แทน. (แผลงมาจาก สนอง). | สำนอง ก. รับผิดชอบ, ต้องรับใช้แทน. (แผลงมาจาก สนอง). |
สำนัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่อาศัย เช่น อยู่สำนักวัดมหาธาตุ, ที่ทําการ เช่น สํานักนายกรัฐมนตรี; แหล่งศึกษาอบรม เช่น สํานักวิปัสสนาวัดปากน้ำ สำนักทิศาปาโมกข์. เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ เช่น เวลานี้สํานักที่ไหน. (โบ เขียนเป็น สํานักนิ). | สำนัก น. ที่อยู่อาศัย เช่น อยู่สำนักวัดมหาธาตุ, ที่ทําการ เช่น สํานักนายกรัฐมนตรี; แหล่งศึกษาอบรม เช่น สํานักวิปัสสนาวัดปากน้ำ สำนักทิศาปาโมกข์. ก. อยู่ เช่น เวลานี้สํานักที่ไหน. (โบ เขียนเป็น สํานักนิ). |
สำนักงาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ทำการของรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทห้างร้านเป็นต้น เช่น สำนักงานสลากกินแบ่ง สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน สำนักงานทนายความ. | สำนักงาน น. สถานที่ทำการของรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทห้างร้านเป็นต้น เช่น สำนักงานสลากกินแบ่ง สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน สำนักงานทนายความ. |
สำนักพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ดำเนินธุรกิจจัดพิมพ์และจำหน่ายตำราหรือหนังสือสารคดี นวนิยาย เป็นต้น. | สำนักพิมพ์ น. สถานที่ดำเนินธุรกิจจัดพิมพ์และจำหน่ายตำราหรือหนังสือสารคดี นวนิยาย เป็นต้น. |
สำนักสงฆ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา. | สำนักสงฆ์ น. วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา. |
สำนาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียง, เสียงพูด. | สำนาน น. เสียง, เสียงพูด. |
สำนึก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกซาบซึ้ง เช่น สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สำนึกถึงบุญคุณของพ่อแม่ครูบาอาจารย์. | สำนึก ก. รู้สึกซาบซึ้ง เช่น สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สำนึกถึงบุญคุณของพ่อแม่ครูบาอาจารย์. |
สำนึกผิด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกตระหนักในความผิดที่ได้ทำไป เช่น ผู้ร้ายสำนึกผิดจึงได้สารภาพ, บางทีก็ใช้ว่า สำนึก เช่น ทำผิดถูกลงโทษแล้วยังไม่สำนึกอีก. | สำนึกผิด ก. รู้สึกตระหนักในความผิดที่ได้ทำไป เช่น ผู้ร้ายสำนึกผิดจึงได้สารภาพ, บางทีก็ใช้ว่า สำนึก เช่น ทำผิดถูกลงโทษแล้วยังไม่สำนึกอีก. |
สำนึง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่. (แผลงมาจาก สึง). | สำนึง ก. อยู่. (แผลงมาจาก สึง). |
สำเนา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ; ลักษณนามเรียกจํานวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. เป็นคำกริยา หมายถึง คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสําเนาไว้ก่อน. | สำเนา น. ข้อความหรือภาพเป็นต้นที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ; ลักษณนามเรียกจํานวนแผ่นหรือชุดที่ผลิตซํ้าจากต้นแบบหรือต้นฉบับ. ก. คัดหรือถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับ เช่น ก่อนส่งใบเสร็จรับเงินไปให้ลูกค้า ควรสําเนาไว้ก่อน. |
สำเนียง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียง, นํ้าเสียง, หางเสียง, วิธีออกเสียง, เช่น สําเนียงส่อภาษา สําเนียงไม่ชัด พูดภาษาไทยแต่สำเนียงเป็นฝรั่ง. | สำเนียง น. เสียง, นํ้าเสียง, หางเสียง, วิธีออกเสียง, เช่น สําเนียงส่อภาษา สําเนียงไม่ชัด พูดภาษาไทยแต่สำเนียงเป็นฝรั่ง. |
สำบอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เปลือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สํบก เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่. | สำบอก น. เปลือก. (ข. สํบก). |
สำบัดสำนวน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดจาหลีกเลี่ยงไม่ให้เข้าใจตรง ๆ, ใช้คารมพลิกแพลง, เล่นลิ้น, เช่น อย่าสำบัดสำนวนให้มากนัก. เป็นคำนาม หมายถึง สํานวน, คารมพลิกแพลง, เช่น เขาพูดมีสำบัดสำนวนมาก บทความของเขาเต็มไปด้วยสำบัดสำนวน. | สำบัดสำนวน ก. พูดจาหลีกเลี่ยงไม่ให้เข้าใจตรง ๆ, ใช้คารมพลิกแพลง, เล่นลิ้น, เช่น อย่าสำบัดสำนวนให้มากนัก. น. สํานวน, คารมพลิกแพลง, เช่น เขาพูดมีสำบัดสำนวนมาก บทความของเขาเต็มไปด้วยสำบัดสำนวน. |
สำปะลอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ขนุนสําปะลอ. ในวงเล็บ ดู ขนุนสําปะลอ เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง ที่ ขนุน เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑. | สำปะลอ น. ขนุนสําปะลอ. (ดู ขนุนสําปะลอ ที่ ขนุน ๑). |
สำปะหลัง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมันชนิด Manihot esculenta Crantz ในวงศ์ Euphorbiaceae หัวดิบเป็นพิษ, สําโรง ก็เรียก. | สำปะหลัง น. ชื่อมันชนิด Manihot esculenta Crantz ในวงศ์ Euphorbiaceae หัวดิบเป็นพิษ, สําโรง ก็เรียก. |
สำปั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือต่อเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทําด้วยไม้กระดาน ๓ แผ่น ท้ายสูงกว่าหัวเรือ ใช้แจวหรือพาย. | สำปั้น ๑ น. ชื่อเรือต่อเสริมกราบชนิดหนึ่ง เดิมทําด้วยไม้กระดาน ๓ แผ่น ท้ายสูงกว่าหัวเรือ ใช้แจวหรือพาย. |
สำปั้น เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L.. | สำปั้น ๒ น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L.. |
สำปันนี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง รูปร่างอย่างเรือมาด แต่เพรียวกว่า หัวและท้ายแบนโตเรี่ยนํ้า. | สำปันนี ๑ น. ชื่อเรือขุดชนิดหนึ่ง รูปร่างอย่างเรือมาด แต่เพรียวกว่า หัวและท้ายแบนโตเรี่ยนํ้า. |
สำปันนี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งมัน ตั้งไฟกวนกับกะทิและน้ำตาลทรายให้เข้ากันพอปั้นได้ ตักใส่พิมพ์อัดให้เป็นรูป แล้วเคาะออก อบด้วยควันเทียนอบ. | สำปันนี ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งมัน ตั้งไฟกวนกับกะทิและน้ำตาลทรายให้เข้ากันพอปั้นได้ ตักใส่พิมพ์อัดให้เป็นรูป แล้วเคาะออก อบด้วยควันเทียนอบ. |
สำเภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีน แล่นด้วยใบ. | สำเภา ๑ น. ชื่อเรือเดินทะเลชนิดหนึ่งแบบจีน แล่นด้วยใบ. |
สำเภา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นตามป่าดิบทั่วไป ผลมีหนามละเอียดโดยรอบ, ขี้หนอน ก็เรียก. | สำเภา ๒ น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Chaetocarpus castanocarpus (Roxb.) Thwaites ในวงศ์ Euphorbiaceae ขึ้นตามป่าดิบทั่วไป ผลมีหนามละเอียดโดยรอบ, ขี้หนอน ก็เรียก. |
สำเภาทอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ปุนัพสุ มี ๓ ดวง, ดาวสะเภา ดาวยามเกา ดาวตาเรือชัย ดาวหัวสําเภา หรือ ดาวปุนัพพสู ก็เรียก. | สำเภาทอง น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์ปุนัพสุ มี ๓ ดวง, ดาวสะเภา ดาวยามเกา ดาวตาเรือชัย ดาวหัวสําเภา หรือ ดาวปุนัพพสู ก็เรียก. |
สำมะงา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-งอ-งู-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum inerme Gaertn. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามป่าชายเลน ใช้ทํายาได้. | สำมะงา น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Clerodendrum inerme Gaertn. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามป่าชายเลน ใช้ทํายาได้. |
สำมะโน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประชากร เคหะ การเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการอื่น เพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ โดยการแจงนับจากทุกหน่วยเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ. | สำมะโน (กฎ) น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประชากร เคหะ การเกษตร อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการอื่น เพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ โดยการแจงนับจากทุกหน่วยเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ. |
สำมะโนครัว เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนราษฎรในแต่ละครัวเรือน. | สำมะโนครัว น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนราษฎรในแต่ละครัวเรือน. |
สำมะโนประชากร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนและลักษณะต่าง ๆ ของราษฎรทุกคนในทุกครัวเรือน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ. | สำมะโนประชากร น. การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนและลักษณะต่าง ๆ ของราษฎรทุกคนในทุกครัวเรือน ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในทางสถิติ. |
สำมะลอ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง สําปะลอ. | สำมะลอ น. สําปะลอ. |
สำมะเลเทเมา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง คบหากันอย่างเลอะเทอะ เช่น พอตกเย็นก็พากันไปสำมะเลเทเมา, ประพฤติเหลวไหลเช่นกินเหล้าเมายาเป็นต้น เช่น เขาชอบสำมะเลเทเมา กลางวันเล่นม้ากลางคืนกินเหล้า. | สำมะเลเทเมา ก. คบหากันอย่างเลอะเทอะ เช่น พอตกเย็นก็พากันไปสำมะเลเทเมา, ประพฤติเหลวไหลเช่นกินเหล้าเมายาเป็นต้น เช่น เขาชอบสำมะเลเทเมา กลางวันเล่นม้ากลางคืนกินเหล้า. |
สำมะหาอะไร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น งานเล็ก ๆ เช่นนี้ยังทำไม่สำเร็จ สำมะหาอะไรจะไปทำงานใหญ่, สำหาอะไร ก็ว่า. | สำมะหาอะไร ว. นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น งานเล็ก ๆ เช่นนี้ยังทำไม่สำเร็จ สำมะหาอะไรจะไปทำงานใหญ่, สำหาอะไร ก็ว่า. |
สำรด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าคาดเอวปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ โบราณใช้เป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งที่แสดงศักดิ์, สมรด หรือ ผ้าแฝง ก็เรียก. | สำรด น. ผ้าคาดเอวปักด้วยดิ้น เงินแล่ง ทองแล่ง เป็นลวดลายต่าง ๆ โบราณใช้เป็นเครื่องประกอบอย่างหนึ่งที่แสดงศักดิ์, สมรด หรือ ผ้าแฝง ก็เรียก. |
สำรวจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-จอ-จาน | [สำหฺรวด] เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจสอบ เช่น สํารวจสํามะโนครัว สำรวจพฤติกรรม, ตรวจหา เช่น สํารวจแหล่งแร่. | สำรวจ [สำหฺรวด] ก. ตรวจสอบ เช่น สํารวจสํามะโนครัว สำรวจพฤติกรรม, ตรวจหา เช่น สํารวจแหล่งแร่. |
สำรวม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ระมัดระวัง เช่น สํารวมกิริยามารยาท สำรวมตา สำรวมปาก, เหนี่ยวรั้ง, ครอง, เช่น สํารวมสติ. | สำรวม ๑ ก. ระมัดระวัง เช่น สํารวมกิริยามารยาท สำรวมตา สำรวมปาก, เหนี่ยวรั้ง, ครอง, เช่น สํารวมสติ. |
สำรวมใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําใจให้แน่วแน่, ทำใจให้สงบ, เช่น เวลานั่งสมาธิต้องสำรวมใจ. | สำรวมใจ ก. ทําใจให้แน่วแน่, ทำใจให้สงบ, เช่น เวลานั่งสมาธิต้องสำรวมใจ. |
สำรวมอินทรีย์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ระมัดระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ. | สำรวมอินทรีย์ ก. ระมัดระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ. |
สำรวม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รวม, ประสม, ปนกัน, เช่น อาหารสำรวม. | สำรวม ๒ ว. รวม, ประสม, ปนกัน, เช่น อาหารสำรวม. |
สำรวย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทํากิริยากรีดกรายหยิบหย่ง, เอาแต่แต่งตัว, เช่น ท่าทางสำรวยอย่างนี้ คงจะทำงานหนักไม่ไหว. (แผลงมาจาก สวย). | สำรวย ว. ทํากิริยากรีดกรายหยิบหย่ง, เอาแต่แต่งตัว, เช่น ท่าทางสำรวยอย่างนี้ คงจะทำงานหนักไม่ไหว. (แผลงมาจาก สวย). |
สำรวล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง หัวเราะ, รื่นเริง. (แผลงมาจาก สรวล). | สำรวล ก. หัวเราะ, รื่นเริง. (แผลงมาจาก สรวล). |
สำรอก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ขย้อนเอาสิ่งที่กลืนลงไปในกระเพาะแล้วออกมาทางปาก เช่น สำรอกอาหาร; ทำให้สิ่งที่ติดอยู่กับผิวหลุดออกมา เช่น สำรอกทอง สำรอกสี. | สำรอก ก. ขย้อนเอาสิ่งที่กลืนลงไปในกระเพาะแล้วออกมาทางปาก เช่น สำรอกอาหาร; ทำให้สิ่งที่ติดอยู่กับผิวหลุดออกมา เช่น สำรอกทอง สำรอกสี. |
สำรอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Scaphium scaphigerum (G. Don) Guib. et Planch. ในวงศ์ Sterculiaceae ผลแช่นํ้าแล้วพองเป็นวุ้น ใช้กินกับนํ้าตาลและใช้ทํายาได้ เรียก พุงทะลาย. | สำรอง ๑ น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Scaphium scaphigerum (G. Don) Guib. et Planch. ในวงศ์ Sterculiaceae ผลแช่นํ้าแล้วพองเป็นวุ้น ใช้กินกับนํ้าตาลและใช้ทํายาได้ เรียก พุงทะลาย. |
สำรอง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เตรียมเผื่อไว้ เช่น อาหารสำรอง ตัวสำรอง. | สำรอง ๒ ว. ที่เตรียมเผื่อไว้ เช่น อาหารสำรอง ตัวสำรอง. |
สำรับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ของหรือคนที่รวมกันเข้าได้ไม่ผิดหมู่ผิดพวกเป็นชุดเป็นวงเป็นต้น เช่น ไพ่ ๒ สำรับ พระพิธีธรรม ๑ สำรับ มี ๔ รูป นักสวดคฤหัสถ์ ๑ สำรับ มี ๔ คน, ภาชนะเช่นถาดเป็นต้นใส่ถ้วยชามพร้อมบรรจุอาหารคาวหรือหวานเป็นชุด เช่น สำรับคาว สำรับหวาน. | สำรับ น. ของหรือคนที่รวมกันเข้าได้ไม่ผิดหมู่ผิดพวกเป็นชุดเป็นวงเป็นต้น เช่น ไพ่ ๒ สำรับ พระพิธีธรรม ๑ สำรับ มี ๔ รูป นักสวดคฤหัสถ์ ๑ สำรับ มี ๔ คน, ภาชนะเช่นถาดเป็นต้นใส่ถ้วยชามพร้อมบรรจุอาหารคาวหรือหวานเป็นชุด เช่น สำรับคาว สำรับหวาน. |
สำราก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดกระโชกโฮกฮาก เช่น อย่ามาสำรากกับฉันนะ. | สำราก ก. พูดกระโชกโฮกฮาก เช่น อย่ามาสำรากกับฉันนะ. |
สำราญ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง | เป็นคำกริยา หมายถึง สุขสบาย เช่น วันอาทิตย์จะนอนให้สำราญเลย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำให้มีความสุขสบาย เช่น เรือสำราญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร สํราล เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | สำราญ ก. สุขสบาย เช่น วันอาทิตย์จะนอนให้สำราญเลย. ว. ที่ทำให้มีความสุขสบาย เช่น เรือสำราญ. (ข. สํราล). |
สำราญกาย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง สบายกาย. | สำราญกาย ก. สบายกาย. |
สำราญใจ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง สบายใจ. | สำราญใจ ก. สบายใจ. |
สำริด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สัมฤทธิ์. | สำริด (โบ) น. สัมฤทธิ์. |
สำเร็จ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง เสร็จ เช่น สำเร็จการศึกษา; ถึง, บรรลุ, เช่น สําเร็จโสดา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เครื่องแกงสำเร็จ, ได้ผลสมประสงค์ เช่น วางแผนการขายสินค้าได้สำเร็จ. | สำเร็จ ก. เสร็จ เช่น สำเร็จการศึกษา; ถึง, บรรลุ, เช่น สําเร็จโสดา. ว. ที่เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เครื่องแกงสำเร็จ, ได้ผลสมประสงค์ เช่น วางแผนการขายสินค้าได้สำเร็จ. |
สำเร็จโทษ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี | (โบ; ราชา) ก. ประหารชีวิต. | สำเร็จโทษ (โบ; ราชา) ก. ประหารชีวิต. |
สำเร็จรูป เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทำไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เสื้อผ้าสําเร็จรูป อาหารสําเร็จรูป กาแฟสำเร็จรูป. | สำเร็จรูป ว. ที่ทำไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เช่น เสื้อผ้าสําเร็จรูป อาหารสําเร็จรูป กาแฟสำเร็จรูป. |
สำเรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ทุเลา, อาการไข้ที่สร่างจากตัวร้อน, ยังมีอาการตัวร้อนน้อย ๆ. | สำเรา ก. ทุเลา, อาการไข้ที่สร่างจากตัวร้อน, ยังมีอาการตัวร้อนน้อย ๆ. |
สำเริง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง รื่นเริง, ร่าเริง, เช่น นวนิยายให้ความสำเริงอารมณ์, มักใช้เข้าคู่กับคำ สำราญ เป็น สำเริงสำราญ หรือ สำราญสำเริง. | สำเริง ก. รื่นเริง, ร่าเริง, เช่น นวนิยายให้ความสำเริงอารมณ์, มักใช้เข้าคู่กับคำ สำราญ เป็น สำเริงสำราญ หรือ สำราญสำเริง. |
สำโรง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Sterculia foetida L. ในวงศ์ Sterculiaceae ดอกมีกลิ่นเหม็น เมล็ดให้นํ้ามัน เรียกว่า นํ้ามันลูกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . (๒) ดู สําปะหลัง. | สำโรง น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Sterculia foetida L. ในวงศ์ Sterculiaceae ดอกมีกลิ่นเหม็น เมล็ดให้นํ้ามัน เรียกว่า นํ้ามันลูกไม้. (ข.). (๒) ดู สําปะหลัง. |
สำลัก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เกิดเมื่ออาหารหรือนํ้าเข้าไปในหลอดลม; แช่จมอยู่ในนํ้านาน ๆ เช่น ผักบุ้งสําลักนํ้า ต้นข้าวสําลักนํ้า. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกป้านสีขาว เนื้อไม่แน่นละเอียด นํ้าซึมออกมาได้ ว่า ป้านสําลัก. | สำลัก ก. อาการที่เกิดเมื่ออาหารหรือนํ้าเข้าไปในหลอดลม; แช่จมอยู่ในนํ้านาน ๆ เช่น ผักบุ้งสําลักนํ้า ต้นข้าวสําลักนํ้า. น. เรียกป้านสีขาว เนื้อไม่แน่นละเอียด นํ้าซึมออกมาได้ ว่า ป้านสําลัก. |
สำลาน เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีเหลืองปนแดง. | สำลาน ว. สีเหลืองปนแดง. |
สำลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Gossypium barbadense L. var. acuminatum (Roxb.) Mast. ในวงศ์ Malvaceae เมล็ดมีปุยขาวใช้ทอผ้าได้; ชื่อเรียกปุยของเมล็ดฝ้ายหรือเมล็ดสําลี. (๒) อ้อยสําลี. ในวงเล็บ ดู ตะเภา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๔ (๑). | สำลี ๑ น. (๑) ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Gossypium barbadense L. var. acuminatum (Roxb.) Mast. ในวงศ์ Malvaceae เมล็ดมีปุยขาวใช้ทอผ้าได้; ชื่อเรียกปุยของเมล็ดฝ้ายหรือเมล็ดสําลี. (๒) อ้อยสําลี. [ดู ตะเภา ๔ (๑)]. |
สำลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกปุยฝ้ายที่นํามาฟอกให้ขาวปราศจากไขมันและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ เพื่อใช้ในทางการแพทย์เป็นต้น; เรียกผ้าชนิดหนึ่ง มีขนเนื้อนุ่ม มักใช้ห่มหรือตัดเสื้อกันหนาว ว่า ผ้าสําลี. | สำลี ๒ น. ชื่อเรียกปุยฝ้ายที่นํามาฟอกให้ขาวปราศจากไขมันและสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ เพื่อใช้ในทางการแพทย์เป็นต้น; เรียกผ้าชนิดหนึ่ง มีขนเนื้อนุ่ม มักใช้ห่มหรือตัดเสื้อกันหนาว ว่า ผ้าสําลี. |
สำลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลชนิด Seriolina nigrofasciata ในวงศ์ Carangidae ลําตัวค่อนข้างกลม สีเทาคลํ้า เกล็ดเล็ก คอดหางกิ่ว, ช่อลำดวน ก็เรียก. | สำลี ๓ น. ชื่อปลาทะเลชนิด Seriolina nigrofasciata ในวงศ์ Carangidae ลําตัวค่อนข้างกลม สีเทาคลํ้า เกล็ดเล็ก คอดหางกิ่ว, ช่อลำดวน ก็เรียก. |
สำแลง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ของแสลงที่ทําให้โรคกําเริบ, สำแดง ก็ว่า, ใช้ในคําว่า ผิดสําแลง หรือ ผิดสำแดง. | สำแลง น. ของแสลงที่ทําให้โรคกําเริบ, สำแดง ก็ว่า, ใช้ในคําว่า ผิดสําแลง หรือ ผิดสำแดง. |
สำสร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ดู สําซ่าง เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู. | สำสร้าง ดู สําซ่าง. |
สำสา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นก้ามปู. ในวงเล็บ ดู ก้ามปู เขียนว่า กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู. | สำสา (ถิ่นพายัพ) น. ต้นก้ามปู. (ดู ก้ามปู). |
สำเส็ด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ขนาดเล็ก ลูกเหมือนลูกชมพู่. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. | สำเส็ด น. ต้นไม้ขนาดเล็ก ลูกเหมือนลูกชมพู่. (พจน. ๒๔๙๓). |
ส่ำเสีย เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เสียหายอย่างป่นปี้. | ส่ำเสีย ก. เสียหายอย่างป่นปี้. |
สำหรวด เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือ ลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง เรียกว่า ฝาสําหรวด. | สำหรวด น. ฝาเรือนเครื่องสับแบบหนึ่ง มีโครงไม้คร่าวยืนเป็นหลักซึ่งวางห่างกัน ๑ ฝ่ามือ ระหว่างไม้คร่าวแต่ละช่อง ขัดไม้แผ่นเล็ก ๆ ที่เรียกว่า ไม้เซ็น หรือ ลูกเซ็น วางตามขวาง ด้านหลังไม้เซ็นกรุใบจากอ่อนเป็นต้นแล้วขัดด้วยเข็มไม้ไผ่อีกชั้นหนึ่ง เรียกว่า ฝาสําหรวด. |
สำหรับ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คู่กับ, ควรกับ, เช่น ช้อนกับส้อมเป็นของสำหรับกัน หมากพลูกับเชี่ยนเป็นของสำหรับกัน. เป็นคำบุรพบท หมายถึง เพื่อ เช่น ของสำหรับถวายพระ วันนี้ฉันทำกับข้าวเป็นพิเศษสำหรับเธอ. | สำหรับ ว. คู่กับ, ควรกับ, เช่น ช้อนกับส้อมเป็นของสำหรับกัน หมากพลูกับเชี่ยนเป็นของสำหรับกัน. บ. เพื่อ เช่น ของสำหรับถวายพระ วันนี้ฉันทำกับข้าวเป็นพิเศษสำหรับเธอ. |
สำหาอะไร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น เรียนชั้นมัธยมยังสอบตก สำหาอะไรจะไปเรียนมหาวิทยาลัย, สำมะหาอะไร ก็ว่า. | สำหาอะไร ว. นับประสาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น เรียนชั้นมัธยมยังสอบตก สำหาอะไรจะไปเรียนมหาวิทยาลัย, สำมะหาอะไร ก็ว่า. |
สำเหนียก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ | [สำเหฺนียก] เป็นคำกริยา หมายถึง ฟัง, คอยเอาใจใส่, กําหนดจดจํา, เช่น ผู้ใหญ่สอนอะไรก็ให้สำเหนียกไว้ให้ดี. | สำเหนียก [สำเหฺนียก] ก. ฟัง, คอยเอาใจใส่, กําหนดจดจํา, เช่น ผู้ใหญ่สอนอะไรก็ให้สำเหนียกไว้ให้ดี. |
สำเหร่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Melastoma malabathricum L. ในวงศ์ Melastomataceae ดอกสีชมพู. | สำเหร่ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Melastoma malabathricum L. ในวงศ์ Melastomataceae ดอกสีชมพู. |
สำออย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดพรํ่ารําพันให้เอ็นดูสงสาร, ร้องออดอ้อนจะเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เจ็บนิดเดียว สำออยอยู่นั่นแหละ ลูกสำออยพ่อแม่ขอซื้อตุ๊กตา. | สำออย ก. พูดพรํ่ารําพันให้เอ็นดูสงสาร, ร้องออดอ้อนจะเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เจ็บนิดเดียว สำออยอยู่นั่นแหละ ลูกสำออยพ่อแม่ขอซื้อตุ๊กตา. |
สำอาง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแป้งเครื่องหอม เรียกว่า เครื่องสําอาง, ปัจจุบันหมายถึง สิ่งเสริมแต่งหรือบำรุงใบหน้า ผิวพรรณ ผม เป็นต้นให้ดูงาม เช่น แป้ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว, ราชาศัพท์ใช้ว่า เครื่องพระสําอาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําให้งามสะอาดหมดจด, งามสะอาดหมดจด, งามกรีดกรายหยิบหย่ง เช่น เขาเป็นหนุ่มสำอางท่าทางกรีดกราย. | สำอาง น. เครื่องแป้งเครื่องหอม เรียกว่า เครื่องสําอาง, ปัจจุบันหมายถึง สิ่งเสริมแต่งหรือบำรุงใบหน้า ผิวพรรณ ผม เป็นต้นให้ดูงาม เช่น แป้ง ลิปสติก ดินสอเขียนคิ้ว, ราชาศัพท์ใช้ว่า เครื่องพระสําอาง. ว. ที่ทําให้งามสะอาดหมดจด, งามสะอาดหมดจด, งามกรีดกรายหยิบหย่ง เช่น เขาเป็นหนุ่มสำอางท่าทางกรีดกราย. |
สิ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ | คําประกอบท้ายคําอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ, ซิ หรือ ซี ก็ว่า. | สิ คําประกอบท้ายคําอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ, ซิ หรือ ซี ก็ว่า. |
สิกข์, สิข สิกข์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด สิข เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาป ประเทศอินเดีย; ซิก หรือ ซิกข์ ก็ว่า. | สิกข์, สิข น. ชื่อศาสนาหนึ่งในอินเดีย มีศาสดาชื่อ คุรุนานัก; ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาป ประเทศอินเดีย; ซิก หรือ ซิกข์ ก็ว่า. |
สิกขมานา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สามเณรีที่มีอายุครบ ๑๘ ปี ก่อนอุปสมบทเป็นภิกษุณีจะต้องรักษาสิกขาบท ๖ ประการ เป็นเวลา ๒ ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สิกขมานา (โบ) น. สามเณรีที่มีอายุครบ ๑๘ ปี ก่อนอุปสมบทเป็นภิกษุณีจะต้องรักษาสิกขาบท ๖ ประการ เป็นเวลา ๒ ปี. (ป.). |
สิกขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อที่จะต้องปฏิบัติ ได้แก่ ศีล เรียกว่า ศีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา; การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิกฺษา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา. | สิกขา น. ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อที่จะต้องปฏิบัติ ได้แก่ ศีล เรียกว่า ศีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา; การศึกษา, การเล่าเรียน, เช่น ปริยัติสิกขา ปฏิบัติสิกขา. (ป.; ส. ศิกฺษา). |
สิกขากาม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | [กามะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้ใคร่ต่อการศึกษา, ผู้นับถือข้อบัญญัติโดยเคร่งครัด, สิกขกาม ก็ว่า เช่น สิกขกามบุคคล หมายถึง บุคคลที่ใคร่ต่อการศึกษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สิกขากาม [กามะ] ว. ผู้ใคร่ต่อการศึกษา, ผู้นับถือข้อบัญญัติโดยเคร่งครัด, สิกขกาม ก็ว่า เช่น สิกขกามบุคคล หมายถึง บุคคลที่ใคร่ต่อการศึกษา. (ป.). |
สิกขาบท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง ข้อศีล, ข้อวินัย, บทบัญญัติในพระวินัยที่พึงศึกษาปฏิบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สิกขาบท น. ข้อศีล, ข้อวินัย, บทบัญญัติในพระวินัยที่พึงศึกษาปฏิบัติ. (ป.). |
สิขร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ | [ขอน] เป็นคำนาม หมายถึง จอม, ยอด, หงอน; ยอดเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ. | สิขร [ขอน] น. จอม, ยอด, หงอน; ยอดเขา. (ป.; ส. ศิขร). |
สิขรี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [ขะรี] เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขรินฺ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | สิขรี [ขะรี] น. ภูเขา. (ป.; ส. ศิขรินฺ). |
สิขเรศ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขา. | สิขเรศ (กลอน) น. ภูเขา. |
สิขา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เปลวไฟ; ยอด, ปลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา. | สิขา น. เปลวไฟ; ยอด, ปลาย. (ป.; ส. ศิขา). |
สิขานล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง เปลวไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สิขานล น. เปลวไฟ. (ป.). |
สิขี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เปลวไฟ; นกยูง; พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิขินฺ เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | สิขี น. เปลวไฟ; นกยูง; พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. (ป.; ส. ศิขินฺ). |
สิคาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | [คาน] เป็นคำนาม หมายถึง หมาจิ้งจอก, หมาป่า, สิงคาล ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤคาล เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | สิคาล [คาน] น. หมาจิ้งจอก, หมาป่า, สิงคาล ก็ว่า. (ป.; ส. ศฺฤคาล). |
สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, เข้าแทรกอยู่ เช่น ผีสิง, สึง ก็ว่า, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น เพื่อน ๆ ของลูกมาสิงอยู่ที่บ้านหลายคน, สิงสู่ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | สิง ๑ ก. อยู่, เข้าแทรกอยู่ เช่น ผีสิง, สึง ก็ว่า, (ปาก) อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น เพื่อน ๆ ของลูกมาสิงอยู่ที่บ้านหลายคน, สิงสู่ ก็ว่า. (ข.). |
สิงสถิต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, มาอาศัยอยู่, (มักใช้แก่เทวดา), เช่น ต้นไม้ต้นนี้มีรุกขเทวดาสิงสถิต. | สิงสถิต ก. อยู่, มาอาศัยอยู่, (มักใช้แก่เทวดา), เช่น ต้นไม้ต้นนี้มีรุกขเทวดาสิงสถิต. |
สิงสู่ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น โรงเรียนปิดเทอมแล้วไม่ยอมกลับบ้าน มัวสิงสู่อยู่ที่หอพัก, สิง ก็ว่า. | สิงสู่ (ปาก) ก. อยู่, มาอาศัยอยู่, เช่น โรงเรียนปิดเทอมแล้วไม่ยอมกลับบ้าน มัวสิงสู่อยู่ที่หอพัก, สิง ก็ว่า. |
สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | ดู ตะลาน เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑. | สิง ๒ ดู ตะลาน ๑. |
สิง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | ดู กระฉง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งู. | สิง ๓ ดู กระฉง. |
สิ่ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ของต่าง ๆ โดยไม่จำกัดว่ามีชีวิตหรือไม่มีชีวิต เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นสิ่งมีชีวิต ก้อนหินเป็นสิ่งไม่มีชีวิต ทองคำเป็นสิ่งมีค่า; ภาวะ, ความมีความเป็น, เช่น สิ่งที่มีคุณค่าในสังคมอย่างหนึ่งคือ ความยุติธรรม, อย่าง, อัน, เช่น ในกระเป๋ามีของกี่สิ่ง. | สิ่ง น. ของต่าง ๆ โดยไม่จำกัดว่ามีชีวิตหรือไม่มีชีวิต เช่น คน สัตว์ และพืช เป็นสิ่งมีชีวิต ก้อนหินเป็นสิ่งไม่มีชีวิต ทองคำเป็นสิ่งมีค่า; ภาวะ, ความมีความเป็น, เช่น สิ่งที่มีคุณค่าในสังคมอย่างหนึ่งคือ ความยุติธรรม, อย่าง, อัน, เช่น ในกระเป๋ามีของกี่สิ่ง. |
สิ่งก่อสร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง อาคารบ้านเรือนเป็นต้นที่สร้างโดยใช้อิฐและปูนเป็นส่วนใหญ่. | สิ่งก่อสร้าง น. อาคารบ้านเรือนเป็นต้นที่สร้างโดยใช้อิฐและปูนเป็นส่วนใหญ่. |
สิ่งของ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุต่าง ๆ เช่น ก่อนลงจากรถควรตรวจสิ่งของให้ครบถ้วน, ของ หรือ ข้าวของ ก็ว่า. | สิ่งของ น. วัตถุต่าง ๆ เช่น ก่อนลงจากรถควรตรวจสิ่งของให้ครบถ้วน, ของ หรือ ข้าวของ ก็ว่า. |
สิ่งตีพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด | (ไปร) น. ไปรษณียภัณฑ์ประเภทข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันทั่วไปในกิจการพิมพ์ ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือการถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์. | สิ่งตีพิมพ์ (ไปร) น. ไปรษณียภัณฑ์ประเภทข้อความ รูป หรือรอยประดิษฐ์บนกระดาษ กระดาษแข็ง หรือวัสดุที่ใช้กันทั่วไปในกิจการพิมพ์ ซึ่งทำขึ้นเป็นหลายสำเนาเหมือนกันทุกประการ ด้วยกระบวนการทางเครื่องกลไก หรือการถ่ายภาพอันเกี่ยวข้องกับการใช้แม่พิมพ์ต้นแบบ กระดาษไข เนกาทีฟ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ใช้กันโดยทั่วไปในกิจการพิมพ์. |
สิ่งปฏิกูล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งสกปรกน่ารังเกียจ เช่น ขยะเป็นสิ่งปฏิกูล. | สิ่งปฏิกูล น. สิ่งสกปรกน่ารังเกียจ เช่น ขยะเป็นสิ่งปฏิกูล. |
สิ่งปลูกสร้าง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง อาคารบ้านเรือนที่ทำโดยวิธีฝังเสาลงในดิน. | สิ่งปลูกสร้าง น. อาคารบ้านเรือนที่ทำโดยวิธีฝังเสาลงในดิน. |
สิ่งพิมพ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน. | สิ่งพิมพ์ (กฎ) น. สมุด แผ่นกระดาษ หรือวัตถุใด ๆ ที่พิมพ์ขึ้น รวมตลอดทั้งบทเพลง แผนที่ แผนผัง แผนภาพ ภาพวาด ภาพระบายสี ใบประกาศ แผ่นเสียง หรือสิ่งอื่นใดอันมีลักษณะเช่นเดียวกัน. |
สิ่งละอันพันละน้อย เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง อย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, อย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น ของขายมีสิ่งละอันพันละน้อย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, มีอย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น แม่ค้าเก็บของสิ่งละอันพันละน้อยมาขาย. | สิ่งละอันพันละน้อย น. อย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, อย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น ของขายมีสิ่งละอันพันละน้อย. ว. มีอย่างนี้บ้างอย่างนั้นบ้าง, มีอย่างละเล็กอย่างละน้อย, เช่น แม่ค้าเก็บของสิ่งละอันพันละน้อยมาขาย. |
สิ่งแวดล้อม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์มีทั้งที่ดีและไม่ดี เช่น โรงเรียนสร้างสวนดอกไม้ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีแก่นักเรียน ชุมชนที่มีการทะเลาะวิวาทกันหรือเล่นการพนันเป็นสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีแก่เด็ก. | สิ่งแวดล้อม น. สิ่งต่าง ๆ ทั้งทางธรรมชาติและทางสังคมที่อยู่รอบ ๆ มนุษย์มีทั้งที่ดีและไม่ดี เช่น โรงเรียนสร้างสวนดอกไม้ให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีแก่นักเรียน ชุมชนที่มีการทะเลาะวิวาทกันหรือเล่นการพนันเป็นสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดีแก่เด็ก. |
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งหรือภาวะที่เชื่อว่ามีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เป็นไปหรือให้สำเร็จได้ดังปรารถนา เช่น ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เขาหายจากโรคร้าย. | สิ่งศักดิ์สิทธิ์ น. สิ่งหรือภาวะที่เชื่อว่ามีอำนาจเหนือธรรมชาติ สามารถบันดาลให้เป็นไปหรือให้สำเร็จได้ดังปรารถนา เช่น ขอให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาลให้เขาหายจากโรคร้าย. |
สิงขร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ขอ-ไข่-รอ-เรือ | [ขอน] เป็นคำนาม หมายถึง สิขร. | สิงขร [ขอน] น. สิขร. |
สิงค์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เขาสัตว์ต่าง ๆ; เขา, ยอดเขา, ที่ที่สูงสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | สิงค์ น. เขาสัตว์ต่าง ๆ; เขา, ยอดเขา, ที่ที่สูงสุด. (ป.). |
สิงคลิ้ง เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามอย่างสง่า เช่น บพิตรพ่องามสิงคลิ้ง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | สิงคลิ้ง (กลอน) ว. งามอย่างสง่า เช่น บพิตรพ่องามสิงคลิ้ง. (ลอ). |
สิงคลี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | [คฺลี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วุ่นวาย, พัลวัน. | สิงคลี [คฺลี] ว. วุ่นวาย, พัลวัน. |
สิงคาร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [คาน] เป็นคำนาม หมายถึง ศฤงคาร, สิ่งให้เกิดความรัก, บริวารหญิงผู้บําเรอความรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤงฺคาร เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | สิงคาร [คาน] น. ศฤงคาร, สิ่งให้เกิดความรัก, บริวารหญิงผู้บําเรอความรัก. (ป.; ส. ศฺฤงฺคาร). |
สิงคาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | [คาน] เป็นคำนาม หมายถึง หมาป่า, หมาจิ้งจอก, สิคาล ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สิคาล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤคาล เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | สิงคาล [คาน] น. หมาป่า, หมาจิ้งจอก, สิคาล ก็ว่า. (ป. สิคาล; ส. ศฺฤคาล). |
สิงคี เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์มีเขา, วัว, ควาย; ชื่อปลาชนิดหนึ่ง; ทองคํา; ชื่อผักชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศฺฤงฺคี เขียนว่า สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-รึ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี. | สิงคี น. สัตว์มีเขา, วัว, ควาย; ชื่อปลาชนิดหนึ่ง; ทองคํา; ชื่อผักชนิดหนึ่ง. (ป.; ส. ศฺฤงฺคี). |
สิงโต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ในจินตนาการของจีน ถือว่ามีกําลังมากและมีหน้าตาดุร้าย. | สิงโต ๑ น. ชื่อสัตว์ในจินตนาการของจีน ถือว่ามีกําลังมากและมีหน้าตาดุร้าย. |
สิงโต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิด Panthera leo ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่ง ตัวสีนํ้าตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ อาศัยอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง ตัวเมียมักทําหน้าที่ล่าเหยื่อ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย. | สิงโต ๒ น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ชนิด Panthera leo ในวงศ์ Felidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมว ขนาดไล่เลี่ยกับเสือโคร่ง ตัวสีนํ้าตาล ไม่มีลาย ตัวผู้เมื่อโตเต็มที่จะมีขนสร้อยคอยาว ขนปลายหางเป็นพู่ อาศัยอยู่เป็นฝูงตามทุ่งโล่ง ตัวเมียมักทําหน้าที่ล่าเหยื่อ มีถิ่นกําเนิดในทวีปแอฟริกาและประเทศอินเดีย. |
สิงโต เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลในสกุล Pterois วงศ์ Scorpaenidae ครีบต่าง ๆ แผ่กว้างโดยเฉพาะครีบอก สีฉูดฉาดสวยงามเป็นริ้วลาย หนามและก้านครีบแข็งเป็นพิษ ขนาดยาวได้ถึง ๓๕ เซนติเมตร มีหลายชนิด เช่น ชนิด P. russelli, P. volitans. | สิงโต ๓ น. ชื่อปลาทะเลในสกุล Pterois วงศ์ Scorpaenidae ครีบต่าง ๆ แผ่กว้างโดยเฉพาะครีบอก สีฉูดฉาดสวยงามเป็นริ้วลาย หนามและก้านครีบแข็งเป็นพิษ ขนาดยาวได้ถึง ๓๕ เซนติเมตร มีหลายชนิด เช่น ชนิด P. russelli, P. volitans. |
สิงโตทะเล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Otariidae ซึ่งอาศัยอยู่ตามริมทะเล มีใบหูเห็นได้ชัด ลําคอยาว ขาไม่มีขนปกคลุม นิ้วไม่มีเล็บ ขาคู่หน้ายาวและอ่อนไปมาช่วยในการยันตัวและว่ายนํ้า ขาคู่หลังแยกออกจากหางช่วยในการเคลื่อนไหว มีหลายชนิด เช่น ชนิด Zalophus californianus, Otaria byronia. | สิงโตทะเล น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์ Otariidae ซึ่งอาศัยอยู่ตามริมทะเล มีใบหูเห็นได้ชัด ลําคอยาว ขาไม่มีขนปกคลุม นิ้วไม่มีเล็บ ขาคู่หน้ายาวและอ่อนไปมาช่วยในการยันตัวและว่ายนํ้า ขาคู่หลังแยกออกจากหางช่วยในการเคลื่อนไหว มีหลายชนิด เช่น ชนิด Zalophus californianus, Otaria byronia. |
สิงสาราสัตว์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ต่าง ๆ มักหมายถึงสัตว์ป่า เช่น ในป่าใหญ่มีสิงสาราสัตว์นานาชนิด. | สิงสาราสัตว์ น. สัตว์ต่าง ๆ มักหมายถึงสัตว์ป่า เช่น ในป่าใหญ่มีสิงสาราสัตว์นานาชนิด. |
สิงห, สิงห์ ๑ สิงห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | [สิงหะ] เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในนิยาย ถือว่ามีความดุร้ายและมีกําลังมาก, ราชสีห์ ก็เรียก; ชื่อกลุ่มดาวรูปสิงห์ เรียกว่า ราศีสิงห์ เป็นราศีที่ ๔ ในจักรราศี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ และมาจากภาษาบาลี สีห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ. | สิงห, สิงห์ ๑ [สิงหะ] น. สัตว์ในนิยาย ถือว่ามีความดุร้ายและมีกําลังมาก, ราชสีห์ ก็เรียก; ชื่อกลุ่มดาวรูปสิงห์ เรียกว่า ราศีสิงห์ เป็นราศีที่ ๔ ในจักรราศี. (ส. สึห; ป. สีห). |
สิงหนาท เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง พระราชดํารัสอันเป็นที่น่าเกรงขามของคนทั้งปวง เหมือนเสียงของราชสีห์เป็นที่น่าเกรงขามของสัตว์ทั้งปวง, เสียงตวาดของนักรบเพื่อให้เป็นที่เกรงขามของข้าศึก, สีหนาท ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ + นาท เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน และมาจากภาษาบาลี สีห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ + นาท เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน . | สิงหนาท น. พระราชดํารัสอันเป็นที่น่าเกรงขามของคนทั้งปวง เหมือนเสียงของราชสีห์เป็นที่น่าเกรงขามของสัตว์ทั้งปวง, เสียงตวาดของนักรบเพื่อให้เป็นที่เกรงขามของข้าศึก, สีหนาท ก็ว่า. (ส. สึห + นาท; ป. สีห + นาท). |
สิงหบัญชร เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง หน้าต่างที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกรับแขกเมืองเป็นต้น, สีหบัญชร ก็ว่า. | สิงหบัญชร น. หน้าต่างที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกรับแขกเมืองเป็นต้น, สีหบัญชร ก็ว่า. |
สิงหรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [สิงหะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สิงห์, สิงห์ตัวเมีย. | สิงหรา [สิงหะ] (กลอน) น. สิงห์, สิงห์ตัวเมีย. |
สิงหราช เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง พญาราชสีห์, สีหราช ก็ว่า. | สิงหราช น. พญาราชสีห์, สีหราช ก็ว่า. |
สิงหาคม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๘ ของปีสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๕ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึห เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ + อาคม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า . | สิงหาคม น. ชื่อเดือนที่ ๘ ของปีสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน; (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๕ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. (ส. สึห + อาคม). |
สิงหาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ราชอาสน์หรือที่ประทับ ทําเป็นแท่นหรือเตียงจมูกสิงห์. | สิงหาสน์ น. ราชอาสน์หรือที่ประทับ ทําเป็นแท่นหรือเตียงจมูกสิงห์. |
สิงห์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๒ | ดู กระฉง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-งอ-งู. | สิงห์ ๒ ดู กระฉง. |
สิงหรา เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | ดู สิงห, สิงห์ ๑ สิงห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด . | สิงหรา ดู สิงห, สิงห์ ๑. |
สิงหล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง | [หน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกประเทศศรีลังกาในสมัยโบราณ, สิงหลทวีป ก็เรียก, เรียกชาวพื้นเมืองดั้งเดิมของศรีลังกาว่า ชาวสิงหล, เรียกภาษาของชาวสิงหลว่า ภาษาสิงหล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึหล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี สีหล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง. | สิงหล [หน] น. ชื่อเรียกประเทศศรีลังกาในสมัยโบราณ, สิงหลทวีป ก็เรียก, เรียกชาวพื้นเมืองดั้งเดิมของศรีลังกาว่า ชาวสิงหล, เรียกภาษาของชาวสิงหลว่า ภาษาสิงหล. (ส. สึหล; ป. สีหล). |
สิงหลก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | [หะละกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวสิงหล. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับเกาะสิงหล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต สึหลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี สีหลก เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่. | สิงหลก [หะละกะ] น. ชาวสิงหล. ว. เกี่ยวกับเกาะสิงหล. (ส. สึหลก; ป. สีหลก). |
สิงหาคม เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | ดู สิงห, สิงห์ ๑ สิงห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด . | สิงหาคม ดู สิงห, สิงห์ ๑. |
สิงหาสน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ดู สิงห, สิงห์ ๑ สิงห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ สิงห์ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด . | สิงหาสน์ ดู สิงห, สิงห์ ๑. |
สิญจ, สิญจน์ สิญจ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-จอ-จาน สิญจน์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [สินจะ, สิน] เป็นคำกริยา หมายถึง รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สิญจ, สิญจน์ [สินจะ, สิน] ก. รดนํ้า; รดนํ้ามนต์, สรงมุรธาภิเษก. (ป., ส.). |
สิต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [ตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สิต [ตะ] ว. ขาว. (ป., ส.). |
สิตางศุ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | สิตางศุ์ น. พระจันทร์. (ส.). |
สิตะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ้ม, ยิ้มแย้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺมิต เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า. | สิตะ ว. ยิ้ม, ยิ้มแย้ม. (ป.; ส. สฺมิต). |
สิตางศุ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทัน-ทะ-คาด | ดู สิต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า. | สิตางศุ์ ดู สิต. |
สิถิล เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เบา, เสียงพยัญชนะบางประเภทที่เปล่งเสียงโดยไม่มีกลุ่มลมออกมาด้วย ในภาษาไทยได้แก่เสียง ป ต ก จ, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเบาว่า พยัญชนะสิถิล ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑ และ ๓ ของวรรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิถิล เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง. | สิถิล ว. เบา, เสียงพยัญชนะบางประเภทที่เปล่งเสียงโดยไม่มีกลุ่มลมออกมาด้วย ในภาษาไทยได้แก่เสียง ป ต ก จ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเบาว่า พยัญชนะสิถิล ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑ และ ๓ ของวรรค. (ป.; ส. ศิถิล). |
สิทธ, สิทธ์ สิทธ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง สิทธ์ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | [สิดทะ, สิด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สําเร็จ, ฤษีผู้สําเร็จ, เช่นที่พูดว่า นักสิทธ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | สิทธ, สิทธ์ [สิดทะ, สิด] น. ผู้สําเร็จ, ฤษีผู้สําเร็จ, เช่นที่พูดว่า นักสิทธ์. (ป., ส.). |
สิทธัตถะ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี สิทฺธตฺถ เขียนว่า สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทง-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง. | สิทธัตถะ น. ผู้ที่สำเร็จความมุ่งหมายแล้ว; พระนามพระพุทธเจ้า. (ป. สิทฺธตฺถ). |