ฦ, ฦๅ ๑ ฦ เขียนว่า ลอ-ลึ ฦๅ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา | วิธีเขียนเสียง ลึ ลือ แต่บัญญัติเขียนเป็นอีกรูปหนึ่งต่างหาก อนุโลมตามอักขรวิธีของสันสกฤต. | ฦ, ฦๅ ๑ วิธีเขียนเสียง ลึ ลือ แต่บัญญัติเขียนเป็นอีกรูปหนึ่งต่างหาก อนุโลมตามอักขรวิธีของสันสกฤต. |
ฦๅ เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ลือ. | ฦๅ ๒ (โบ) ก. ลือ. |
ฦๅชา เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ลือชา. | ฦๅชา (โบ) ก. ลือชา. |
ฦๅสาย เขียนว่า ลอ-ลึ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ลือสาย. | ฦๅสาย (โบ) น. ลือสาย. |
ว เขียนว่า วอ-แหวน | พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น กล่าว นิ้ว. | ว พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น กล่าว นิ้ว. |
วก เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี. | วก ก. หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี. |
วกวน เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ลดเลี้ยวไปมา, คดไปคดมา, เช่น ทางเข้าออกวกวน, อ้อมไปอ้อมมา, ย้อนไปย้อนมา, เช่น ให้การวกวน เขียนหนังสือวกวนอ่านไม่เข้าใจ. | วกวน ก. ลดเลี้ยวไปมา, คดไปคดมา, เช่น ทางเข้าออกวกวน, อ้อมไปอ้อมมา, ย้อนไปย้อนมา, เช่น ให้การวกวน เขียนหนังสือวกวนอ่านไม่เข้าใจ. |
วกะ เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง หมาป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-กอ-ไก่. | วกะ น. หมาป่า. (ป.; ส. วฺฤก). |
วกุละ เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [วะกุละ] เป็นคำนาม หมายถึง ต้นพิกุล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต พกุล เขียนว่า พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง วกุล เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง . | วกุละ [วะกุละ] น. ต้นพิกุล. (ป.; ส. พกุล, วกุล). |
วง เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น วงราชการ วงดนตรี; ส่วนสัดของมือที่ใช้ในการรํา, คู่กับ เหลี่ยม คือ ส่วนสัดของขาที่ใช้ในการรํา; ลักษณนามใช้เรียกของที่เป็นวง เช่น แหวนวงหนึ่ง หรืออาการที่คนหลาย ๆ คนนั่งหรือยืนล้อมกันเป็นวง เช่น ไพ่วงหนึ่ง ระบำชาวไร่ ๒ วง นั่งล้อมวงกินข้าว ๓ วง หรือการเล่นที่มีคนหลาย ๆ คนร่วมกันเป็นชุดเป็นคณะ เช่น เครื่องสายวงหนึ่ง แตรวงวงหนึ่ง ดนตรี ๒ วงประชันกัน. เป็นคำกริยา หมายถึง ล้อมรอบ, ทําเครื่องหมายเป็นรูปวงอย่างเอาดินสอเขียนเป็นรูปวงหมายไว้ หรือใช้ด้ายหรือเชือกอ้อมมาบรรจบกัน เช่น วงสายสิญจน์. | วง น. รูปที่มีเส้นที่โค้งเข้ามาบรรจบกัน ล้อมรอบเป็นขอบเขตสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น วงกลม วงรี, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่รวมกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม เช่น วงราชการ วงดนตรี; ส่วนสัดของมือที่ใช้ในการรํา, คู่กับ เหลี่ยม คือ ส่วนสัดของขาที่ใช้ในการรํา; ลักษณนามใช้เรียกของที่เป็นวง เช่น แหวนวงหนึ่ง หรืออาการที่คนหลาย ๆ คนนั่งหรือยืนล้อมกันเป็นวง เช่น ไพ่วงหนึ่ง ระบำชาวไร่ ๒ วง นั่งล้อมวงกินข้าว ๓ วง หรือการเล่นที่มีคนหลาย ๆ คนร่วมกันเป็นชุดเป็นคณะ เช่น เครื่องสายวงหนึ่ง แตรวงวงหนึ่ง ดนตรี ๒ วงประชันกัน. ก. ล้อมรอบ, ทําเครื่องหมายเป็นรูปวงอย่างเอาดินสอเขียนเป็นรูปวงหมายไว้ หรือใช้ด้ายหรือเชือกอ้อมมาบรรจบกัน เช่น วงสายสิญจน์. |
วงกบ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง กรอบประตูหรือหน้าต่าง, กรอบเช็ดหน้า หรือ เช็ดหน้า ก็เรียก. | วงกบ น. กรอบประตูหรือหน้าต่าง, กรอบเช็ดหน้า หรือ เช็ดหน้า ก็เรียก. |
วงกลม เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง รูปวงที่กลม รอบมีรัศมีจากจุดศูนย์กลางไปถึงขอบมีขนาดเท่ากันหมด; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง รูปที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่งที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะเท่ากัน. | วงกลม น. รูปวงที่กลม รอบมีรัศมีจากจุดศูนย์กลางไปถึงขอบมีขนาดเท่ากันหมด; (คณิต) รูปที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่งที่อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางเป็นระยะเท่ากัน. |
วงการ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู. | วงการ น. กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู. |
วงแขน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง อ้อมแขน เช่น โอบไว้ในวงแขน ได้ถ้วยรางวัลมา กอดไว้ในวงแขนไม่ยอมวาง. | วงแขน น. อ้อมแขน เช่น โอบไว้ในวงแขน ได้ถ้วยรางวัลมา กอดไว้ในวงแขนไม่ยอมวาง. |
วงเงิน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนเงินที่กําหนดไว้เพื่อทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ค้ำประกันในวงเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ซื้อของได้ในวงเงิน ๑,๐๐๐ บาทเท่านั้น. | วงเงิน น. จํานวนเงินที่กําหนดไว้เพื่อทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ค้ำประกันในวงเงิน ๒๐,๐๐๐ บาท ซื้อของได้ในวงเงิน ๑,๐๐๐ บาทเท่านั้น. |
วงจร เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไปครบรอบ, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วงจรชีวิต. | วงจร (ไฟฟ้า) น. เส้นทางที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านไปครบรอบ, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วงจรชีวิต. |
วงจรชีวิต เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ. | วงจรชีวิต น. การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ. |
วงจรปิด เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง วงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้ากําลังเคลื่อนที่อยู่ครบวงจร. | วงจรปิด (ไฟฟ้า) น. วงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้ากําลังเคลื่อนที่อยู่ครบวงจร. |
วงจรเปิด เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาไฟฟ้า เป็นคำนาม หมายถึง วงจรไฟฟ้าที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ไม่ครบวงจร. | วงจรเปิด (ไฟฟ้า) น. วงจรไฟฟ้าที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ไม่ครบวงจร. |
วงเดือน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเลื่อยชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นแผ่นกลม มีฟันอยู่โดยรอบ. | วงเดือน น. ชื่อเลื่อยชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นแผ่นกลม มีฟันอยู่โดยรอบ. |
วงนอก เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกถือเป็นคนวงนอก, ตรงข้ามกับ วงใน. | วงนอก ว. ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกถือเป็นคนวงนอก, ตรงข้ามกับ วงใน. |
วงใน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ข่าวนี้รู้มาจากวงในของราชการ เรื่องนี้พูดกันแต่วงในของคณะรัฐมนตรี, ตรงข้ามกับ วงนอก. | วงใน ว. ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับกิจการหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยตรง เช่น ข่าวนี้รู้มาจากวงในของราชการ เรื่องนี้พูดกันแต่วงในของคณะรัฐมนตรี, ตรงข้ามกับ วงนอก. |
วงพาด เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง รั้วสี่เหลี่ยมภายในเพนียด ใช้ล้อมช้าง ทําด้วยซุงเป็นต้น ๆ ปักเรียงรายเว้นระยะพอให้คนลอดเข้าออกได้ มีไม้ตีพาดเสาเหล่านั้นให้ยึดติดกันโดยรอบ. ในวงเล็บ รูปภาพ วงพาด. | วงพาด น. รั้วสี่เหลี่ยมภายในเพนียด ใช้ล้อมช้าง ทําด้วยซุงเป็นต้น ๆ ปักเรียงรายเว้นระยะพอให้คนลอดเข้าออกได้ มีไม้ตีพาดเสาเหล่านั้นให้ยึดติดกันโดยรอบ. (รูปภาพ วงพาด). |
วงรี เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง รูปวงที่กลมเรียวอย่างลูกสมอหรือเมล็ดข้าวสาร; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง รูปคล้ายรูปไข่ที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่ง โดยผลบวกของระยะจากจุดแต่ละจุดไปยังจุดตรึงอยู่กับที่ ๒ จุด มีค่าคงตัวเสมอ. | วงรี น. รูปวงที่กลมเรียวอย่างลูกสมอหรือเมล็ดข้าวสาร; (คณิต) รูปคล้ายรูปไข่ที่เกิดจากเซตของจุดบนระนาบเซตหนึ่ง โดยผลบวกของระยะจากจุดแต่ละจุดไปยังจุดตรึงอยู่กับที่ ๒ จุด มีค่าคงตัวเสมอ. |
วงเล็บ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ( ) สําหรับใช้กันข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น และข้อความในระหว่างวงเล็บนั้นจะอ่านหรือเว้นเสียก็ได้ ไม่ทำให้เนื้อความนอกจากนั้นเสียไป เช่น จึงสรุปได้ว่ามนุษย์หรือขันธ์ ๕ นั้น ได้สร้างโลภะ (ความอยากได้) โทสะ(ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตัวเองทั้งสิ้น, ใช้กันข้อความซึ่งบอกที่มาของคำหรือข้อความ เช่น สิลา น. หิน, ก้อนหิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ศิลา เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา; ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น ลายมือชื่อ (นายเสริม วินิจฉัยกุล) ลายมือชื่อ (กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์), ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ(๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 b2 = (a + b)(a b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. | วงเล็บ น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ ( ) สําหรับใช้กันข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่น และข้อความในระหว่างวงเล็บนั้นจะอ่านหรือเว้นเสียก็ได้ ไม่ทำให้เนื้อความนอกจากนั้นเสียไป เช่น จึงสรุปได้ว่ามนุษย์หรือขันธ์ ๕ นั้น ได้สร้างโลภะ (ความอยากได้) โทสะ(ความโกรธ) และโมหะ (ความหลง) ให้แก่ตัวเองทั้งสิ้น, ใช้กันข้อความซึ่งบอกที่มาของคำหรือข้อความ เช่น สิลา น. หิน, ก้อนหิน. (ป.; ส. ศิลา); ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น ลายมือชื่อ (นายเสริม วินิจฉัยกุล) ลายมือชื่อ (กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์), ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ(๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 b2 = (a + b)(a b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. |
วงเล็บปีกกา เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น (มีรูปภาพ) ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = {2, 4, 6, 8}, 2x 5{7 (x 6) + 3x} 28 = 39. | วงเล็บปีกกา น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น (มีรูปภาพ) ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = {2, 4, 6, 8}, 2x 5{7 (x 6) + 3x} 28 = 39. |
วงเล็บเหลี่ยม เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ [ ] สำหรับใช้กันคำหรือข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่นในอีกลักษณะหนึ่ง เมื่อข้อความนั้นได้มีการใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นด้วย เช่น กตัญญู น. ผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้], ใช้บอกคำอ่านในหนังสือประเภทพจนานุกรม เช่น ขนง [ขะหฺนง] น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ตรี อมาตยกุล] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[x + 4 - 3{x + 5 - 4(x + 1)}] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [Ba2+][F-2] = 1.05.106, Na2 [Fe(Cn)5(NO)]2H2O. | วงเล็บเหลี่ยม น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ [ ] สำหรับใช้กันคำหรือข้อความที่ขยายหรืออธิบายจากข้อความอื่นในอีกลักษณะหนึ่ง เมื่อข้อความนั้นได้มีการใช้เครื่องหมายวงเล็บแบบอื่นด้วย เช่น กตัญญู น. ผู้รู้อุปการคุณที่ท่านทำให้, ผู้รู้คุณท่าน, เป็นคำคู่กันกับ กตเวที. [ป. กต ว่า (อุปการคุณ) ที่ท่านทำแล้ว + ญู ว่า ผู้รู้], ใช้บอกคำอ่านในหนังสือประเภทพจนานุกรม เช่น ขนง [ขะหฺนง] น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ตรี อมาตยกุล] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[x + 4 - 3{x + 5 - 4(x + 1)}] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [Ba2+][F-2] = 1.05.106, Na2 [Fe(Cn)5(NO)]2H2O. |
วงวัง เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง การล้อม. | วงวัง น. การล้อม. |
วงเวียน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง กงเวียน หรือ กางเวียน ก็ว่า; ที่ซึ่งมีลักษณะกลมเป็นที่รวมแห่งถนนหลาย ๆ สาย เช่น วงเวียนใหญ่ วงเวียน ๒๒ กรกฎา. | วงเวียน น. เครื่องมือสําหรับเขียนวงกลม ส่วนโค้งของวงกลม หรือกะระยะ ทำด้วยโลหะ มี ๒ ขา ปลายข้างหนึ่งแหลม ปลายอีกข้างหนึ่งมีดินสอเป็นต้น อีกแบบหนึ่งมีปลายแหลมทั้ง ๒ ข้าง แบบหลังนี้ใช้สำหรับเขียนบนโลหะก็ได้, (โบ) กงเวียน หรือ กางเวียน ก็ว่า; ที่ซึ่งมีลักษณะกลมเป็นที่รวมแห่งถนนหลาย ๆ สาย เช่น วงเวียนใหญ่ วงเวียน ๒๒ กรกฎา. |
วงแหวน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู | [แหฺวน] เป็นคำนาม หมายถึง โลหะหรือแผ่นหนังเป็นต้นที่ทําเป็นรูปแหวนสําหรับรองอย่างที่หัวสลักเกลียวหรือที่เพลา เพื่อกันสึกหรอหรือเพื่อให้กระชับแน่น, มักเรียกว่า แหวน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถนนวงแหวน พื้นที่วงแหวน. | วงแหวน [แหฺวน] น. โลหะหรือแผ่นหนังเป็นต้นที่ทําเป็นรูปแหวนสําหรับรองอย่างที่หัวสลักเกลียวหรือที่เพลา เพื่อกันสึกหรอหรือเพื่อให้กระชับแน่น, มักเรียกว่า แหวน, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถนนวงแหวน พื้นที่วงแหวน. |
วงก์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เบ็ด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด, โค้ง, ลดเลี้ยว; คดโกง, ไม่ซื่อตรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วกฺร เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | วงก์ น. เบ็ด. ว. คด, โค้ง, ลดเลี้ยว; คดโกง, ไม่ซื่อตรง. (ป.; ส. วกฺร). |
วงกต เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-กอ-ไก่-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทําให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทําคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุกว่าเขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วงกต น. ชื่อภูเขาลูกหนึ่งในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ซึ่งมีทางเข้าออกวกวนอาจทําให้หลงทางได้, เรียกสั้น ๆ ว่า เขาวงก์ ก็มี, เรียกสิ่งที่ทําคล้ายคลึงเช่นนั้นในงานเทศน์มหาชาติหรืองานรื่นเริงอื่น ๆ เพื่อความสนุกว่าเขาวงกต, โดยปริยายหมายถึงวกวนหาทางออกไม่ได้. (ป.). |
วงศ, วงศ์ วงศ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา วงศ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด | [วงสะ, วง] เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย, เหล่ากอ, ตระกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วํศ เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี วํส เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ. | วงศ, วงศ์ [วงสะ, วง] น. เชื้อสาย, เหล่ากอ, ตระกูล. (ส. วํศ; ป. วํส). |
วงศกร เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ต้นตระกูล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วงศกร น. ผู้ต้นตระกูล. (ส.). |
วงศ์ทศกัณฐ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ถอ-ถาน-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เรียกญาติพี่น้องมากว่า วงศ์ทศกัณฐ์. | วงศ์ทศกัณฐ์ (ปาก) น. เรียกญาติพี่น้องมากว่า วงศ์ทศกัณฐ์. |
วงศ์วาน เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกหลานเหลนในตระกูล, มักใช้เข้าคู่กับคํา ว่านเครือ เป็น วงศ์วานว่านเครือ. | วงศ์วาน น. ลูกหลานเหลนในตระกูล, มักใช้เข้าคู่กับคํา ว่านเครือ เป็น วงศ์วานว่านเครือ. |
วงศา เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์. | วงศา (กลอน) น. วงศ์. |
วงศาคณาญาติ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ญาติพี่น้อง. | วงศาคณาญาติ น. ญาติพี่น้อง. |
วงศา เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา | ดู วงศ, วงศ์ วงศ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา วงศ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด . | วงศา ดู วงศ, วงศ์. |
วงศาคณาญาติ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู วงศ, วงศ์ วงศ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา วงศ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด . | วงศาคณาญาติ ดู วงศ, วงศ์. |
วงษ์ เขียนว่า วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์. | วงษ์ (โบ) น. วงศ์. |
วจนะ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วะจะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วจนะ [วะจะ] (แบบ) น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป., ส.). |
วจะ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | [วะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา, คํากล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วจสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ. | วจะ [วะ] (แบบ) น. คําพูด, ถ้อยคํา, คํากล่าว. (ป.; ส. วจสฺ). |
วจา เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา | [วะ] เป็นคำนาม หมายถึง ว่านนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วจา [วะ] น. ว่านนํ้า. (ป.). |
วจี เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี | [วะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วจิ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ วาจฺ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-พิน-ทุ . | วจี [วะ] น. คําพูด, ถ้อยคํา. (ป.; ส. วจิ, วาจฺ). |
วจีกรรม เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, การกระทําทางวาจา, เช่น การกล่าวเท็จเป็นการทำผิดทางวจีกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจีกมฺม เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | วจีกรรม น. การพูด, การกระทําทางวาจา, เช่น การกล่าวเท็จเป็นการทำผิดทางวจีกรรม. (ป. วจีกมฺม). |
วจีทุจริต เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [วะจีทุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชั่วทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การพูดเท็จ ๑ การพูดคำหยาบ ๑ การพูดส่อเสียด ๑ การพูดเพ้อเจ้อ ๑. | วจีทุจริต [วะจีทุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชั่วทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การพูดเท็จ ๑ การพูดคำหยาบ ๑ การพูดส่อเสียด ๑ การพูดเพ้อเจ้อ ๑. |
วจีเภท เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง การเปล่งถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วจีเภท น. การเปล่งถ้อยคํา. (ป.). |
วจีวิภาค เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยคำและหน้าที่ของคำ. | วจีวิภาค น. ชื่อตำราไวยากรณ์ตอนที่ว่าด้วยคำและหน้าที่ของคำ. |
วจีสุจริต เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [วะจีสุดจะหฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติชอบทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การไม่พูดเท็จ ๑ การไม่พูดคำหยาบ ๑ การไม่พูดส่อเสียด ๑ การไม่พูดเพ้อเจ้อ ๑. | วจีสุจริต [วะจีสุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชอบทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การไม่พูดเท็จ ๑ การไม่พูดคำหยาบ ๑ การไม่พูดส่อเสียด ๑ การไม่พูดเพ้อเจ้อ ๑. |
วชะ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | [วะ] เป็นคำนาม หมายถึง คอกสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรช เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง. | วชะ [วะ] น. คอกสัตว์. (ป.; ส. วฺรช). |
วชิร, วชิระ วชิร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ วชิระ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [วะชิระ] เป็นคำนาม หมายถึง สายฟ้า; เพชร; อาวุธพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | วชิร, วชิระ [วะชิระ] น. สายฟ้า; เพชร; อาวุธพระอินทร์. (ป.; ส. วชฺร). |
วชิรปาณี, วชิรหัตถ์ วชิรปาณี เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี วชิรหัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถือวชิระ คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วชฺรปาณิ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ วชฺรหสฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า . | วชิรปาณี, วชิรหัตถ์ น. ผู้ถือวชิระ คือ พระอินทร์. (ป.; ส. วชฺรปาณิ, วชฺรหสฺต). |
วชิราวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีวชิระเป็นอาวุธ คือ พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วชิราวุธ น. ผู้มีวชิระเป็นอาวุธ คือ พระอินทร์. (ป.). |
วชิราวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง | ดู วชิร, วชิระ วชิร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ วชิระ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | วชิราวุธ ดู วชิร, วชิระ. |
วฏะ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อะ | [วะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ไทร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วฏะ [วะ] (แบบ) น. ไม้ไทร. (ป., ส.). |
วฏาการ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [วะตากาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สายเชือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วฏาการ [วะตากาน] (แบบ) น. สายเชือก. (ป., ส.). |
วฏุมะ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ถนน, หนทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วฏุมะ (แบบ) น. ถนน, หนทาง. (ป.). |
วณ, วณะ วณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน วณะ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [วะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง แผล, ฝี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรณ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-เนน. | วณ, วณะ [วะนะ] น. แผล, ฝี. (ป.; ส. วฺรณ). |
วณบัตร, วณพันธน์ วณบัตร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ วณพันธน์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าพันแผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วณปฏฺฏก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ วณพนฺธน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พอ-พาน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรณปฏฺฏก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่. | วณบัตร, วณพันธน์ น. ผ้าพันแผล. (ป. วณปฏฺฏก, วณพนฺธน; ส. วฺรณปฏฺฏก). |
วณิช เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง | [วะนิด] เป็นคำนาม หมายถึง พ่อค้า, ผู้ทําการค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาณิช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง. | วณิช [วะนิด] น. พ่อค้า, ผู้ทําการค้า. (ป., ส. วาณิช). |
วณิชชา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | [วะนิดชา] เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วณิชฺยา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา. | วณิชชา [วะนิดชา] น. การค้าขาย. (ป.; ส. วณิชฺยา). |
วณิชชากร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําการค้าขาย, พวกพ่อค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วณิชชากร น. ผู้ทําการค้าขาย, พวกพ่อค้า. (ป.). |
วณิชย์, วณิชยา วณิชย์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด วณิชยา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [วะนิด, วะนิดชะยา] เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วณิชย์, วณิชยา [วะนิด, วะนิดชะยา] น. การค้าขาย. (ส.). |
วณิพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-กอ-ไก่ | [วะนิบพก, วะนิพก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วนิพก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วณิพฺพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-กอ-ไก่ วนิพฺพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วนีปก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-กอ-ไก่ วนียก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ . | วณิพก [วะนิบพก, วะนิพก] (แบบ) น. วนิพก. (ป. วณิพฺพก, วนิพฺพก; ส. วนีปก, วนียก). |
วดี เขียนว่า วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง รั้ว, กําแพง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วติ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤติ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | วดี ๑ น. รั้ว, กําแพง. (ป. วติ; ส. วฺฤติ). |
วดี เขียนว่า วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | คําเติมท้ายคําอื่นที่เป็นนาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์ เช่น ดาราวดี ว่า มีดาว. | วดี ๒ คําเติมท้ายคําอื่นที่เป็นนาม หมายความว่า มี เป็นเพศหญิงตามหลักไวยากรณ์ เช่น ดาราวดี ว่า มีดาว. |
วต, วตะ วต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า วตะ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | [วะตะ] เป็นคำนาม หมายถึง พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ; การจําศีล, การบําเพ็ญทางศาสนา, การปฏิบัติ; ประเพณี, ธรรมเนียม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺรต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า. | วต, วตะ [วะตะ] น. พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ; การจําศีล, การบําเพ็ญทางศาสนา, การปฏิบัติ; ประเพณี, ธรรมเนียม. (ป. วต; ส. วฺรต). |
วทนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วะทะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, คําพูด; ปาก, หน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วทน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ว่า ปาก, หน้า . | วทนะ [วะทะนะ] (แบบ) น. การพูด, คําพูด; ปาก, หน้า. (ป., ส. วทน ว่า ปาก, หน้า). |
วทะ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ | [วะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด. เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, กล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วทะ [วะ] น. คําพูด. ก. พูด, กล่าว. (ป.). |
วทัญญุตา เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้เอื้อเฟื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วทัญญุตา น. ความเป็นผู้เอื้อเฟื้อ. (ป.). |
วทัญญู เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่; ใจดี, ใจบุญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วทัญญู (แบบ) ว. เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่; ใจดี, ใจบุญ. (ป.). |
วทานิย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก | [วะทานิยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เอื้อเฟื้อ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วทานีย เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต วทานฺย เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | วทานิย [วะทานิยะ] น. ผู้เอื้อเฟื้อ. (ป. วทานีย; ส. วทานฺย). |
วธ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง | [วะทะ] เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วธ [วะทะ] ก. ฆ่า. (ป., ส.). |
วธกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วะทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง คนฆ่า, ผู้ฆ่า; เพชฌฆาต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วธกะ [วะทะกะ] น. คนฆ่า, ผู้ฆ่า; เพชฌฆาต. (ป., ส.). |
วธุกา เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกสะใภ้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วธุกา น. ลูกสะใภ้. (ป.). |
วธู เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วธู น. หญิงสาว. (ป., ส.). |
วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เวียนไปโดยรอบ เช่น ขับรถวนรอบสนาม, ไปโดยรอบเข้าหาศูนย์กลางหรือออกจากศูนย์กลาง เช่น น้ำวน วนเป็นก้นหอย. | วน ๑ ก. เวียนไปโดยรอบ เช่น ขับรถวนรอบสนาม, ไปโดยรอบเข้าหาศูนย์กลางหรือออกจากศูนย์กลาง เช่น น้ำวน วนเป็นก้นหอย. |
วนเวียน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง วนไปวนมา, กลับไปกลับมา, เช่น เดินวนเวียนอยู่ระหว่างบ้านกับตลาด กระเป๋าสตางค์หล่นหายเดินวนเวียนหาอยู่หลายรอบ. | วนเวียน ก. วนไปวนมา, กลับไปกลับมา, เช่น เดินวนเวียนอยู่ระหว่างบ้านกับตลาด กระเป๋าสตางค์หล่นหายเดินวนเวียนหาอยู่หลายรอบ. |
วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | [วะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ป่าไม้, ดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วนสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ ว่า ป่า; นํ้า . | วน ๒ [วะนะ] น. ป่าไม้, ดง. (ป.; ส. วนสฺ ว่า ป่า; นํ้า). |
วนจร, วนจรก วนจร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ วนจรก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [วะนะจอน, วะนะจะรก] เป็นคำนาม หมายถึง คนเที่ยวป่า, พรานป่า. เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไปในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วนจร, วนจรก [วะนะจอน, วะนะจะรก] น. คนเที่ยวป่า, พรานป่า. ก. เที่ยวไปในป่า. (ป., ส.). |
วนภู, วนภูมิ วนภู เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู วนภูมิ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง แถบป่า, แถวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วนภู, วนภูมิ น. แถบป่า, แถวป่า. (ป., ส.). |
วนศาสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการทํานุบํารุงรักษา และปลูกป่า. | วนศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยการทํานุบํารุงรักษา และปลูกป่า. |
วนสณฑ์, วนสัณฑ์ วนสณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด วนสัณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสูง, ป่าดง, ราวป่า, แนวป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วนสณฑ์, วนสัณฑ์ น. ป่าสูง, ป่าดง, ราวป่า, แนวป่า. (ป.). |
วนอุทยาน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสงวนที่มีลักษณะธรรมชาติสวยงาม เช่นมีนํ้าตก ถํ้า และทางราชการได้เข้าไปปรับปรุงตกแต่งสถานที่ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน. | วนอุทยาน น. ป่าสงวนที่มีลักษณะธรรมชาติสวยงาม เช่นมีนํ้าตก ถํ้า และทางราชการได้เข้าไปปรับปรุงตกแต่งสถานที่ให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน. |
วนัปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [วะนับปะ] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ใหญ่, พญาไม้; ผีเจ้าป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนปฺปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วนสฺปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | วนัปติ [วะนับปะ] น. ไม้ใหญ่, พญาไม้; ผีเจ้าป่า. (ป. วนปฺปติ; ส. วนสฺปติ). |
วนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู. | วนา (กลอน) น. ป่า. (ป., ส. วน). |
วนาดร, วนาดอน วนาดร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ วนาดอน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ป่าสูง. (วนา + ดอน), พนาดอน หรือ พนาดร ก็ว่า. | วนาดร, วนาดอน น. ป่าสูง. (วนา + ดอน), พนาดอน หรือ พนาดร ก็ว่า. |
วนานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชายป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วนานต์ น. ชายป่า. (ป., ส.). |
วนาลัย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาลย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก. | วนาลัย น. ป่า. (ส. วนาลย). |
วนาลี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ทางป่า; แนวไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วนาลี น. ทางป่า; แนวไม้. (ส.). |
วนาวาส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วนาวาส น. ที่อยู่ในป่า. (ส.). |
วนาศรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วนาศฺรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า. | วนาศรม น. ที่อยู่ในป่า. (ส. วนาศฺรม). |
วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ วนาสณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด วนาสัณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, พนาสณฑ์ หรือ พนาสัณฑ์ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนสณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สอ-เสือ-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท และมาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + ขณฺฑ เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + ษณฺฑ เขียนว่า สอ-รือ-สี-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท . | วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ น. ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, พนาสณฑ์ หรือ พนาสัณฑ์ ก็ว่า. (ป. วนสณฺฑ; ส. วน + ขณฺฑ, วน + ษณฺฑ). |
วนัปติ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนัปติ ดู วน ๒. |
วนัส, วนัส วนัส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ วนัส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | [วะนัด, วะนัดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู. | วนัส, วนัส [วะนัด, วะนัดสะ] น. ป่า. (ส.; ป. วน). |
วนัสบดี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [วะนัดสะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ใหญ่, พญาไม้, (ในภาษาสันสกฤตหมายเฉพาะต้นไทรและต้นมะเดื่อชุมพร). (ส. วนสฺปติ; ป. วนปฺปติ). | วนัสบดี [วะนัดสะบอดี] น. ไม้ใหญ่, พญาไม้, (ในภาษาสันสกฤตหมายเฉพาะต้นไทรและต้นมะเดื่อชุมพร). (ส. วนสฺปติ; ป. วนปฺปติ). |
วนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนา ดู วน ๒. |
วนาดร, วนาดอน วนาดร เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ วนาดอน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนาดร, วนาดอน ดู วน ๒. |
วนานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนานต์ ดู วน ๒. |
วนาลัย เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนาลัย ดู วน ๒. |
วนาลี เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนาลี ดู วน ๒. |
วนาวาส เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนาวาส ดู วน ๒. |
วนาศรม เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-มอ-ม้า | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนาศรม ดู วน ๒. |
วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ วนาสณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด วนาสัณฑ์ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | ดู วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒. | วนาสณฑ์, วนาสัณฑ์ ดู วน ๒. |
วนิดา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง หญิง, หญิงสาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วินิตา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | วนิดา น. หญิง, หญิงสาว. (ป.; ส. วินิตา). |
วนิพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-กอ-ไก่ | [วะนิบพก, วะนิพก] เป็นคำนาม หมายถึง คนขอทานโดยร้องเพลงหรือดีดสีตีเป่าให้ฟัง, ใช้ว่า วณิพก หรือ วันนิพก ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนิพฺพก เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน-กอ-ไก่. | วนิพก [วะนิบพก, วะนิพก] น. คนขอทานโดยร้องเพลงหรือดีดสีตีเป่าให้ฟัง, ใช้ว่า วณิพก หรือ วันนิพก ก็มี. (ป. วนิพฺพก). |
วเนจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ | [วะเนจอน] เป็นคำนาม หมายถึง คนเที่ยวป่า, พรานป่า. เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวไปในป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วเนจร [วะเนจอน] น. คนเที่ยวป่า, พรานป่า. ก. เที่ยวไปในป่า. (ป., ส.). |
วโนทยาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [วะโนทะ] เป็นคำนาม หมายถึง สวนป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู + อุทฺยาน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู . | วโนทยาน [วะโนทะ] น. สวนป่า. (ส. วน + อุทฺยาน). |
วปนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วะปะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การหว่าน (ใช้แก่ข้าว), การเพาะปลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วปนะ [วะปะ] (แบบ) น. การหว่าน (ใช้แก่ข้าว), การเพาะปลูก. (ป., ส.). |
วปุ เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตัว, ร่างกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วปุ (แบบ) น. ตัว, ร่างกาย. (ป., ส.). |
วยัคฆ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เสือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยคฺฆ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง พฺยคฺฆ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาฆฺร เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | วยัคฆ์ น. เสือ. (ป. วฺยคฺฆ, พฺยคฺฆ; ส. วฺยาฆฺร). |
วยัญชนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง พยัญชนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยฺชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี วฺยฺชน เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู พฺยฺชน เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู . | วยัญชนะ น. พยัญชนะ. (ส. วฺยฺชน; ป. วฺยฺชน, พฺยฺชน). |
วยัมหะ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง วิมาน, ฟ้า, เมืองสวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยมฺห เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-พิน-ทุ-หอ-หีบ. | วยัมหะ น. วิมาน, ฟ้า, เมืองสวรรค์. (ป. วฺยมฺห). |
วยัสย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รุ่นราวคราวเดียวกัน, เพื่อน, เกลอ, สหาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วยัสย์ น. ผู้รุ่นราวคราวเดียวกัน, เพื่อน, เกลอ, สหาย. (ส.). |
วยากรณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พยากรณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยากรณ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน. | วยากรณ์ น. พยากรณ์. (ป., ส. วฺยากรณ). |
วยาฆร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เสือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยาฆฺร เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วฺยคฺฆ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง พฺยคฺฆ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง . | วยาฆร์ น. เสือ. (ส. วฺยาฆฺร; ป. วฺยคฺฆ, พฺยคฺฆ). |
วยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ | [วะยาทิ] เป็นคำนาม หมายถึง พยาธิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ พฺยาธิ เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาธิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ. | วยาธิ [วะยาทิ] น. พยาธิ. (ป. วฺยาธิ, พฺยาธิ; ส. วฺยาธิ). |
วยามะ เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัด ยาวเท่ากับ ๑ วา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฺยาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า พฺยาม เขียนว่า พอ-พาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | วยามะ น. มาตราวัด ยาวเท่ากับ ๑ วา. (ป. วฺยาม, พฺยาม; ส. วฺยาม). |
วยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง พยายาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี วายาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | วยายาม น. พยายาม. (ส. วฺยายาม; ป. วายาม). |
วร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ | [วะระ, วอระ] เป็นคำนาม หมายถึง พร; ของขวัญ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วร [วะระ, วอระ] น. พร; ของขวัญ. ว. ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, เลิศ. (ป., ส.). |
วรดนู เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อู | [วะระดะ, วอระดะ] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรตนุ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ. | วรดนู [วะระดะ, วอระดะ] น. หญิงงาม. (ส. วรตนุ). |
วรทะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ | [วะระทะ, วอระทะ] เป็นคำนาม หมายถึง การให้พร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วรทะ [วะระทะ, วอระทะ] น. การให้พร. (ป.). |
วรทาน เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [วะระทาน, วอระทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การให้พร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; การให้ของขวัญแก่เจ้าบ่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วรทาน [วะระทาน, วอระทาน] น. การให้พร. (ป.); การให้ของขวัญแก่เจ้าบ่าว. (ส.). |
วรมหาวิหาร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [วอระ] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นเอกชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระธาตุพนม, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดจักรวรรดิ วัดระฆัง. | วรมหาวิหาร [วอระ] น. เรียกพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นเอกชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดพระศรีมหาธาตุ วัดพระธาตุพนม, เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นโทชนิดวรมหาวิหาร เช่น วัดจักรวรรดิ วัดระฆัง. |
วรวิหาร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [วอระ] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นโทชนิดวรวิหาร เช่น วัดบพิตรพิมุข วัดอนงคาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นตรีชนิดวรวิหาร เช่น วัดราชนัดดา วัดเทพธิดา. | วรวิหาร [วอระ] น. เรียกพระอารามหลวงชั้นโทชนิดตํ่าสุดว่า ชั้นโทชนิดวรวิหาร เช่น วัดบพิตรพิมุข วัดอนงคาราม, เรียกพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดหนึ่ง มีฐานะตํ่ากว่าชนิดราชวรวิหาร ว่า ชั้นตรีชนิดวรวิหาร เช่น วัดราชนัดดา วัดเทพธิดา. |
วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ วรุตดม เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วรุตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ วโรดม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วโรตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | [วะรุดดม, วะรุดตะมะ, วะโรดม, วะโรดตะมะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประเสริฐสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ + อุตฺตม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า . | วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ [วะรุดดม, วะรุดตะมะ, วะโรดม, วะโรดตะมะ] ว. ประเสริฐสุด. (ป. วร + อุตฺตม). |
วรงค์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [วะรง] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญของร่างกาย คือ หัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วร เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ + องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย . | วรงค์ [วะรง] น. ส่วนสําคัญของร่างกาย คือ หัว. (ส. วร + องฺค). |
วรณะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [วะระนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ป้อม, กําแพง, ที่ป้องกัน; การป้องกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วรณะ [วะระนะ] น. ป้อม, กําแพง, ที่ป้องกัน; การป้องกัน. (ป., ส.). |
วรรค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย | [วัก] เป็นคำนาม หมายถึง ตอน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กันเป็น วรรคตอน เช่น เครื่องหมายวรรคตอน เขียนหนังสือควรให้มีวรรคตอน, หมวด เช่น วรรค ก; ช่วงหนึ่งของคําหรือข้อความที่สุดลงแล้วเว้นเป็นช่องว่างไว้ระยะหนึ่ง เรียกว่า เว้นวรรค, ถ้าเป็นเรื่องร้อยกรองถือข้อความช่วงหนึ่ง เป็น วรรคหนึ่ง เช่น ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร; ชื่อมาตราปักษคณนา ๔ หรือ ๕ ปักษ์ เรียก วรรคหนึ่ง คือ ปักษ์ถ้วน ๓ ปักษ์ขาด ๑ เรียก จุลวรรค, ปักษ์ถ้วน ๔ ปักษ์ขาด ๑ เรียก มหาวรรค; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ย่อหน้าหนึ่ง ๆ ของบทบัญญัติในแต่ละมาตราของกฎหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี วคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | วรรค [วัก] น. ตอน, บางทีก็ใช้เข้าคู่กันเป็น วรรคตอน เช่น เครื่องหมายวรรคตอน เขียนหนังสือควรให้มีวรรคตอน, หมวด เช่น วรรค ก; ช่วงหนึ่งของคําหรือข้อความที่สุดลงแล้วเว้นเป็นช่องว่างไว้ระยะหนึ่ง เรียกว่า เว้นวรรค, ถ้าเป็นเรื่องร้อยกรองถือข้อความช่วงหนึ่ง เป็น วรรคหนึ่ง เช่น ถึงม้วยดินสิ้นฟ้ามหาสมุทร; ชื่อมาตราปักษคณนา ๔ หรือ ๕ ปักษ์ เรียก วรรคหนึ่ง คือ ปักษ์ถ้วน ๓ ปักษ์ขาด ๑ เรียก จุลวรรค, ปักษ์ถ้วน ๔ ปักษ์ขาด ๑ เรียก มหาวรรค; (กฎ) ย่อหน้าหนึ่ง ๆ ของบทบัญญัติในแต่ละมาตราของกฎหมาย. (ส. วรฺค; ป. วคฺค). |
วรรคย์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [วัก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับหมู่กับคณะ, เป็นหมวด, เป็นหมู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺคฺย เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี วคฺคิย เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก. | วรรคย์ [วัก] ว. เกี่ยวกับหมู่กับคณะ, เป็นหมวด, เป็นหมู่. (ส. วรฺคฺย; ป. วคฺคิย). |
วรรช เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง | [วัด] เป็นคำนาม หมายถึง โทษ, ความผิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺช เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง. | วรรช [วัด] น. โทษ, ความผิด. (ส. วรฺช; ป. วชฺช). |
วรรชย์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [วัด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ควรเว้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺชฺย เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | วรรชย์ [วัด] ว. ที่ควรเว้น. (ส. วรฺชฺย). |
วรรณ, วรรณะ วรรณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน วรรณะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [วันนะ] เป็นคำนาม หมายถึง สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคนออกเป็น ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร; หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี วณฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน. | วรรณ, วรรณะ [วันนะ] น. สี เช่น เบญจวรรณ แปลว่า ๕ สี, มักใช้เข้าคู่กับคำ สีสัน เป็น สีสันวรรณะ; ผิว เช่น ขอให้เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ผิวพรรณ เป็น ผิวพรรณวรรณะ; ชั้นชน, ในสังคมฮินดูแบ่งคนออกเป็น ๔ วรรณะ คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร; หนังสือ เช่น วรรณกรรม วรรณคดี. (ส. วรฺณ; ป. วณฺณ). |
วรรณกรรม เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย. | วรรณกรรม น. งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน; (กฎ) งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ และหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย. |
วรรณคดี เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. | วรรณคดี น. วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. |
วรรณยุกต์, วรรณยุต วรรณยุกต์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด วรรณยุต เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม้จัตวา). | วรรณยุกต์, วรรณยุต น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทย มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา มีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูป คือ ่ (ไม้เอก) ้ (ไม้โท) ๊ (ไม้ตรี) ๋ (ไม้จัตวา). |
วรรณศิลป์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี. | วรรณศิลป์ น. ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี. |
วรรณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [วันนะ] เป็นคำนาม หมายถึง พรรณนา, การกล่าวถ้อยคําให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี วณฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. | วรรณนา [วันนะ] น. พรรณนา, การกล่าวถ้อยคําให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ. (ส. วรฺณนา; ป. วณฺณนา). |
วรรณพฤติ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-พาน-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [วันนะพรึด] เป็นคำนาม หมายถึง ฉันท์ที่กําหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ. | วรรณพฤติ [วันนะพรึด] น. ฉันท์ที่กําหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ. |
วรรณึก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺณิก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่. | วรรณึก น. ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. (ส. วรฺณิก). |
วรรธกะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วัดทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เจริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺธก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ทอ-ทง-กอ-ไก่ ว่า ผู้ทําให้เจริญ และมาจากภาษาบาลี วฑฺฒก เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่. | วรรธกะ [วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. (ส. วรฺธก ว่า ผู้ทําให้เจริญ; ป. วฑฺฒก). |
วรรธนะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วัดทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเจริญ, ความงอกงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺธน เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ทอ-ทง-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี วฑฺฒน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู. | วรรธนะ [วัดทะนะ] น. ความเจริญ, ความงอกงาม. (ส. วรฺธน; ป. วฑฺฒน). |
วรรษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี | [วัด] เป็นคำนาม หมายถึง พรรษ, ฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วรฺษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี วสฺส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ. | วรรษ [วัด] น. พรรษ, ฝน; ปี. (ส. วรฺษ; ป. วสฺส). |
วรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | [วัดสา] เป็นคำนาม หมายถึง พรรษา, ฤดูฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วรรษา [วัดสา] น. พรรษา, ฤดูฝน; ปี. (ส.). |
วรัญญู เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อู | [วะรันยู] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ตรัสรู้ธรรมอันประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วรัญญู [วะรันยู] น. ผู้ตรัสรู้ธรรมอันประเสริฐ คือ พระพุทธเจ้า. (ป.). |
วรากะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตุ่ม, ไห, หม้อนํ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่าเวทนา, น่าสงสาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วรากะ (แบบ) น. ตุ่ม, ไห, หม้อนํ้า. ว. น่าเวทนา, น่าสงสาร. (ป., ส.). |
วรางคณา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงผู้ประเสริฐ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วรางคณา น. หญิงผู้ประเสริฐ. (ส.). |
วราห์, วราหะ วราห์ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด วราหะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง หมู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วราห์, วราหะ น. หมู. (ป., ส.). |
วรุณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน | เป็นคำนาม หมายถึง พระพิรุณ, เทวดาแห่งนํ้า, เทวดาแห่งฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วรุณ น. พระพิรุณ, เทวดาแห่งนํ้า, เทวดาแห่งฝน. (ส.). |
วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ วรุตดม เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วรุตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ วโรดม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า วโรตมะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | ดู วร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ. | วรุตดม, วรุตมะ, วโรดม, วโรตมะ ดู วร. |
วรูถะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ | [วะรูถะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การป้องกัน, ที่ป้องกัน, ที่พัก; เครื่องป้องกัน; เกราะ, โล่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วรูถะ [วะรูถะ] (แบบ) น. การป้องกัน, ที่ป้องกัน, ที่พัก; เครื่องป้องกัน; เกราะ, โล่. (ส.). |
วฤก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-รึ-กอ-ไก่ | [วฺรึก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หมาป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺฤก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี วก เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่. | วฤก [วฺรึก] (แบบ) น. หมาป่า. (ส. วฺฤก; ป. วก). |
วฤษภ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา | [วฺรึสบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พฤษภ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษภ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาบาลี วสภ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา. | วฤษภ [วฺรึสบ] (แบบ) น. พฤษภ. (ส. วฺฤษภ; ป. วสภ). |
วฤษละ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [วฺรึสะละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คนชั่ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษล เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี วสล เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ลอ-ลิง. | วฤษละ [วฺรึสะละ] (แบบ) น. คนชั่ว. (ส. วฺฤษล; ป. วสล). |
วลัช เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ปลาชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วลัช (แบบ) น. ปลาชนิดหนึ่ง. (ป.). |
วลัญช์ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-ทัน-ทะ-คาด | [วะลัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง รอย, เครื่องหมาย; ทาง; การใช้สอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วลัญช์ [วะลัน] (แบบ) น. รอย, เครื่องหมาย; ทาง; การใช้สอย. (ป.). |
วลัญชน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การใช้สอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วลัญชน์ น. การใช้สอย. (ป.). |
วลัย เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [วะไล] เป็นคำนาม หมายถึง กําไลมือ, ทองกร; ของที่เป็นวงกลม, วงกลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วลัย [วะไล] น. กําไลมือ, ทองกร; ของที่เป็นวงกลม, วงกลม. (ป., ส.). |
วลาหก เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่ | [วะลาหก] เป็นคำนาม หมายถึง เมฆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วลาหก [วะลาหก] น. เมฆ. (ป.). |
วลี เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | [วะลี] เป็นคำนาม หมายถึง แถว, รอย, รอยย่น (ที่หน้า). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง กลุ่มคําที่เรียงติดต่อกันเป็นระเบียบและมีกระแสความเป็นที่หมายรู้กันได้ แต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ เช่น หนูแหวนแขนอ่อน เวลาดึกดื่นเที่ยงคืน ทางเดินเข้าสวนมะพร้าว. | วลี [วะลี] น. แถว, รอย, รอยย่น (ที่หน้า). (ป., ส.); (ไว) กลุ่มคําที่เรียงติดต่อกันเป็นระเบียบและมีกระแสความเป็นที่หมายรู้กันได้ แต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์ เช่น หนูแหวนแขนอ่อน เวลาดึกดื่นเที่ยงคืน ทางเดินเข้าสวนมะพร้าว. |
วศค เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-คอ-ควาย | [วะสก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่ในอํานาจ, ผู้อยู่ในบังคับ, ผู้เชื่อฟัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วสค เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-คอ-ควาย. | วศค [วะสก] (แบบ) น. ผู้อยู่ในอํานาจ, ผู้อยู่ในบังคับ, ผู้เชื่อฟัง. (ส.; ป. วสค). |
วศะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ, การบังคับบัญชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ. | วศะ น. อํานาจ, การบังคับบัญชา. (ส.; ป. วส). |
วศิน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วศิน (แบบ) น. ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์. (ส.). |
วสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | [วะสะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่, บ้าน; การอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วสนะ ๑ [วะสะ] (แบบ) น. ที่อยู่, บ้าน; การอยู่. (ป.). |
วสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [วะสะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วสนะ ๒ [วะสะ] (แบบ) น. เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป., ส.). |
วสภะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อะ | [วะสะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วัวตัวผู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษภ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-พอ-สำ-เพา. | วสภะ [วะสะ] (แบบ) น. วัวตัวผู้. (ป.; ส. วฺฤษภ). |
วสละ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [วะสะ] เป็นคำนาม หมายถึง คนชั่ว, คนถ่อย, คนตํ่าช้า, คนชั้นตํ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษล เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง. | วสละ [วะสะ] น. คนชั่ว, คนถ่อย, คนตํ่าช้า, คนชั้นตํ่า. (ป.; ส. วฺฤษล). |
วสลี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | [วะสะ] เป็นคำนาม หมายถึง หญิงชั่ว, หญิงตํ่าช้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤษลิ เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ. | วสลี [วะสะ] น. หญิงชั่ว, หญิงตํ่าช้า. (ป.; ส. วฺฤษลิ). |
วสวัดดี, วสวัตตี วสวัดดี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี วสวัตตี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี | [วะสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ยังสัตว์ให้อยู่ในอํานาจ; ชื่อของเทวบุตรมาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วสวัดดี, วสวัตตี [วะสะ] น. ผู้ยังสัตว์ให้อยู่ในอํานาจ; ชื่อของเทวบุตรมาร. (ป.). |
วสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจ, กําลัง; ความตั้งใจ, ความปรารถนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วศ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-สา-ลา. | วสะ น. อํานาจ, กําลัง; ความตั้งใจ, ความปรารถนา. (ป.; ส. วศ). |
วสันต, วสันต์ วสันต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า วสันต์ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [วะสันตะ, วะสัน] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ผลิในคำว่า ฤดูวสันต์, วสันตฤดู ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วสันต, วสันต์ [วะสันตะ, วะสัน] น. ฤดูใบไม้ผลิในคำว่า ฤดูวสันต์, วสันตฤดู ก็ว่า. (ป., ส.). |
วสันตฤดู เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูใบไม้ผลิ, ฤดูวสันต์ ก็ว่า. | วสันตฤดู น. ฤดูใบไม้ผลิ, ฤดูวสันต์ ก็ว่า. |
วสันตวิษุวัต เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จุดราตรีเสมอภาค ที่เมื่อดวงอาทิตย์โคจรไปถึงในราววันที่ ๒๑ มีนาคม, คู่กับ ศารทวิษุวัต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vernal เขียนว่า วี-อี-อา-เอ็น-เอ-แอล equinox เขียนว่า อี-คิว-ยู-ไอ-เอ็น-โอ-เอ็กซ์ . | วสันตวิษุวัต (ดารา) น. จุดราตรีเสมอภาค ที่เมื่อดวงอาทิตย์โคจรไปถึงในราววันที่ ๒๑ มีนาคม, คู่กับ ศารทวิษุวัต. (อ. vernal equinox). |
วสันตดิลก เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | [วะสันตะดิหฺลก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๔ คํา เช่น ช่อฟ้าก็เฟื้อยกลจะฟัด ดลฟากทิฆัมพร บราลีพิไลพิศบวร นภศูลสล้างลอย. (อิลราช). (ป., เป็นคำสรรพนาม หมายถึง วสนฺตติลก). | วสันตดิลก [วะสันตะดิหฺลก] น. ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง บาทหนึ่งมี ๑๔ คํา เช่น ช่อฟ้าก็เฟื้อยกลจะฟัด ดลฟากทิฆัมพร บราลีพิไลพิศบวร นภศูลสล้างลอย. (อิลราช). (ป., ส. วสนฺตติลก). |
วสา เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง มันเหลว; ไข, นํ้ามัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วสา น. มันเหลว; ไข, นํ้ามัน. (ป., ส.). |
วสี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์, ผู้ตัดกิเลสได้ดังใจ; ผู้ชํานาญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วสี น. ผู้ชํานะตนเอง, ผู้สํารวมอินทรีย์, ผู้ตัดกิเลสได้ดังใจ; ผู้ชํานาญ. (ป.). |
วสุ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์, สมบัติ; ชื่อเทวดาหมู่หนึ่งมี ๘ องค์ด้วยกัน เป็นบริวารของพระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วสุ น. ทรัพย์, สมบัติ; ชื่อเทวดาหมู่หนึ่งมี ๘ องค์ด้วยกัน เป็นบริวารของพระอินทร์. (ป., ส.). |
วสุธา เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, พื้นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วสุธา น. แผ่นดิน, พื้นดิน. (ป., ส.). |
วสุนธรา เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [สุนทะ] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, พื้นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วสุนธรา [สุนทะ] น. แผ่นดิน, พื้นดิน. (ป., ส.). |
วสุมดี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [สุมะ] เป็นคำนาม หมายถึง โลก, แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วสุมตี เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี. | วสุมดี [สุมะ] น. โลก, แผ่นดิน. (ป., ส. วสุมตี). |
วหะ เขียนว่า วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง นําไป, พาไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วหะ ก. นําไป, พาไป. (ป., ส.). |
วหา เขียนว่า วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วหา น. แม่นํ้า. (ส.). |
วอ เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ยานที่มีลักษณะเป็นรูปเรือนหลังคาทรงจั่ว สําหรับเจ้านายหรือข้าราชการฝ่ายในนั่ง มีคานรับอยู่ข้างใต้คู่หนึ่ง ใช้คนหาม, เรียกรถยนต์ที่มีวอสําหรับเชิญศพตั้งอยู่บนกระบะรถว่า รถวอ. | วอ น. ยานที่มีลักษณะเป็นรูปเรือนหลังคาทรงจั่ว สําหรับเจ้านายหรือข้าราชการฝ่ายในนั่ง มีคานรับอยู่ข้างใต้คู่หนึ่ง ใช้คนหาม, เรียกรถยนต์ที่มีวอสําหรับเชิญศพตั้งอยู่บนกระบะรถว่า รถวอ. |
วอพระประเทียบ เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง วอสำหรับเจ้านายฝ่ายใน. | วอพระประเทียบ น. วอสำหรับเจ้านายฝ่ายใน. |
วอก เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปีที่ ๙ ของรอบปีนักษัตร มีลิงเป็นเครื่องหมาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ลิง เช่น ซนเป็นอ้ายวอก; เรียกหน้าของคนที่ผัดแป้งจนขาวเกินไปว่า หน้าวอก. | วอก น. ชื่อปีที่ ๙ ของรอบปีนักษัตร มีลิงเป็นเครื่องหมาย; (ปาก) ลิง เช่น ซนเป็นอ้ายวอก; เรียกหน้าของคนที่ผัดแป้งจนขาวเกินไปว่า หน้าวอก. |
วอกแวก เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่จิตใจไม่จดจ่อแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เวลาฟังครูสอนมีสิ่งรบกวนทำให้จิตใจวอกแวก. | วอกแวก ว. อาการที่จิตใจไม่จดจ่อแน่วแน่อยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เวลาฟังครูสอนมีสิ่งรบกวนทำให้จิตใจวอกแวก. |
ว่องไว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง รวดเร็ว, คล่องแคล่ว, ปราดเปรียว, ปราดเปรื่อง, เช่น ทำงานว่องไว มีปฏิภาณว่องไว. | ว่องไว ก. รวดเร็ว, คล่องแคล่ว, ปราดเปรียว, ปราดเปรื่อง, เช่น ทำงานว่องไว มีปฏิภาณว่องไว. |
วอด เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง หมดไป, สิ้นไป, เช่น ไฟไหม้เสียวอดเลย, วอดวาย ก็ว่า. | วอด ก. หมดไป, สิ้นไป, เช่น ไฟไหม้เสียวอดเลย, วอดวาย ก็ว่า. |
วอดวาย เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง หมดไป, สิ้นไป, เช่น บ้านเรือนถูกไฟไหม้วอดวายแล้ว, วอด ก็ว่า; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง ตาย เช่น ถึงสุราพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไป. (นิ. ภูเขาทอง). | วอดวาย ก. หมดไป, สิ้นไป, เช่น บ้านเรือนถูกไฟไหม้วอดวายแล้ว, วอด ก็ว่า; (วรรณ) ตาย เช่น ถึงสุราพารอดไม่วอดวาย ไม่ใกล้กรายแกล้งเมินก็เกินไป. (นิ. ภูเขาทอง). |
วอน เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง รนหาที่ เช่น วอนตาย; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม หมายถึง ร่ำขอ, ขอด้วยอาการออด, เฝ้าร้องขอให้ทำตามประสงค์, เช่น คำนึงนุชนาฎเนื้อ นวลสมร แม้นแม่มาจักวอน พี่ชี้. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์. | วอน (ปาก) ก. รนหาที่ เช่น วอนตาย; (วรรณ) ร่ำขอ, ขอด้วยอาการออด, เฝ้าร้องขอให้ทำตามประสงค์, เช่น คำนึงนุชนาฎเนื้อ นวลสมร แม้นแม่มาจักวอน พี่ชี้. (ตะเลงพ่าย). |
ว่อน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปในอากาศเป็นฝูงหรือเป็นจำนวนมาก เช่น แมลงบินว่อน กระดาษปลิวว่อน, อาการที่บินวนเวียนไปมา เช่น แมลงวันตัวนี้บินว่อนอยู่ในห้องนานแล้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เดินกันว่อน ข่าวลือว่อน. | ว่อน ว. อาการที่เคลื่อนไปในอากาศเป็นฝูงหรือเป็นจำนวนมาก เช่น แมลงบินว่อน กระดาษปลิวว่อน, อาการที่บินวนเวียนไปมา เช่น แมลงวันตัวนี้บินว่อนอยู่ในห้องนานแล้ว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เดินกันว่อน ข่าวลือว่อน. |
ว็อบแว็บ, ว็อบ ๆ แว็บ ๆ ว็อบแว็บ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ว็อบ ๆ แว็บ ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง เช่น วันนี้โทรทัศน์ไม่ดี เห็นภาพว็อบแว็บหลายตอน. | ว็อบแว็บ, ว็อบ ๆ แว็บ ๆ ว. อาการที่เห็นชัดบ้างไม่ชัดบ้าง เช่น วันนี้โทรทัศน์ไม่ดี เห็นภาพว็อบแว็บหลายตอน. |
วอมแวม, วอม ๆ แวม ๆ, ว็อมแว็ม, ว็อม ๆ แว็ม ๆ วอมแวม เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า วอม ๆ แวม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก ว็อมแว็ม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ว็อม ๆ แว็ม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-ไต่-คู้-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของแสงที่มองเห็นเรือง ๆ ไหว ๆ อยู่ในระยะไกล เช่น ในเวลากลางคืนพอมองเห็นแสงไฟวอมแวมอยู่ในที่ไกล ก็รู้สึกใจชื้นขึ้นมาหน่อย กระท่อมหลังนั้นคงมีคนอยู่ เพราะเห็นไฟวอม ๆ แวม ๆ อยู่ มีแสงไฟจากเรือหาปลาว็อมแว็ม. | วอมแวม, วอม ๆ แวม ๆ, ว็อมแว็ม, ว็อม ๆ แว็ม ๆ ว. ลักษณะของแสงที่มองเห็นเรือง ๆ ไหว ๆ อยู่ในระยะไกล เช่น ในเวลากลางคืนพอมองเห็นแสงไฟวอมแวมอยู่ในที่ไกล ก็รู้สึกใจชื้นขึ้นมาหน่อย กระท่อมหลังนั้นคงมีคนอยู่ เพราะเห็นไฟวอม ๆ แวม ๆ อยู่ มีแสงไฟจากเรือหาปลาว็อมแว็ม. |
วอลเลย์บอล เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง กีฬาอย่างหนึ่ง แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๖ คน แต่ละฝ่ายต้องใช้มือตีหรือตบลูกบอลข้ามตาข่ายโต้กันไปมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ volley เขียนว่า วี-โอ-แอล-แอล-อี-วาย ball เขียนว่า บี-เอ-แอล-แอล . | วอลเลย์บอล น. กีฬาอย่างหนึ่ง แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๖ คน แต่ละฝ่ายต้องใช้มือตีหรือตบลูกบอลข้ามตาข่ายโต้กันไปมา. (อ. volley ball). |
วอแว เขียนว่า วอ-แหวน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง รบกวน, เซ้าซี้, เช่น เขากำลังอารมณ์เสีย อย่าเข้าไปวอแว; เกาะแกะ เช่น อย่าไปวอแวลูกสาวเขา. | วอแว ก. รบกวน, เซ้าซี้, เช่น เขากำลังอารมณ์เสีย อย่าเข้าไปวอแว; เกาะแกะ เช่น อย่าไปวอแวลูกสาวเขา. |
วะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ๊ะ, คำที่เปล่งออกมาแสดงอารมณ์ผิดคาดหรือผิดหวังเป็นต้น, อุวะ หรือ ว้า ก็ว่า; คำบอกเสียงต่อท้ายประโยคแสดงความคุ้นเคยเป็นกันเองหรือแสดงความไม่สุภาพ เช่น ไปไหนวะ. | วะ ๑ ว. บ๊ะ, คำที่เปล่งออกมาแสดงอารมณ์ผิดคาดหรือผิดหวังเป็นต้น, อุวะ หรือ ว้า ก็ว่า; คำบอกเสียงต่อท้ายประโยคแสดงความคุ้นเคยเป็นกันเองหรือแสดงความไม่สุภาพ เช่น ไปไหนวะ. |
วะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ว เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ว่อนว่อน กร่อนเป็น วะว่อน วาบวาบ กร่อนเป็น วะวาบ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. | วะ ๒ คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ว เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ว่อนว่อน กร่อนเป็น วะว่อน วาบวาบ กร่อนเป็น วะวาบ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. |
วัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาอุ้งมือตักน้ำหรือของเหลวขึ้นมาค่อนข้างเร็ว เช่น ใช้มือวักน้ำกิน เอามือวักน้ำโคลนสาด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วักควัน. | วัก ๑ ก. เอาอุ้งมือตักน้ำหรือของเหลวขึ้นมาค่อนข้างเร็ว เช่น ใช้มือวักน้ำกิน เอามือวักน้ำโคลนสาด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วักควัน. |
วัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง เซ่น, มักใช้เข้าคู่กันเป็น เซ่นวัก. | วัก ๒ ก. เซ่น, มักใช้เข้าคู่กันเป็น เซ่นวัก. |
วักกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ไต. (โบราณแปลว่า ม้าม). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤกฺก เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่. | วักกะ ๑ น. ไต. (โบราณแปลว่า ม้าม). (ป.; ส. วฺฤกฺก). |
วักกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คด, ไม่ตรง, โกง, งอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วกฺร เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | วักกะ ๒ ว. คด, ไม่ตรง, โกง, งอ. (ป.; ส. วกฺร). |
วัค เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง วรรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺค เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | วัค น. วรรค. (ป. วคฺค; ส. วรฺค). |
วัคคิยะ, วัคคีย์ วัคคิยะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ วัคคีย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [วักคิยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในพวก, อยู่ในหมู่, เช่น เบญจวัคคีย์ ว่า อยู่ในพวก ๕. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วัคคิยะ, วัคคีย์ [วักคิยะ] ว. อยู่ในพวก, อยู่ในหมู่, เช่น เบญจวัคคีย์ ว่า อยู่ในพวก ๕. (ป.). |
วัคคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไพเราะ, เสนาะ; งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ. | วัคคุ ว. ไพเราะ, เสนาะ; งาม. (ป.; ส. วลฺคุ). |
วัคคุวัท เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้กล่าวไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วคฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ + วท เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ว่า ผู้กล่าว . | วัคคุวัท ว. ผู้กล่าวไพเราะ. (ป. วคฺคุ + วท ว่า ผู้กล่าว). |
วัคซีน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ผลิตผลที่ประกอบด้วยเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ถูกฆ่าหรือทําให้มีฤทธิ์อ่อนแรงจนไม่เป็นอันตราย สําหรับฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vaccine เขียนว่า วี-เอ-ซี-ซี-ไอ-เอ็น-อี. | วัคซีน น. ผลิตผลที่ประกอบด้วยเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียที่ถูกฆ่าหรือทําให้มีฤทธิ์อ่อนแรงจนไม่เป็นอันตราย สําหรับฉีดเข้าสู่ร่างกายเพื่อกระตุ้นให้เกิดภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเกิดจากเชื้อนั้น ๆ. (อ. vaccine). |
วัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่อยู่ของเจ้านาย, ถ้าเป็นที่อยู่ของพระมหากษัตริย์เรียก พระราชวัง หรือ พระบรมมหาราชวัง; ห้วงนํ้าลึก เช่น วังจระเข้. เป็นคำกริยา หมายถึง ล้อม, ห้อมล้อม. | วัง ๑ น. ที่อยู่ของเจ้านาย, ถ้าเป็นที่อยู่ของพระมหากษัตริย์เรียก พระราชวัง หรือ พระบรมมหาราชวัง; ห้วงนํ้าลึก เช่น วังจระเข้. ก. ล้อม, ห้อมล้อม. |
วังช้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วิธีจับช้างเถื่อนโดยต้อนช้างเข้ามาอยู่ในวงล้อมทั้งโขลง. | วังช้าง น. วิธีจับช้างเถื่อนโดยต้อนช้างเข้ามาอยู่ในวงล้อมทั้งโขลง. |
วังวน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ห้วงนํ้าที่หมุนวน. | วังวน น. ห้วงนํ้าที่หมุนวน. |
วังหน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เรียกในราชการว่า พระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งอยู่ด้านหน้าพระราชวังหลวงหรือพระบรมมหาราชวัง มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบวรราชวัง, ปัจจุบันเรียกพระราชวงศ์ฝ่ายนี้ว่า ฝ่ายวังหน้า. | วังหน้า น. วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เรียกในราชการว่า พระราชวังบวรสถานมงคล ตั้งอยู่ด้านหน้าพระราชวังหลวงหรือพระบรมมหาราชวัง มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบวรราชวัง, ปัจจุบันเรียกพระราชวงศ์ฝ่ายนี้ว่า ฝ่ายวังหน้า. |
วังหลวง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง. | วังหลวง น. วังซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน, ในรัชกาลที่ ๔ ทรงบัญญัติให้เรียกว่า พระบรมมหาราชวัง. |
วังหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วังซึ่งเป็นที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข มักตั้งอยู่ทางด้านหลังของพระราชวังหลวง. | วังหลัง น. วังซึ่งเป็นที่ประทับของกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข มักตั้งอยู่ทางด้านหลังของพระราชวังหลวง. |
วัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ตำแหน่งเจ้ากระทรวงปกครองครั้งโบราณ มีหน้าที่รักษาพระราชวัง จัดการพระราชพิธีและมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของราษฎร. | วัง ๒ (โบ; เลิก) น. ตำแหน่งเจ้ากระทรวงปกครองครั้งโบราณ มีหน้าที่รักษาพระราชวัง จัดการพระราชพิธีและมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีของราษฎร. |
วังก์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วงก์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วังก์ น. วงก์. (ป.). |
วังชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | คำประกอบท้ายคำ กำลัง เป็น กำลังวังชา มีความหมายเท่าเดิม. | วังชา คำประกอบท้ายคำ กำลัง เป็น กำลังวังชา มีความหมายเท่าเดิม. |
วังเวง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ลักษณะบรรยากาศที่สงบเยือกเย็นทำให้เกิดความรู้สึกอ้างว้าง ว้าเหว่ เปล่าเปลี่ยวใจ เช่น เข้าไปในบ้านร้างรู้สึกวังเวง. | วังเวง ก. ลักษณะบรรยากาศที่สงบเยือกเย็นทำให้เกิดความรู้สึกอ้างว้าง ว้าเหว่ เปล่าเปลี่ยวใจ เช่น เข้าไปในบ้านร้างรู้สึกวังเวง. |
วังศะ, วังสะ วังศะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ วังสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง วงศ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วํศ เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา และมาจากภาษาบาลี วํส เขียนว่า วอ-แหวน-นิก-คะ-หิด-สอ-เสือ. | วังศะ, วังสะ น. วงศ์. (ส. วํศ; ป. วํส). |
วัจ, วัจจะ วัจ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน วัจจะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | [วัดจะ] เป็นคำนาม หมายถึง อุจจาระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺจสฺ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-จอ-จาน-สอ-เสือ-พิน-ทุ. | วัจ, วัจจะ [วัดจะ] น. อุจจาระ. (ป.; ส. วรฺจสฺ). |
วัจกุฎี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), เวจกุฎี ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจฺจกุฏิ เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ. | วัจกุฎี น. ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, (ใช้แก่บรรพชิต), เวจกุฎี ก็เรียก. (ป. วจฺจกุฏิ). |
วัจมรรค เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-มอ-ม้า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง ทวารหนัก, เวจมรรค ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วจฺจมคฺค เขียนว่า วอ-แหวน-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน-มอ-ม้า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | วัจมรรค น. ทวารหนัก, เวจมรรค ก็เรียก. (ป. วจฺจมคฺค). |
วัจฉ์, วัจฉก วัจฉ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ทัน-ทะ-คาด วัจฉก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่ | [วัด, ฉก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกวัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วตฺส เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ วตฺสก เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-กอ-ไก่ . | วัจฉ์, วัจฉก [วัด, ฉก] (แบบ) น. ลูกวัว. (ป.; ส. วตฺส, วตฺสก). |
วัจฉละ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [วัดฉะละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีใจกรุณา, เอ็นดู, อ่อนโยน, มีความรักใคร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วตฺสล เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ลอ-ลิง. | วัจฉละ [วัดฉะละ] (แบบ) ว. มีใจกรุณา, เอ็นดู, อ่อนโยน, มีความรักใคร่. (ป.; ส. วตฺสล). |
วัจน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วจนะ, ถ้อยคํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัจน์ (แบบ) น. วจนะ, ถ้อยคํา. (ป., ส.). |
วัช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วชะ, คอกสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง. | วัช ๑ (แบบ) น. วชะ, คอกสัตว์. (ป. วช). |
วัช ๒, วัช, วัชชะ ๑ วัช ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง วัช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง วัชชะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | [วัดชะ] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺชฺย เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก วรฺชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง . | วัช ๒, วัช, วัชชะ ๑ [วัดชะ] น. สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. (ป. วชฺช; ส. วรฺชฺย, วรฺชฺช). |
วัชพืช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ชอ-ช้าง | [วัดชะพืด] เป็นคำนาม หมายถึง พืชที่ไม่ต้องการ เช่นหญ้าคาในแปลงข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง + พีช เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง . | วัชพืช [วัดชะพืด] น. พืชที่ไม่ต้องการ เช่นหญ้าคาในแปลงข้าว. (ป. วชฺช + พีช). |
วัช ๓, วัชชะ ๒ วัช ความหมายที่ ๓ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง วัชชะ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง การพูด, ถ้อยคํา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรพูดติ, ควรกล่าวติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วชฺช เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต วทฺย เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | วัช ๓, วัชชะ ๒ น. การพูด, ถ้อยคํา. ว. ควรพูดติ, ควรกล่าวติ. (ป. วชฺช; ส. วทฺย). |
วัชฌ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ชอ-เชอ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่า, ทําให้ตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วัชฌ์ ก. ฆ่า, ทําให้ตาย. (ป.). |
วัชร, วัชระ วัชร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [วัดชะระ] เป็นคำนาม หมายถึง วชิระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วชิร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ. | วัชร, วัชระ [วัดชะระ] น. วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร). |
วัชรธาตุมณฑล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | [ทาตุมนทน, ทาดมนทน] เป็นคำนาม หมายถึง สัญลักษณ์ในทางปัญญาอันคมกล้าที่สามารถตัดอวิชชาได้. | วัชรธาตุมณฑล [ทาตุมนทน, ทาดมนทน] น. สัญลักษณ์ในทางปัญญาอันคมกล้าที่สามารถตัดอวิชชาได้. |
วัชรปาณี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถือวชิระ คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺรปาณิ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ. | วัชรปาณี น. ผู้ถือวชิระ คือ พระอินทร์, วชิรปาณี ก็ว่า, ชื่อพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งตามคติฝ่ายมหายาน พระหัตถ์ทรงสายฟ้า. (ส. วชฺรปาณิ). |
วัชรยาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วัชรยาน น. ชื่อหนึ่งของลัทธิพุทธตันตระ ซึ่งถือว่ามีหลักปรัชญาสูงเหนือธรรมชาติ มีความแข็งเหมือนเพชร ใสเหมือนอากาศ ไม่มีใครต้านทานได้เหมือนสายฟ้า จึงเรียกหลักปรัชญานั้นว่า วัชระ และเรียกลัทธิว่า วัชรยาน. (ส.). |
วัชรอาสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้ เรียกว่า พระแท่นวัชรอาสน์, โพธิบัลลังก์ หรือ รัตนบัลลังก์ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺราสน เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู. | วัชรอาสน์ น. อาสนะที่พระพุทธเจ้าประทับใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ณ พุทธคยา ประเทศอินเดีย ในวันตรัสรู้ เรียกว่า พระแท่นวัชรอาสน์, โพธิบัลลังก์ หรือ รัตนบัลลังก์ ก็เรียก. (ส. วชฺราสน). |
วัชราสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ท่านั่งขัดสมาธิเพชร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วัชราสน์ น. ท่านั่งขัดสมาธิเพชร. (ส.). |
วัชรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺรินฺ เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ + อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | วัชรินทร์ น. พระอินทร์. (ส. วชฺรินฺ, วชฺร + อินฺทฺร). |
วัชรี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วัชรี น. พระอินทร์. (ส.). |
วัชเรนทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วชฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-รอ-เรือ + อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | วัชเรนทร์ น. พระอินทร์. (ส. วชฺร + อินฺทฺร). |
วัชราสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ดู วัชร, วัชระ วัชร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | วัชราสน์ ดู วัชร, วัชระ. |
วัชรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู วัชร, วัชระ วัชร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | วัชรินทร์ ดู วัชร, วัชระ. |
วัชรี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ดู วัชร, วัชระ วัชร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | วัชรี ดู วัชร, วัชระ. |
วัชเรนทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู วัชร, วัชระ วัชร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ วัชระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | วัชเรนทร์ ดู วัชร, วัชระ. |
วัญจก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-กอ-ไก่ | [วันจก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ลวง, คนคดโกง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัญจก [วันจก] (แบบ) น. ผู้ลวง, คนคดโกง. (ป., ส.). |
วัญจนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วันจะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การหลอกลวง, การปลอม, การคดโกง; เครื่องลวง, เครื่องหลอก, ของไม่จริง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัญจนะ [วันจะนะ] (แบบ) น. การหลอกลวง, การปลอม, การคดโกง; เครื่องลวง, เครื่องหลอก, ของไม่จริง. (ป., ส.). |
วัญฌ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-เชอ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมัน (ใช้แก่คนหรือสัตว์), ไม่มีลูก (ใช้แก่ต้นไม้), ไม่มีผล (ใช้แก่การงานทั่วไป). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัญฌ์ (แบบ) ว. หมัน (ใช้แก่คนหรือสัตว์), ไม่มีลูก (ใช้แก่ต้นไม้), ไม่มีผล (ใช้แก่การงานทั่วไป). (ป.; ส.วนฺธฺย). |
วัฏ, วัฏฏะ วัฏ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก วัฏฏะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อะ | [วัดตะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วงกลม; การหมุน, การเวียนไป, รอบแห่งการเวียนเกิดเวียนตาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลม, เป็นวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | วัฏ, วัฏฏะ [วัดตะ] (แบบ) น. วงกลม; การหมุน, การเวียนไป, รอบแห่งการเวียนเกิดเวียนตาย. ว. กลม, เป็นวง. (ป.; ส. วฺฤตฺต). |
วัฏจักร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์หรือกิจกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นและดําเนินติดต่อกันไปอย่างมีระเบียบจนจบลง ณ จุดเริ่มต้นนั้นอีก เช่น วัฏจักรแห่งฤดูกาล วัฏจักรแห่งพืช. | วัฏจักร น. ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์หรือกิจกรรมชุดหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นและดําเนินติดต่อกันไปอย่างมีระเบียบจนจบลง ณ จุดเริ่มต้นนั้นอีก เช่น วัฏจักรแห่งฤดูกาล วัฏจักรแห่งพืช. |
วัฏทุกข์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ทุกข์คือการเวียนเกิดเวียนตาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วัฏทุกข์ น. ทุกข์คือการเวียนเกิดเวียนตาย. (ป.). |
วัฏสงสาร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-สอ-เสือ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ สังสารวัฏ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วัฏสงสาร น. การเวียนว่ายตายเกิด, สงสารวัฏ หรือ สังสารวัฏ ก็ว่า. (ป.). |
วัฏกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วัดตะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง นกกระจาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฏฺฏก เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺตก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่. | วัฏกะ [วัดตะกะ] น. นกกระจาบ. (ป. วฏฺฏก; ส. วรฺตก). |
วัฏฏิ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ของกลมยาว, ไส้เทียน, เส้น, สาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺติ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | วัฏฏิ น. ของกลมยาว, ไส้เทียน, เส้น, สาย. (ป.; ส. วรฺติ). |
วัฒกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วัดทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เจริญ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งอกงาม, เจริญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฑฺฒก เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺธก เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ทอ-ทง-กอ-ไก่. | วัฒกะ [วัดทะกะ] น. ผู้เจริญ. ว. งอกงาม, เจริญ. (ป. วฑฺฒก; ส. วรฺธก). |
วัฒกี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี | [วัดทะกี] เป็นคำนาม หมายถึง ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฑฺฒกี เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี. | วัฒกี [วัดทะกี] น. ช่างไม้. (ป. วฑฺฒกี). |
วัฒน, วัฒนะ วัฒน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู วัฒนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วัดทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเจริญ, ความงอกงาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วฑฺฒน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู. | วัฒน, วัฒนะ [วัดทะนะ] น. ความเจริญ, ความงอกงาม. (ป. วฑฺฒน). |
วัฒนธรรม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา. | วัฒนธรรม น. สิ่งที่ทําความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย, วิถีชีวิตของหมู่คณะ เช่น วัฒนธรรมพื้นบ้าน วัฒนธรรมชาวเขา. |
วัฒนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ความเจริญ, ความงอกงาม. เป็นคำกริยา หมายถึง เจริญ, งอกงาม. | วัฒนา น. ความเจริญ, ความงอกงาม. ก. เจริญ, งอกงาม. |
วัฒนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | ดู วัฒน, วัฒนะ วัฒน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู วัฒนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | วัฒนา ดู วัฒน, วัฒนะ. |
วัณ, วัณ วัณ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน วัณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน | [วัน, วันนะ] เป็นคำนาม หมายถึง วณะ, แผล, ฝี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วัณ, วัณ [วัน, วันนะ] น. วณะ, แผล, ฝี. (ป.). |
วัณโรค เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทําให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลําดับ, โบราณเรียกวัณโรคปอดว่า ฝีในท้อง. | วัณโรค น. โรคชนิดหนึ่งเกิดที่ปอดเป็นต้น ทําให้ร่างกายทรุดโทรมเสื่อมไปตามลําดับ, โบราณเรียกวัณโรคปอดว่า ฝีในท้อง. |
วัณฏ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ขั้ว, ก้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤนฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | วัณฏ์ น. ขั้ว, ก้าน. (ป.; ส. วฺฤนฺต). |
วัณณะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สี, ผิว; ชนิด, อย่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน. ในวงเล็บ ดู วรรณ, วรรณะ วรรณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน วรรณะ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | วัณณะ (แบบ) น. สี, ผิว; ชนิด, อย่าง. (ป.; ส. วรฺณ). (ดู วรรณ, วรรณะ). |
วัณนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [วันนะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําชี้แจง, คําอธิบาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วณฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-เนน-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺณนา เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. ในวงเล็บ ดู พรรณนา เขียนว่า พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. | วัณนา [วันนะ] น. คําชี้แจง, คําอธิบาย. (ป. วณฺณนา; ส. วรฺณนา). (ดู พรรณนา). |
วัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ทางศาสนา โดยปรกติมีโบสถ์ วิหาร และที่อยู่ของสงฆ์หรือนักบวชเป็นต้น. | วัด ๑ น. สถานที่ทางศาสนา โดยปรกติมีโบสถ์ วิหาร และที่อยู่ของสงฆ์หรือนักบวชเป็นต้น. |
วัดราษฎร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง. | วัดราษฎร์ น. วัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง. |
วัดวา ๑, วัดวาอาราม วัดวา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา วัดวาอาราม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง วัด. | วัดวา ๑, วัดวาอาราม น. วัด. |
วัดหลวง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง พระอารามหลวง, วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจํานวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง. | วัดหลวง (ปาก) น. พระอารามหลวง, วัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจํานวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง. |
วัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ตวัดขึ้น เช่น วัดเบ็ด, เหวี่ยงแขนหรือขาไปโดยแรง เช่น นอนดิ้นวัดแขนวัดขา. | วัด ๒ ก. ตวัดขึ้น เช่น วัดเบ็ด, เหวี่ยงแขนหรือขาไปโดยแรง เช่น นอนดิ้นวัดแขนวัดขา. |
วัดเหวี่ยง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง พอสู้กันได้, ปานกัน. | วัดเหวี่ยง ก. พอสู้กันได้, ปานกัน. |
วัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๓ | เป็นคำกริยา หมายถึง สอบขนาดหรือปริมาณของสิ่งต่าง ๆ เช่นวัดส่วนยาว ส่วนกว้าง ส่วนสูง หรือความรู้เป็นต้น. | วัด ๓ ก. สอบขนาดหรือปริมาณของสิ่งต่าง ๆ เช่นวัดส่วนยาว ส่วนกว้าง ส่วนสูง หรือความรู้เป็นต้น. |
วัดแดด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง สอบเวลาโดยอาศัยเงาแดดและสถานที่เป็นหลัก เช่นพอแดดถึงนอกชานก็เป็นเวลา ๘.๐๐ น. | วัดแดด ก. สอบเวลาโดยอาศัยเงาแดดและสถานที่เป็นหลัก เช่นพอแดดถึงนอกชานก็เป็นเวลา ๘.๐๐ น. |
วัดผล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ. | วัดผล ก. ทดสอบเพื่อวัดเชาวน์ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ บุคลิกภาพ เป็นต้น โดยใช้วิธีการแบบใดแบบหนึ่ง เช่น การเรียนรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ จำเป็นจะต้องวัดผลอย่างสม่ำเสมอ. |
วัดพื้น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง หกล้มเหยียดยาวลงบนพื้น. | วัดพื้น (ปาก) ก. หกล้มเหยียดยาวลงบนพื้น. |
วัดรอยตีน, วัดรอยเท้า วัดรอยตีน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู วัดรอยเท้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เทียบดูว่าพอสู้ได้หรือไม่ เช่น ลูกศิษย์วัดรอยเท้าครู, คอยเทียบตัวเองกับผู้ที่เหนือกว่าเพื่อชิงดีชิงเด่น เช่น ลูกน้องวัดรอยตีนหัวหน้า. | วัดรอยตีน, วัดรอยเท้า (สำ) ก. เทียบดูว่าพอสู้ได้หรือไม่ เช่น ลูกศิษย์วัดรอยเท้าครู, คอยเทียบตัวเองกับผู้ที่เหนือกว่าเพื่อชิงดีชิงเด่น เช่น ลูกน้องวัดรอยตีนหัวหน้า. |
วัดวา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง พอเท่า ๆ กัน, พอเสมอกัน เช่น พี่น้องสองคนนี้สวยพอวัดวากันได้. | วัดวา ๒ ก. พอเท่า ๆ กัน, พอเสมอกัน เช่น พี่น้องสองคนนี้สวยพอวัดวากันได้. |
วัต เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง วตะ, พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | วัต น. วตะ, พรต, ข้อปฏิบัติ; ความประพฤติ. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต). |
วัตต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดกําลัง ๑ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ จูลต่อวินาที หรือ ๑๐๗ เอิร์กต่อวินาที, ๗๔๕.๗ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ กําลังม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ watt เขียนว่า ดับเบิลยู-เอ-ที-ที. | วัตต์ น. หน่วยวัดกําลัง ๑ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ จูลต่อวินาที หรือ ๑๐๗ เอิร์กต่อวินาที, ๗๔๕.๗ วัตต์ มีค่าเท่ากับ ๑ กําลังม้า. (อ. watt). |
วัตตา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล่าว, ผู้พูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วกฺตฺฤ เขียนว่า วอ-แหวน-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ. | วัตตา น. ผู้กล่าว, ผู้พูด. (ป.; ส. วกฺตฺฤ). |
วัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | วัตถ์ น. ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป.; ส. วสฺตฺร). |
วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ วัตถาภรณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด วัตถาลังการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับคือผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺถ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + อาภรณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน วตฺถ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง + อลงฺการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ลอ-ลิง-งอ-งู-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ น. เครื่องประดับคือผ้า. (ป. วตฺถ + อาภรณ, วตฺถ + อลงฺการ). |
วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ วัตถาภรณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด วัตถาลังการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู วัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด. | วัตถาภรณ์, วัตถาลังการ ดู วัตถ์. |
วัตถุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วสฺตุ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ. | วัตถุ น. สิ่งของ. (ป.; ส. วสฺตุ). |
วัตถุดิบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เตรียมไว้เพื่อผลิตหรือประกอบเป็นสินค้าสําเร็จรูป; โดยปริยายหมายถึงเรื่องราว ประสบการณ์ เป็นต้น ที่นักเขียนเสาะหาหรือตระเตรียมสะสมไว้เพื่อแต่งหนังสือ. | วัตถุดิบ น. สิ่งที่เตรียมไว้เพื่อผลิตหรือประกอบเป็นสินค้าสําเร็จรูป; โดยปริยายหมายถึงเรื่องราว ประสบการณ์ เป็นต้น ที่นักเขียนเสาะหาหรือตระเตรียมสะสมไว้เพื่อแต่งหนังสือ. |
วัตถุนิยม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ทฤษฎีหรือความเชื่อที่ว่าวัตถุเท่านั้นมีอยู่จริง; การให้คุณค่าแก่สิ่งที่เป็นรูปธรรมมากกว่าสิ่งที่เป็นนามธรรม, สสารนิยม ก็ว่า. | วัตถุนิยม น. ทฤษฎีหรือความเชื่อที่ว่าวัตถุเท่านั้นมีอยู่จริง; การให้คุณค่าแก่สิ่งที่เป็นรูปธรรมมากกว่าสิ่งที่เป็นนามธรรม, สสารนิยม ก็ว่า. |
วัตถุประสงค์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผลที่ประสงค์ให้บรรลุ เช่น วัตถุประสงค์ของมัธยมศึกษาก็เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ คิดเป็น ทำเป็น และมีคุณธรรม, จุดประสงค์ ก็ว่า. | วัตถุประสงค์ น. ผลที่ประสงค์ให้บรรลุ เช่น วัตถุประสงค์ของมัธยมศึกษาก็เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ คิดเป็น ทำเป็น และมีคุณธรรม, จุดประสงค์ ก็ว่า. |
วัตถุวิสัย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่เกี่ยวกับความคิดหรือความรู้สึก; เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่าการสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ objective เขียนว่า โอ-บี-เจ-อี-ซี-ที-ไอ-วี-อี. | วัตถุวิสัย ว. ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ โดยไม่เกี่ยวกับความคิดหรือความรู้สึก; เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่าการสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. (อ. objective). |
วัตนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วัดตะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นไป, ความเป็นอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺตน เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺตน เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-นอ-หนู. | วัตนะ [วัดตะนะ] น. ความเป็นไป, ความเป็นอยู่. (ป. วตฺตน; ส. วรฺตน). |
วัตร, วัตร วัตร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ วัตร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [วัด, วัดตฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง กิจพึงกระทํา เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วฺฤตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | วัตร, วัตร [วัด, วัดตฺระ] น. กิจพึงกระทํา เช่น ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น, หน้าที่ เช่น ข้อวัตรปฏิบัติ, ธรรมเนียม เช่น ศีลาจารวัตร; ความประพฤติ เช่น พระราชจริยวัตร, การปฏิบัติ เช่น ธุดงควัตร อุปัชฌายวัตร, การจำศีล. (ป. วตฺต; ส. วฺฤตฺต). |
วัตรปฏิบัติ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [วัดตฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง การปฏิบัติตามหน้าที่หรือตามศีล. | วัตรปฏิบัติ [วัดตฺระ] น. การปฏิบัติตามหน้าที่หรือตามศีล. |
วัตสดร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ | [วัดสะดอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง โคหนุ่ม, โคถึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วตฺสตร เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ. | วัตสดร [วัดสะดอน] (แบบ) น. โคหนุ่ม, โคถึก. (ส. วตฺสตร). |
วัตสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ลูกวัว; เด็กเล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วตฺส เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ. | วัตสะ (แบบ) น. ลูกวัว; เด็กเล็ก. (ส. วตฺส). |
วัติ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [วัด, วัดติ] เป็นคำนาม หมายถึง วดี, รั้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วติ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | วัติ [วัด, วัดติ] น. วดี, รั้ว. (ป. วติ). |
วัทน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วทนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วทน เขียนว่า วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู. | วัทน์ (แบบ) น. วทนะ. (ป., ส. วทน). |
วัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เวลาทําการตามที่ได้กําหนดขึ้นโดยกฎหมาย คําสั่งศาล หรือระเบียบข้อบังคับ หรือเวลาทําการตามปรกติของกิจการนั้นแล้วแต่กรณี (ใช้ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการค้าและการอุตสาหกรรม). | วัน ๑ น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน; (กฎ) เวลาทําการตามที่ได้กําหนดขึ้นโดยกฎหมาย คําสั่งศาล หรือระเบียบข้อบังคับ หรือเวลาทําการตามปรกติของกิจการนั้นแล้วแต่กรณี (ใช้ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการค้าและการอุตสาหกรรม). |
วันโกน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระปลงผม คือ วันขึ้นและวันแรม ๑๔ คํ่า หรือวันแรม ๑๓ คํ่าของเดือนขาด, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่ง เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ ขึ้น ๗ คํ่า ขึ้น ๑๔ คํ่า แรม ๗ คํ่า และแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๓ คํ่า. | วันโกน น. วันที่พระปลงผม คือ วันขึ้นและวันแรม ๑๔ คํ่า หรือวันแรม ๑๓ คํ่าของเดือนขาด, (ปาก) ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่ง เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ ขึ้น ๗ คํ่า ขึ้น ๑๔ คํ่า แรม ๗ คํ่า และแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๓ คํ่า. |
วันเข้าพรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘. | วันเข้าพรรษา น. วันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘. |
วันแข็ง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันซึ่งถือว่าดาวมีพลังแรง ได้แก่ วันอาทิตย์ วันอังคาร วันเสาร์. | วันแข็ง (โหร) น. วันซึ่งถือว่าดาวมีพลังแรง ได้แก่ วันอาทิตย์ วันอังคาร วันเสาร์. |
วันครู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันพฤหัสบดี; วันที่ระลึกถึงครู ปัจจุบันกำหนดวันที่ ๑๖ มกราคมของปีเป็นวันครู. | วันครู (โหร) น. วันพฤหัสบดี; วันที่ระลึกถึงครู ปัจจุบันกำหนดวันที่ ๑๖ มกราคมของปีเป็นวันครู. |
วันจม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-จอ-จาน-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันเคราะห์ร้ายในเดือนทางจันทรคติ เป็นวันห้ามทํากิจการใด ๆ ทั้งสิ้น, คู่กับ วันฟู หรือ วันลอย. | วันจม (โหร) น. วันเคราะห์ร้ายในเดือนทางจันทรคติ เป็นวันห้ามทํากิจการใด ๆ ทั้งสิ้น, คู่กับ วันฟู หรือ วันลอย. |
วันจักรี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนาพระบรมราชวงศ์จักรี ตรงกับวันที่ ๖ เมษายน. | วันจักรี น. วันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนาพระบรมราชวงศ์จักรี ตรงกับวันที่ ๖ เมษายน. |
วันฉัตรมงคล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-มอ-ม้า-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | น.วันที่ประกอบพระราชพิธีฉลองพระเศวตฉัตร ซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก ในรัชกาลปัจจุบันตรงกับวันที่ ๕ พฤษภาคม. | วันฉัตรมงคล น.วันที่ประกอบพระราชพิธีฉลองพระเศวตฉัตร ซึ่งตรงกับวันบรมราชาภิเษก ในรัชกาลปัจจุบันตรงกับวันที่ ๕ พฤษภาคม. |
วันเฉลิมพระชนมพรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช. | วันเฉลิมพระชนมพรรษา น. วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช. |
วันดับ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ ซึ่งตรงกับวันแรม ๑๔ คํ่าหรือแรม ๑๕ คํ่า. | วันดับ น. วันสิ้นเดือนทางจันทรคติ ซึ่งตรงกับวันแรม ๑๔ คํ่าหรือแรม ๑๕ คํ่า. |
วันดีคืนดี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง โอกาสเหมาะ, มักใช้พูดแสดงเวลาที่ไม่แน่นอน เช่น หายหน้าไปนาน วันดีคืนดีก็มา. | วันดีคืนดี (ปาก) น. โอกาสเหมาะ, มักใช้พูดแสดงเวลาที่ไม่แน่นอน เช่น หายหน้าไปนาน วันดีคืนดีก็มา. |
วันตรุษ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี | เป็นคำนาม หมายถึง วันสิ้นปีซึ่งกำหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔. | วันตรุษ น. วันสิ้นปีซึ่งกำหนดตามจันทรคติ ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔. |
วันตัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง วันใดวันหนึ่งในรอบสัปดาห์ซึ่งตรงกับวันเกิด. | วันตัว น. วันใดวันหนึ่งในรอบสัปดาห์ซึ่งตรงกับวันเกิด. |
วันเถลิงศก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง วันขึ้นจุลศักราชใหม่ ปรกติตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน. | วันเถลิงศก น. วันขึ้นจุลศักราชใหม่ ปรกติตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน. |
วันที่ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ลำดับวันในเดือนหนึ่ง ๆ ทางสุริยคติ เช่น วันที่ ๑ สิงหาคม วันที่ ๒ กันยายน. | วันที่ น. ลำดับวันในเดือนหนึ่ง ๆ ทางสุริยคติ เช่น วันที่ ๑ สิงหาคม วันที่ ๒ กันยายน. |
วันเนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่อยู่ถัดจากวันมหาสงกรานต์ หน้าวันเถลิงศก ปรกติตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายน. | วันเนา น. วันที่อยู่ถัดจากวันมหาสงกรานต์ หน้าวันเถลิงศก ปรกติตรงกับวันที่ ๑๔ เมษายน. |
วันปวารณา, วันมหาปวารณา วันปวารณา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา วันมหาปวารณา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันออกพรรษา. | วันปวารณา, วันมหาปวารณา น. วันออกพรรษา. |
วันปิยมหาราช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช เสด็จสวรรคต ตรงกับวันที่ ๒๓ ตุลาคม. | วันปิยมหาราช น. วันที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช เสด็จสวรรคต ตรงกับวันที่ ๒๓ ตุลาคม. |
วันพระ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง วันประชุมถือศีลฟังธรรมในพระพุทธศาสนา เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ คํ่า ขึ้น ๑๕ คํ่า แรม ๘ คํ่า และแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า. | วันพระ น. วันประชุมถือศีลฟังธรรมในพระพุทธศาสนา เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ คํ่า ขึ้น ๑๕ คํ่า แรม ๘ คํ่า และแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า. |
วันพระไม่มีหนเดียว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง วันหน้ายังมีโอกาสอีก (มักใช้พูดเป็นเชิงอาฆาต). | วันพระไม่มีหนเดียว (สำ) น. วันหน้ายังมีโอกาสอีก (มักใช้พูดเป็นเชิงอาฆาต). |
วันเพ็ญ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ไม้-ไต่-คู้-ยอ-หยิง | เป็นคำนาม หมายถึง วันกลางเดือนนับตามจันทรคติ คือวันที่พระจันทร์ขึ้นเต็มดวง. | วันเพ็ญ น. วันกลางเดือนนับตามจันทรคติ คือวันที่พระจันทร์ขึ้นเต็มดวง. |
วันฟู, วันลอย วันฟู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู วันลอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ถือว่าเป็นมงคลในเดือนทางจันทรคติสําหรับเริ่มกิจการต่าง ๆ, คู่กับ วันจม. | วันฟู, วันลอย (โหร) น. วันที่ถือว่าเป็นมงคลในเดือนทางจันทรคติสําหรับเริ่มกิจการต่าง ๆ, คู่กับ วันจม. |
วันมหาสงกรานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วันเริ่มต้นเทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายน. | วันมหาสงกรานต์ น. วันเริ่มต้นเทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายน. |
วันมาฆบูชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-คอ-ระ-คัง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันเพ็ญเดือน ๓ เป็นวันทำบุญพิเศษทางพระพุทธศาสนาเพื่อระลึกถึงความสำคัญ ๔ ประการ คือ ๑. วันเพ็ญดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อ มฆะ ส่วนในปีที่มีอธิกมาสจะตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔) ๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปมาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมกันในวันนั้นล้วนเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งเรียกการบวชแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, วันจาตุรงคสันนิบาต ก็เรียก. | วันมาฆบูชา น. วันเพ็ญเดือน ๓ เป็นวันทำบุญพิเศษทางพระพุทธศาสนาเพื่อระลึกถึงความสำคัญ ๔ ประการ คือ ๑. วันเพ็ญดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อ มฆะ ส่วนในปีที่มีอธิกมาสจะตรงกับวันเพ็ญเดือน ๔) ๒. พระสงฆ์ ๑,๒๕๐ รูปมาประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมกันในวันนั้นล้วนเป็นผู้ที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เอง ซึ่งเรียกการบวชแบบนี้ว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, วันจาตุรงคสันนิบาต ก็เรียก. |
วันยังค่ำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอ, ทุกคราวไป, แน่ ๆ, เช่น แพ้วันยังคํ่า; ตลอดวัน เช่น ทํางานวันยังคํ่า. | วันยังค่ำ (ปาก) ว. เสมอ, ทุกคราวไป, แน่ ๆ, เช่น แพ้วันยังคํ่า; ตลอดวัน เช่น ทํางานวันยังคํ่า. |
วันรัฐธรรมนูญ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. | วันรัฐธรรมนูญ น. วันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. |
วันแรกนา, วันแรกนาขวัญ วันแรกนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา วันแรกนาขวัญ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง | เป็นคำนาม หมายถึง วันประกอบพิธีเริ่มไถนา ทางราชการเรียกว่า วันพระราชพิธีจรดพระนังคัล. | วันแรกนา, วันแรกนาขวัญ น. วันประกอบพิธีเริ่มไถนา ทางราชการเรียกว่า วันพระราชพิธีจรดพระนังคัล. |
วันแรงงาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วันหยุดงานเพื่อเป็นที่ระลึกแก่ผู้ใช้แรงงาน ตรงกับวันที่ ๑ พฤษภาคม, วันกรรมกร ก็เรียก. | วันแรงงาน น. วันหยุดงานเพื่อเป็นที่ระลึกแก่ผู้ใช้แรงงาน ตรงกับวันที่ ๑ พฤษภาคม, วันกรรมกร ก็เรียก. |
วันแล้ววันเล่า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นเช่นนั้นติดต่อกันยาวนานไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ทำงานวันแล้ววันเล่าไม่รู้จักเสร็จ คอยวันแล้ววันเล่าก็ไม่มาสักที. | วันแล้ววันเล่า ว. เป็นเช่นนั้นติดต่อกันยาวนานไม่เปลี่ยนแปลง เช่น ทำงานวันแล้ววันเล่าไม่รู้จักเสร็จ คอยวันแล้ววันเล่าก็ไม่มาสักที. |
วันวิสาขบูชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันเพ็ญเดือน ๖ ซึ่งเป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า. | วันวิสาขบูชา น. วันเพ็ญเดือน ๖ ซึ่งเป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า. |
วันสงกรานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วันเทศกาลเนื่องในการขึ้นปีใหม่อย่างเก่า ซึ่งกำหนดตามสุริยคติ ปรกติตกวันที่ ๑๓๑๔๑๕ เมษายน. | วันสงกรานต์ น. วันเทศกาลเนื่องในการขึ้นปีใหม่อย่างเก่า ซึ่งกำหนดตามสุริยคติ ปรกติตกวันที่ ๑๓๑๔๑๕ เมษายน. |
วันสหประชาชาติ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง วันสถาปนาองค์การระหว่างประเทศ ซึ่งเรียกว่า องค์การสหประชาชาติ ตรงกับวันที่ ๒๔ ตุลาคม. | วันสหประชาชาติ น. วันสถาปนาองค์การระหว่างประเทศ ซึ่งเรียกว่า องค์การสหประชาชาติ ตรงกับวันที่ ๒๔ ตุลาคม. |
วันสารท เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง วันทำบุญสิ้นเดือน ๑๐. | วันสารท น. วันทำบุญสิ้นเดือน ๑๐. |
วันสืบพยาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยาน. | วันสืบพยาน (กฎ) น. วันที่ศาลเริ่มต้นทำการสืบพยาน. |
วันสุกดิบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง วันเตรียมงาน ซึ่งเป็นวันก่อนถึงกําหนดวันงานพิธี ๑ วัน. | วันสุกดิบ น. วันเตรียมงาน ซึ่งเป็นวันก่อนถึงกําหนดวันงานพิธี ๑ วัน. |
วันหน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | น.วันที่จะมาถึงข้างหน้า เช่น วันหน้าจะพบกันใหม่, ใช้ว่า วันหลัง ก็มี. | วันหน้า น.วันที่จะมาถึงข้างหน้า เช่น วันหน้าจะพบกันใหม่, ใช้ว่า วันหลัง ก็มี. |
วันหน้าวันหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วันใดวันหนึ่งในอนาคต เช่น จะทำอะไรก็เผื่อวันหน้าวันหลังไว้บ้าง. | วันหน้าวันหลัง น. วันใดวันหนึ่งในอนาคต เช่น จะทำอะไรก็เผื่อวันหน้าวันหลังไว้บ้าง. |
วันหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วันหลังจากวันนี้ไป เช่น วันหลังจะมาเยี่ยมอีก, ใช้ว่า วันหน้า ก็มี. | วันหลัง น. วันหลังจากวันนี้ไป เช่น วันหลังจะมาเยี่ยมอีก, ใช้ว่า วันหน้า ก็มี. |
วันออกพรรษา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่สิ้นสุดการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา ก็เรียก. | วันออกพรรษา น. วันที่สิ้นสุดการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา ก็เรียก. |
วันอัฐมี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | [อัดถะ] เป็นคำนาม หมายถึง วันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าในวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖. | วันอัฐมี [อัดถะ] น. วันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าในวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖. |
วันอาสาฬหบูชา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | [สานหะ, สานละหะ] เป็นคำนาม หมายถึง วันเพ็ญเดือน ๘ ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา. | วันอาสาฬหบูชา [สานหะ, สานละหะ] น. วันเพ็ญเดือน ๘ ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา. |
วันอุโบสถ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-ถอ-ถุง | เป็นคำนาม หมายถึง วันขึ้น ๑๕ คํ่า และวันแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า เป็นวันที่พระลงอุโบสถฟังพระปาติโมกข์และเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนถืออุโบสถศีลคือ ศีล ๘. | วันอุโบสถ น. วันขึ้น ๑๕ คํ่า และวันแรม ๑๕ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๔ คํ่า เป็นวันที่พระลงอุโบสถฟังพระปาติโมกข์และเป็นวันที่พุทธศาสนิกชนถืออุโบสถศีลคือ ศีล ๘. |
วัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง แมลงวัน. ในวงเล็บ ดู แมลงวัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ที่ แมลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ลอ-ลิง-งอ-งู. | วัน ๒ น. แมลงวัน. (ดู แมลงวัน ที่ แมลง). |
วัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ป่าไม้, ดง, เช่น อัมพวัน คือ ป่ามะม่วง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วน เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู. | วัน ๓ น. ป่าไม้, ดง, เช่น อัมพวัน คือ ป่ามะม่วง. (ป. วน). |
วัน ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แต่ละวัน เช่น ได้รายได้เป็นวัน ๆ; บางวัน เช่น เขามาทำงานที่นี่เป็นวัน ๆ; ปล่อยให้เวลาล่วงไปอย่างซังกะตาย เช่น อยู่ไปวัน ๆ ไม่มีความหวัง. | วัน ๆ ว. แต่ละวัน เช่น ได้รายได้เป็นวัน ๆ; บางวัน เช่น เขามาทำงานที่นี่เป็นวัน ๆ; ปล่อยให้เวลาล่วงไปอย่างซังกะตาย เช่น อยู่ไปวัน ๆ ไม่มีความหวัง. |
วันต์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง คายแล้ว, ทิ้งหรือเลิกแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วานฺต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | วันต์ (แบบ) ก. คายแล้ว, ทิ้งหรือเลิกแล้ว. (ป.; ส. วานฺต). |
วันทน, วันทนา วันทน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู วันทนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [วันทะนะ, วันทะนา] เป็นคำนาม หมายถึง การไหว้, การเคารพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วันทน, วันทนา [วันทะนะ, วันทะนา] น. การไหว้, การเคารพ. (ป., ส.). |
วันทนาการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การไหว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วันทนาการ น. การไหว้. (ป.). |
วันทนีย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรไหว้, น่านับถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วันทนีย์ ว. ควรไหว้, น่านับถือ. (ป., ส.). |
วันทย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก | [วันทะยะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรไหว้, ควรนอบนบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วันทย [วันทะยะ] ว. ควรไหว้, ควรนอบนบ. (ส.). |
วันทยหัตถ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ท่าเคารพด้วยมือของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก มิได้ถืออาวุธ. | วันทยหัตถ์ น. ท่าเคารพด้วยมือของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก มิได้ถืออาวุธ. |
วันทยาวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง | เป็นคำนาม หมายถึง ท่าเคารพด้วยอาวุธของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก และถืออาวุธอยู่กับที่. | วันทยาวุธ น. ท่าเคารพด้วยอาวุธของทหาร ตํารวจ ลูกเสือ เป็นต้น ที่แต่งเครื่องแบบ สวมหมวก และถืออาวุธอยู่กับที่. |
วันทยาวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง | ดู วันทย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก. | วันทยาวุธ ดู วันทย. |
วันทา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้, แสดงอาการเคารพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วนฺท เขียนว่า วอ-แหวน-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน. | วันทา ก. ไหว้, แสดงอาการเคารพ. (ป. วนฺท). |
วันทาสีมา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้พัทธสีมาก่อนที่จะเข้าอุโบสถในพิธีอุปสมบท (ใช้แก่นาค). | วันทาสีมา ก. ไหว้พัทธสีมาก่อนที่จะเข้าอุโบสถในพิธีอุปสมบท (ใช้แก่นาค). |
วันทิ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เชลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วันทิ (แบบ) น. เชลย. (ป., ส.). |
วันนิพก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง วนิพก. | วันนิพก น. วนิพก. |
วับ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉับพลัน, ฉับไว, ใช้ประกอบอาการของแสงหรือสิ่งมีรูปร่างซึ่งปรากฏให้เห็น แล้วหมดสิ้นหรือลับหายไปอย่างรวดเร็วในทันทีทันใด เช่น แสงหายวับ พูดขาดคําก็หายตัววับลับตาไป, บางทีก็เป็นคําซ้อน เพื่อเน้นหรือเพื่อความไพเราะ เป็น หายวับไปฉับพลัน หายวับไปกับตา เป็นต้น. | วับ ว. ฉับพลัน, ฉับไว, ใช้ประกอบอาการของแสงหรือสิ่งมีรูปร่างซึ่งปรากฏให้เห็น แล้วหมดสิ้นหรือลับหายไปอย่างรวดเร็วในทันทีทันใด เช่น แสงหายวับ พูดขาดคําก็หายตัววับลับตาไป, บางทีก็เป็นคําซ้อน เพื่อเน้นหรือเพื่อความไพเราะ เป็น หายวับไปฉับพลัน หายวับไปกับตา เป็นต้น. |
วับ ๆ, วับวาบ, วับวาม, วับแวบ วับ ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก วับวาบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ วับวาม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วับแวบ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ระยับตา เป็นอาการของแสงหรือเงาที่ปรากฏแล้วหายลับไปทันทีทันใดต่อเนื่องกัน เช่น แสงเพชรเป็นประกายวับ ๆ. | วับ ๆ, วับวาบ, วับวาม, วับแวบ ว. ระยับตา เป็นอาการของแสงหรือเงาที่ปรากฏแล้วหายลับไปทันทีทันใดต่อเนื่องกัน เช่น แสงเพชรเป็นประกายวับ ๆ. |
วับแวม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แลเห็นแสงไฟจากกระโจมไฟวับแวม, วับ ๆ แวม ๆ ก็ว่า. | วับแวม ว. มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แลเห็นแสงไฟจากกระโจมไฟวับแวม, วับ ๆ แวม ๆ ก็ว่า. |
วับ ๆ แวม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แสงหิ่งห้อยดูวับ ๆ แวม ๆ, วับแวม ก็ว่า; อาการที่แต่งกายไม่มิดชิด เช่น ไม่ควรแต่งตัววับ ๆแวม ๆ ในสถานที่พึงเคารพ ดูไม่สุภาพ. | วับ ๆ แวม ๆ ว. มีแสงดับบ้างเรืองบ้างสลับกันไป เช่น แสงหิ่งห้อยดูวับ ๆ แวม ๆ, วับแวม ก็ว่า; อาการที่แต่งกายไม่มิดชิด เช่น ไม่ควรแต่งตัววับ ๆแวม ๆ ในสถานที่พึงเคารพ ดูไม่สุภาพ. |
วับ ๆ หวำ ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อำ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกวาบ ๆ ในใจด้วยความหวาดหวั่น เช่น ใจวับ ๆ หวำ ๆ เวลาจะเข้ารับการผ่าตัด. | วับ ๆ หวำ ๆ ว. รู้สึกวาบ ๆ ในใจด้วยความหวาดหวั่น เช่น ใจวับ ๆ หวำ ๆ เวลาจะเข้ารับการผ่าตัด. |
วัปป, วัปปะ วัปป มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา วัปปะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ | [วับปะ] เป็นคำนาม หมายถึง การหว่านพืช เช่น พิธีวัปปมงคล; ฝั่งน้ำ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วป เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา ว่า ผู้หว่านพืช และมาจากภาษาสันสกฤต วปฺร เขียนว่า วอ-แหวน-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า ฝั่งน้ำ ทุ่งที่หว่านพืชไว้ ทุ่ง . | วัปป, วัปปะ [วับปะ] น. การหว่านพืช เช่น พิธีวัปปมงคล; ฝั่งน้ำ. (ป. วป ว่า ผู้หว่านพืช; ส. วปฺร ว่า ฝั่งน้ำ ทุ่งที่หว่านพืชไว้ ทุ่ง). |
วัมมิกะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง จอมปลวก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วมฺมีก เขียนว่า วอ-แหวน-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺมีก เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่. | วัมมิกะ น. จอมปลวก. (ป. วมฺมีก; ส. วลฺมีก). |
วัย, วัย วัย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก วัย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [ไว, ไวยะ] เป็นคำนาม หมายถึง เขตอายุ, ระยะของอายุ, เช่น วัยเด็ก วัยหนุ่มสาว วัยชรา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วย เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก. | วัย, วัย [ไว, ไวยะ] น. เขตอายุ, ระยะของอายุ, เช่น วัยเด็ก วัยหนุ่มสาว วัยชรา. (ป., ส. วย). |
วัยกลางคน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยหนุ่มสาวแต่ยังไม่แก่ อายุประมาณ ๓๐๕๐ ปี. | วัยกลางคน น. วัยที่มีอายุพ้นวัยหนุ่มสาวแต่ยังไม่แก่ อายุประมาณ ๓๐๕๐ ปี. |
วัยกำดัด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง วัยรุ่น. | วัยกำดัด น. วัยรุ่น. |
วัยขบเผาะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วัยของเด็กหญิงที่เพิ่งเริ่มแตกเนื้อสาว. | วัยขบเผาะ ว. วัยของเด็กหญิงที่เพิ่งเริ่มแตกเนื้อสาว. |
วัยคะนอง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วัยหนุ่มสาวที่ชอบสนุกสนาน, วัยหนุ่มสาวที่กำลังฮึกห้าว. | วัยคะนอง น. วัยหนุ่มสาวที่ชอบสนุกสนาน, วัยหนุ่มสาวที่กำลังฮึกห้าว. |
วัยงาม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของหญิงที่ดูงามทุกวัย เป็นลักษณะอย่าง ๆ ในเบญจกัลยาณี. | วัยงาม น. ลักษณะของหญิงที่ดูงามทุกวัย เป็นลักษณะอย่าง ๆ ในเบญจกัลยาณี. |
วัยจูง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อู-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วัยของเด็กระหว่างวัยแล่นกับวัยอุ้ม. | วัยจูง น. วัยของเด็กระหว่างวัยแล่นกับวัยอุ้ม. |
วัยฉกรรจ์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ฉอ-ฉิ่ง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-จอ-จาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วัยหนุ่มที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง. | วัยฉกรรจ์ น. วัยหนุ่มที่มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง. |
วัยชรา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่ต่อจากวัยกลางคน อายุเกิน ๖๐ ปี. | วัยชรา น. วัยที่ต่อจากวัยกลางคน อายุเกิน ๖๐ ปี. |
วัยเด็ก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่อายุยังน้อย. | วัยเด็ก น. วัยที่อายุยังน้อย. |
วัยทารก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง วัยเด็กเล็ก ๆ ที่ยังไม่เดียงสา. | วัยทารก น. วัยเด็กเล็ก ๆ ที่ยังไม่เดียงสา. |
วัยรุ่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุประมาณ ๑๓๑๙ ปี, วัยกำดัด ก็ว่า. | วัยรุ่น น. วัยที่มีอายุประมาณ ๑๓๑๙ ปี, วัยกำดัด ก็ว่า. |
วัยแล่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วัยของเด็กถัดจากวัยจูง. | วัยแล่น น. วัยของเด็กถัดจากวัยจูง. |
วัยวุฒิ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ | [ไวยะวุดทิ, ไวยะวุด] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วย เขียนว่า วอ-แหวน-ยอ-ยัก + วุฑฺฒิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พิน-ทุ-ทอ-ผู้-เท่า-สะ-หระ-อิ . | วัยวุฒิ [ไวยะวุดทิ, ไวยะวุด] น. ความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. (ป. วย + วุฑฺฒิ). |
วัยสาว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปี, ใช้แก่หญิง. | วัยสาว น. วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปี, ใช้แก่หญิง. |
วัยหนุ่ม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปี, ใช้แก่ชาย. | วัยหนุ่ม น. วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปี, ใช้แก่ชาย. |
วัยหนุ่มสาว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปี. | วัยหนุ่มสาว น. วัยที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕๓๐ ปี. |
วัยอุ้ม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง วัยของเด็กก่อนวัยจูง. | วัยอุ้ม น. วัยของเด็กก่อนวัยจูง. |
วัลก์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกไม้; เกล็ดปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วัลก์ (แบบ) น. เปลือกไม้; เกล็ดปลา. (ส.). |
วัลคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ | [วันละคุ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, สวย, น่ารัก; ไพเราะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วลฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาบาลี วคฺคุ เขียนว่า วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ. | วัลคุ [วันละคุ] (แบบ) ว. งาม, สวย, น่ารัก; ไพเราะ. (ส. วลฺคุ; ป. วคฺคุ). |
วัลย์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺลี เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี. | วัลย์ น. เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. (ป., ส. วลฺลี). |
วัลลภ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-พอ-สำ-เพา | [วันลบ] เป็นคำนาม หมายถึง คนสนิท, ผู้ชอบพอ, คนโปรด, คนรัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัลลภ [วันลบ] น. คนสนิท, ผู้ชอบพอ, คนโปรด, คนรัก. (ป., ส.). |
วัลลี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัลลี น. เถาวัลย์, เครือเขา, ไม้เถา. (ป., ส.). |
วัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos taurus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ ลำตัวมีสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาล นวล เขาโค้ง สั้น มีเหนียงห้อยอยู่ใต้คอถึงอก ขนปลายหางเป็นพู่, โค ก็เรียก, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง งัว. | วัว ๑ น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos taurus ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์กีบคู่ ลำตัวมีสีต่าง ๆ เช่น นํ้าตาล นวล เขาโค้ง สั้น มีเหนียงห้อยอยู่ใต้คอถึงอก ขนปลายหางเป็นพู่, โค ก็เรียก, (ปาก) งัว. |
วัวเขาเกก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง วัวที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, ควายเขาเกก ก็ว่า. | วัวเขาเกก น. วัวที่มีเขาเฉออกไม่เข้ารูปกัน; โดยปริยายหมายถึงคนที่เป็นอันธพาลเกะกะเกเร, ควายเขาเกก ก็ว่า. |
วัวใครเข้าคอกคนนั้น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-คอ-ควาย-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง กรรมที่มีผู้ใดทําไว้ย่อมส่งผลให้แก่ผู้นั้น ดุจวัวที่กลับเข้าคอกของมันเอง. | วัวใครเข้าคอกคนนั้น (สำ) น. กรรมที่มีผู้ใดทําไว้ย่อมส่งผลให้แก่ผู้นั้น ดุจวัวที่กลับเข้าคอกของมันเอง. |
วัวตัวผู้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวงูเมีย ดาวปุรพผลคุนี หรือ ดาวปุพพผลคุนี ก็เรียก. | วัวตัวผู้ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุรพผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวงูเมีย ดาวปุรพผลคุนี หรือ ดาวปุพพผลคุนี ก็เรียก. |
วัวตัวเมีย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตรผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวเพดาน หรือ ดาวอุตตรผลคุนี ก็เรียก. | วัวตัวเมีย น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตรผลคุนี มี ๒ ดวง, ดาวเพดาน หรือ ดาวอุตตรผลคุนี ก็เรียก. |
วัวเถลิง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วัวเปลี่ยว, วัวหนุ่ม. | วัวเถลิง น. วัวเปลี่ยว, วัวหนุ่ม. |
วัวพันหลัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี. | วัวพันหลัก (สำ) ว. อาการที่วกหรือย้อนกลับไปหาจุดเริ่มต้น เช่น ให้การเป็นวัวพันหลัก, ลักษณะที่วกหรือย้อนกลับไปหาบุคคลที่เป็นต้นตอผู้รับผิดชอบ (มักใช้ในทางชู้สาว) มาจากสำนวนเต็มว่า แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก หมายความว่า ชายที่ใช้แม่สื่อไปติดต่อหญิงที่ตนชอบ แล้วไม่ได้ตัวหญิงคนนั้น เลยเอาแม่สื่อนั้นเองเป็นภรรยา หรือผู้หญิงทำทีรับอาสาไปติดต่อหญิงคนใดคนหนึ่งให้แก่ชาย แต่ในที่สุดก็เอาตัวเองเข้าพัวพันจนได้ชายคนนั้นเป็นสามี. |
วัวลืมตีน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ได้ดีแล้วลืมฐานะเดิมของตน. | วัวลืมตีน (สำ) น. คนที่ได้ดีแล้วลืมฐานะเดิมของตน. |
วัวสันหลังหวะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีความผิดติดตัวทําให้คอยหวาดระแวง, วัวสันหลังขาด ก็ว่า. | วัวสันหลังหวะ น. คนที่มีความผิดติดตัวทําให้คอยหวาดระแวง, วัวสันหลังขาด ก็ว่า. |
วัวหายล้อมคอก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ของหายแล้วจึงจะเริ่มป้องกัน, เรื่องเกิดขึ้นแล้วจึงคิดแก้ไข. | วัวหายล้อมคอก (สำ) น. ของหายแล้วจึงจะเริ่มป้องกัน, เรื่องเกิดขึ้นแล้วจึงคิดแก้ไข. |
วัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | ดู งัว เขียนว่า งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ๕. | วัว ๒ ดู งัว ๕. |
วัวทะเล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | ดู พะยูน เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-นอ-หนู. | วัวทะเล ดู พะยูน. |
วัส, วัสสะ วัส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ วัสสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | [วัดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ฝน, ฤดูฝน; ปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺษ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี. | วัส, วัสสะ [วัดสะ] น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. (ป.; ส. วรฺษ). |
วัสคณนา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-คอ-ควาย-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [วัดสะคะนะนา] เป็นคำนาม หมายถึง การนับปี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺส เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ + คณนา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา . | วัสคณนา [วัดสะคะนะนา] น. การนับปี. (ป. วสฺส + คณนา). |
วัสโสทก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วัสโสทก น. นํ้าฝน. (ป.). |
วัสดุ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ | [วัดสะดุ] เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่นํามาใช้ เช่น วัสดุก่อสร้าง; ของใช้ที่มีอายุการใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กระดาษ ดินสอ (ใช้แก่การงบประมาณ). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วสฺตุ เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาบาลี วตฺถุ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ. | วัสดุ [วัดสะดุ] น. วัตถุที่นํามาใช้ เช่น วัสดุก่อสร้าง; ของใช้ที่มีอายุการใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กระดาษ ดินสอ (ใช้แก่การงบประมาณ). (ส. วสฺตุ; ป. วตฺถุ). |
วัสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วัตถ์, ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี วตฺถ เขียนว่า วอ-แหวน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ถอ-ถุง. | วัสตร์ (แบบ) น. วัตถ์, ผ้า, เสื้อผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ส. วสฺตฺร; ป. วตฺถ). |
วัสน์ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วสนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วัสน์ (แบบ) น. วสนะ. (ป., ส.). |
วัสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วัดสะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฝนตก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺสน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-นอ-หนู และมาจากภาษาสันสกฤต วรฺษณ เขียนว่า วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน. | วัสนะ [วัดสะนะ] (แบบ) น. ฝนตก. (ป. วสฺสน; ส. วรฺษณ). |
วัสสาน, วัสสานะ วัสสาน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู วัสสานะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วัดสานะ] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูฝน, หน้าฝน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺสาน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ว่า ฤดูฝน . | วัสสาน, วัสสานะ [วัดสานะ] น. ฤดูฝน, หน้าฝน. (ป. วสฺสาน ว่า ฤดูฝน). |
วัสสานฤดู เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู | [วัดสานะรึดู] เป็นคำนาม หมายถึง ฤดูฝน, ในกลุ่มประเทศเขตร้อนอันมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย แบ่งฤดูกาลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงระยะเวลาของแต่ละฤดูในแต่ละท้องถิ่นหรือประเทศอาจแตกต่างกันไปบ้างและไม่ค่อยตรงกัน เฉพาะในภาคกลางของประเทศไทย ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม หรือทางจันทรคติเริ่มต้นวันแรมค่ำหนึ่ง เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, บางทีก็เขียนเพี้ยนไปเป็น วสันต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วสฺสาน เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู + ภาษาสันสกฤต ฤตุ เขียนว่า รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ = ฤดูฝน . | วัสสานฤดู [วัดสานะรึดู] น. ฤดูฝน, ในกลุ่มประเทศเขตร้อนอันมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย แบ่งฤดูกาลออกเป็น ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน ช่วงระยะเวลาของแต่ละฤดูในแต่ละท้องถิ่นหรือประเทศอาจแตกต่างกันไปบ้างและไม่ค่อยตรงกัน เฉพาะในภาคกลางของประเทศไทย ฤดูฝนเริ่มต้นประมาณตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม หรือทางจันทรคติเริ่มต้นวันแรมค่ำหนึ่ง เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, บางทีก็เขียนเพี้ยนไปเป็น วสันต์. (ป. วสฺสาน + ส. ฤตุ = ฤดูฝน). |
วัสโสทก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ | ดู วัส, วัสสะ วัส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ วัสสะ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ . | วัสโสทก ดู วัส, วัสสะ. |
วา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. | วา ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. |
วาตารางเหลี่ยม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว๒. | วาตารางเหลี่ยม (เลิก) น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว๒. |
วา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง เพลงปี่พาทย์ทํานองหนึ่ง ใช้บรรเลงก่อนตัวแสดงออกแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่าการแสดงจะเริ่มแล้ว. | วา ๒ น. เพลงปี่พาทย์ทํานองหนึ่ง ใช้บรรเลงก่อนตัวแสดงออกแสดง เพื่อให้ผู้ชมรู้ว่าการแสดงจะเริ่มแล้ว. |
ว่า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, บอก, เช่น เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน; ดุ เช่น อย่าเอะอะไป เดี๋ยวครูว่าเอา, ติ เช่น ดีแต่ว่าเขา; ดุด่าว่ากล่าว เช่น ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้; ร้อง เช่น ว่าเพลง; จ้าง, ตกลงให้ทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น ไปว่าขนมมาเลี้ยงแขก, ว่าจ้าง ก็ว่า; ใช้เป็นสันธานเชื่อมประโยค เช่น พูดว่า คิดว่า หมายความว่า มีความเห็นว่า. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นคำใช้แทนกริยาอื่นบางคำได้ เป็นต้นว่าใช้แทนคำว่า กิน เช่น ว่าเสียเรียบ ว่าเสียเต็มคราบ ใช้แทนคำว่า ทำ เช่น ว่าเสียเอง. | ว่า ก. พูด, บอก, เช่น เขาว่า ที่นี่ฝนตกทุกวัน; ดุ เช่น อย่าเอะอะไป เดี๋ยวครูว่าเอา, ติ เช่น ดีแต่ว่าเขา; ดุด่าว่ากล่าว เช่น ว่าไม่ได้ ก็เลี้ยงไม่ได้; ร้อง เช่น ว่าเพลง; จ้าง, ตกลงให้ทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น ไปว่าขนมมาเลี้ยงแขก, ว่าจ้าง ก็ว่า; ใช้เป็นสันธานเชื่อมประโยค เช่น พูดว่า คิดว่า หมายความว่า มีความเห็นว่า. (ปาก) ก. เป็นคำใช้แทนกริยาอื่นบางคำได้ เป็นต้นว่าใช้แทนคำว่า กิน เช่น ว่าเสียเรียบ ว่าเสียเต็มคราบ ใช้แทนคำว่า ทำ เช่น ว่าเสียเอง. |
ว่ากลอนสด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวกลอนที่ผูกขึ้นอย่างปัจจุบันโดยมิได้คิดมาก่อน; โดยปริยายหมายถึงกล่าวข้อความที่ไม่ได้เตรียมมาก่อน, พูดกลอนสด ก็ว่า. | ว่ากลอนสด ก. กล่าวกลอนที่ผูกขึ้นอย่างปัจจุบันโดยมิได้คิดมาก่อน; โดยปริยายหมายถึงกล่าวข้อความที่ไม่ได้เตรียมมาก่อน, พูดกลอนสด ก็ว่า. |
ว่ากล่าว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ตำหนิ, ตักเตือน, เช่น มาทำงานสายเป็นประจำ จึงถูกผู้บังคับบัญชาเรียกไปว่ากล่าว, สั่งสอน เช่น ผู้ใหญ่ว่ากล่าวไม่เชื่อฟัง. | ว่ากล่าว ก. ตำหนิ, ตักเตือน, เช่น มาทำงานสายเป็นประจำ จึงถูกผู้บังคับบัญชาเรียกไปว่ากล่าว, สั่งสอน เช่น ผู้ใหญ่ว่ากล่าวไม่เชื่อฟัง. |
ว่าการ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแลตรวจตราสั่งการงาน. | ว่าการ ก. ดูแลตรวจตราสั่งการงาน. |
ว่าขาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดต่อว่า, พูดติ, เช่น พระมิได้ตอบคำว่าขาน ตรัสแต่กิจการกรุงศรี แต่ดูพระกิริยาพาที เหมือนจะเคลื่อนคลายที่โกรธา ฯ (อิเหนา). | ว่าขาน ก. พูดต่อว่า, พูดติ, เช่น พระมิได้ตอบคำว่าขาน ตรัสแต่กิจการกรุงศรี แต่ดูพระกิริยาพาที เหมือนจะเคลื่อนคลายที่โกรธา ฯ (อิเหนา). |
ว่าข้ามหัว, ว่าส่งไป ว่าข้ามหัว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ว่าส่งไป เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดลอย ๆ ไม่เจาะจงคู่กรณีหรือผู้ถูกว่า. | ว่าข้ามหัว, ว่าส่งไป ก. พูดลอย ๆ ไม่เจาะจงคู่กรณีหรือผู้ถูกว่า. |
ว่าเข้านั่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่แสดงว่าเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งกล่าวนั้นไม่น่าเชื่อถือเป็นต้น. | ว่าเข้านั่น (ปาก) เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่แสดงว่าเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งกล่าวนั้นไม่น่าเชื่อถือเป็นต้น. |
ว่าความ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง (กฎ) ว่าต่างหรือแก้ต่างแทนคู่ความในคดี; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ชําระความ เช่น ท้าวมาลีวราชว่าความ. | ว่าความ ก. (กฎ) ว่าต่างหรือแก้ต่างแทนคู่ความในคดี; (โบ) ชําระความ เช่น ท้าวมาลีวราชว่าความ. |
ว่าง่าย, ว่านอนสอนง่าย ว่าง่าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ว่านอนสอนง่าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-งอ-งู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง อยู่ในโอวาท, เชื่อฟังคำสั่งสอนโดยดี. | ว่าง่าย, ว่านอนสอนง่าย ก. อยู่ในโอวาท, เชื่อฟังคำสั่งสอนโดยดี. |
ว่าจ้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง จ้าง, ตกลงให้ทําการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น เขาว่าจ้างช่างให้มาทำรั้วบ้าน, ว่า ก็ว่า. | ว่าจ้าง ก. จ้าง, ตกลงให้ทําการสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยให้ค่าจ้าง, เช่น เขาว่าจ้างช่างให้มาทำรั้วบ้าน, ว่า ก็ว่า. |
ว่าด้วย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำบุรพบท หมายถึง เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์. | ว่าด้วย บ. เกี่ยวกับ เช่น วารสารชุดนี้ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรม กฎหมายว่าด้วยลิขสิทธิ์. |
ว่าต่าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าความแทนโจทก์, ใช้คู่กับ แก้ต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนจําเลย. | ว่าต่าง (กฎ) ก. ว่าความแทนโจทก์, ใช้คู่กับ แก้ต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนจําเลย. |
ว่าตามหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ติเตียนหรือนินทาเมื่อผู้ถูกว่าคล้อยหลังไปแล้ว. | ว่าตามหลัง ก. ติเตียนหรือนินทาเมื่อผู้ถูกว่าคล้อยหลังไปแล้ว. |
ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตนก็กลับทำในเรื่องนั้นเสียเอง. | ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (สำ) ก. ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตนก็กลับทำในเรื่องนั้นเสียเอง. |
ว่าที่ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง รั้งตำแหน่งหรือยศ (ใช้แก่ทหารหรือตำรวจ) เช่น ว่าที่ร้อยตรี ว่าที่พันตำรวจโท; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง รั้งตำแหน่งที่จะเป็นต่อไป เช่น ว่าที่พ่อตา. | ว่าที่ ก. รั้งตำแหน่งหรือยศ (ใช้แก่ทหารหรือตำรวจ) เช่น ว่าที่ร้อยตรี ว่าที่พันตำรวจโท; (ปาก) รั้งตำแหน่งที่จะเป็นต่อไป เช่น ว่าที่พ่อตา. |
ว่าไปทำไมมี เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดไปก็เสียเวลาเปล่า ๆ เช่น ว่าไปทำไมมี เมื่อก่อนก็ไม่มีสมบัติอะไรติดตัวอยู่แล้ว; ใช้เป็นคำขึ้นต้นประโยค หมายความว่า อันที่จริง เช่น ว่าไปทำไมมี เราคนกันเองทั้งนั้น. | ว่าไปทำไมมี ก. พูดไปก็เสียเวลาเปล่า ๆ เช่น ว่าไปทำไมมี เมื่อก่อนก็ไม่มีสมบัติอะไรติดตัวอยู่แล้ว; ใช้เป็นคำขึ้นต้นประโยค หมายความว่า อันที่จริง เช่น ว่าไปทำไมมี เราคนกันเองทั้งนั้น. |
ว่าไม่ได้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังลงความเห็นไม่ได้, ยังไม่แน่นอน, เช่น ว่าไม่ได้เขาอาจจะถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ ก็ได้. | ว่าไม่ได้ (ปาก) ว. ยังลงความเห็นไม่ได้, ยังไม่แน่นอน, เช่น ว่าไม่ได้เขาอาจจะถูกสลากกินแบ่งรางวัลที่ ๑ ก็ได้. |
ว่าไม่ไว้หน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ดุด่าว่ากล่าวผู้ใดผู้หนึ่งต่อหน้าให้ได้รับความอับอายโดยไม่เกรงใจ. | ว่าไม่ไว้หน้า ก. ดุด่าว่ากล่าวผู้ใดผู้หนึ่งต่อหน้าให้ได้รับความอับอายโดยไม่เกรงใจ. |
ว่ายาก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, ไม่เชื่อฟังคำสั่งสอน, ว่ายากสอนยาก ก็ว่า. | ว่ายาก ว. ดื้อดึง, ไม่อยู่ในโอวาท, ไม่เชื่อฟังคำสั่งสอน, ว่ายากสอนยาก ก็ว่า. |
ว่าลับหลัง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง นินทา. | ว่าลับหลัง ก. นินทา. |
ว่าแล้ว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่ได้เกิดเหตุการณ์ตรงตามที่ได้ว่าไว้ เช่น ฉันว่าแล้ว ไม่ผิดไปจากที่พูดเลย. | ว่าแล้ว เป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่ได้เกิดเหตุการณ์ตรงตามที่ได้ว่าไว้ เช่น ฉันว่าแล้ว ไม่ผิดไปจากที่พูดเลย. |
ว่าแล้วว่าอีก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดหรือตำหนิติเตียนซ้ำซาก. | ว่าแล้วว่าอีก ก. พูดหรือตำหนิติเตียนซ้ำซาก. |
ว่าวอน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง อ้อนวอน เช่น ผ่านม่านสุวรรณซึ่งกั้นกาง เห็นนางบรรทมอยู่ในที่ พี่เลี้ยงโลมไล้ไม่ไยดี มะเดหวีจึงเข้าไปว่าวอน. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔. | ว่าวอน (แบบ) ก. อ้อนวอน เช่น ผ่านม่านสุวรรณซึ่งกั้นกาง เห็นนางบรรทมอยู่ในที่ พี่เลี้ยงโลมไล้ไม่ไยดี มะเดหวีจึงเข้าไปว่าวอน. (อิเหนา). |
ว่าส่ง ๆ, ว่าส่งเดช ว่าส่ง ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก ว่าส่งเดช เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ชอ-ช้าง | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดพล่อย ๆ ไม่มีเหตุผล. | ว่าส่ง ๆ, ว่าส่งเดช ก. พูดพล่อย ๆ ไม่มีเหตุผล. |
ว่าสาดเสียเทเสีย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าอย่างเจ็บแสบทำให้เสียหายอย่างรุนแรง. | ว่าสาดเสียเทเสีย (สำ) ก. ว่าอย่างเจ็บแสบทำให้เสียหายอย่างรุนแรง. |
ว่าใส่หน้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อว่าหรือติเตียนซึ่ง ๆ หน้า. | ว่าใส่หน้า ก. ต่อว่าหรือติเตียนซึ่ง ๆ หน้า. |
ว่าอะไรว่าตามกัน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ปรองดองกัน, ไม่ขัดคอกัน, พูดเต็มว่า ว่าอะไรว่าตามกัน ได้เงินหม้อทองหม้อ หมายความว่า ว่าอะไรว่าตามกัน จะเกิดความเจริญมั่งคั่ง (มักใช้แก่คู่สามีภรรยา). | ว่าอะไรว่าตามกัน (สำ) ก. ปรองดองกัน, ไม่ขัดคอกัน, พูดเต็มว่า ว่าอะไรว่าตามกัน ได้เงินหม้อทองหม้อ หมายความว่า ว่าอะไรว่าตามกัน จะเกิดความเจริญมั่งคั่ง (มักใช้แก่คู่สามีภรรยา). |
ว่าเอาเอง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดแต่งเรื่องขึ้นมาเอง. | ว่าเอาเอง ก. พูดแต่งเรื่องขึ้นมาเอง. |
ว้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น เช่น หายไปไหนว้า อย่าเสียใจไปเลยว้า. | ว้า ๑ อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น. ว. คําออกเสียงลงท้ายประโยคแสดงความสงสัยหรือปลอบใจเป็นต้น เช่น หายไปไหนว้า อย่าเสียใจไปเลยว้า. |
ว้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว่าง, เปลี่ยวใจ, เปล่าใจ, ใจหาย. | ว้า ๒ ว. ว่าง, เปลี่ยวใจ, เปล่าใจ, ใจหาย. |
ว้าเหว่ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกอ้างว้าง, เปลี่ยวใจ, เช่น ไปต่างถิ่น พอเย็นลงก็รู้สึกว้าเหว่ คิดถึงบ้าน. | ว้าเหว่ ว. รู้สึกอ้างว้าง, เปลี่ยวใจ, เช่น ไปต่างถิ่น พอเย็นลงก็รู้สึกว้าเหว่ คิดถึงบ้าน. |
วาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปล่า, หาย, ว้าเหว่, เช่น ใจวาก. | วาก ๑ ว. เปล่า, หาย, ว้าเหว่, เช่น ใจวาก. |
วาก ๒, วากะ วาก ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ วากะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วากะ] เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกไม้, ป่าน, ปอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺก เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-กอ-ไก่. | วาก ๒, วากะ [วากะ] น. เปลือกไม้, ป่าน, ปอ. (ป.; ส. วลฺก). |
วากจิรพัสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าที่ทําด้วยเปลือกไม้, ผ้าป่าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วากจิร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ ว่า ที่ทําด้วยเปลือกไม้ + ภาษาสันสกฤต วสฺตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ ว่า ผ้า . | วากจิรพัสตร์ น. ผ้าที่ทําด้วยเปลือกไม้, ผ้าป่าน. (ป. วากจิร ว่า ที่ทําด้วยเปลือกไม้ + ส. วสฺตฺร ว่า ผ้า). |
ว้าก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงร้องดัง ๆ อย่างเสียงเด็กร้อง, หวาก ก็ว่า. | ว้าก ว. เสียงร้องดัง ๆ อย่างเสียงเด็กร้อง, หวาก ก็ว่า. |
วากย, วากยะ วากย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก วากยะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [วากกะยะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, คํากล่าว, ถ้อยคํา, ประโยค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วากย, วากยะ [วากกะยะ] น. คําพูด, คํากล่าว, ถ้อยคํา, ประโยค. (ป., ส.). |
วากยสัมพันธ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตําราไวยากรณ์ตอนที่แยกความออกเป็นประโยค ๆ และบอกความเกี่ยวข้องของคําในประโยค. | วากยสัมพันธ์ น. ชื่อตําราไวยากรณ์ตอนที่แยกความออกเป็นประโยค ๆ และบอกความเกี่ยวข้องของคําในประโยค. |
วากรา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [วากกะรา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตาข่าย; บ่วง, เครื่องดักสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาคุรา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา. | วากรา [วากกะรา] (แบบ) น. ตาข่าย; บ่วง, เครื่องดักสัตว์. (ป.; ส. วาคุรา). |
วาง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งพ้นจากมือหรือบ่าเป็นต้นด้วยอาการกิริยาต่าง ๆ ตามที่ต้องการ เช่น วางข้าวของเรียงเป็นแถว วางกับดักหนู วางกระดานลงกับพื้น วางเสาพิงกับผนัง; กำหนด, ตั้ง, เช่น วางกฎ วางเงื่อนไข วางรากฐาน; จัดเข้าประจําที่ เช่น วางคน วางยาม, วางกำลัง; ปล่อยวาง เช่น วางอารมณ์ วางธุระ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปโดยรีบร้อน เช่น ขี่ช้างวางวิ่ง. | วาง ก. ทําให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งพ้นจากมือหรือบ่าเป็นต้นด้วยอาการกิริยาต่าง ๆ ตามที่ต้องการ เช่น วางข้าวของเรียงเป็นแถว วางกับดักหนู วางกระดานลงกับพื้น วางเสาพิงกับผนัง; กำหนด, ตั้ง, เช่น วางกฎ วางเงื่อนไข วางรากฐาน; จัดเข้าประจําที่ เช่น วางคน วางยาม, วางกำลัง; ปล่อยวาง เช่น วางอารมณ์ วางธุระ; (กลอน) อาการที่เคลื่อนไปโดยรีบร้อน เช่น ขี่ช้างวางวิ่ง. |
วางก้าม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางโต ก็ว่า. | วางก้าม ก. ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางโต ก็ว่า. |
วางขรึม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำท่าขรึม. | วางขรึม ก. ทำท่าขรึม. |
วางข้อ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทางว่าเก่งกล้า, แสดงท่าทางอวดดี, เช่น ทำวางข้อเป็นลูกเศรษฐี. | วางข้อ ก. แสดงท่าทางว่าเก่งกล้า, แสดงท่าทางอวดดี, เช่น ทำวางข้อเป็นลูกเศรษฐี. |
วางไข่ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง ออกไข่ (ใช้แก่เต่าและปลา). | วางไข่ ก. ออกไข่ (ใช้แก่เต่าและปลา). |
วางเงิน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ชําระเงินตามเงื่อนไขที่มีต่อกัน เช่น วางเงินมัดจำ. | วางเงิน ก. ชําระเงินตามเงื่อนไขที่มีต่อกัน เช่น วางเงินมัดจำ. |
วางใจ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง เชื่อใจ, ไว้ใจ, เช่น อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง. | วางใจ ก. เชื่อใจ, ไว้ใจ, เช่น อย่าไว้ใจทาง อย่าวางใจคน จะจนใจเอง. |
วางฎีกา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นใบแจ้งขอเบิกเงินจากคลัง; ยื่นฎีกาอาราธนาพระสงฆ์ (มักใช้เนื่องในงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี). | วางฎีกา ก. ยื่นใบแจ้งขอเบิกเงินจากคลัง; ยื่นฎีกาอาราธนาพระสงฆ์ (มักใช้เนื่องในงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี). |
วางตลาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง นําสินค้าออกวางขายตามร้านทั่วไป. | วางตลาด ก. นําสินค้าออกวางขายตามร้านทั่วไป. |
วางตัว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติตน เช่น วางตัวไม่ดี คนอื่นจะดูถูกได้, ปฏิบัติตน เช่น วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้าข้างใคร. | วางตัว ก. ประพฤติตน เช่น วางตัวไม่ดี คนอื่นจะดูถูกได้, ปฏิบัติตน เช่น วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้าข้างใคร. |
วางตัวเป็นกลาง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เข้าข้างใคร เช่น พี่น้องทะเลาะกัน เขาเลยต้องวางตัวเป็นกลาง. | วางตัวเป็นกลาง ก. ไม่เข้าข้างใคร เช่น พี่น้องทะเลาะกัน เขาเลยต้องวางตัวเป็นกลาง. |
วางตา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ละสายตา, มักใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ดูไม่วางตา. | วางตา ก. ละสายตา, มักใช้ในประโยคปฏิเสธว่า ดูไม่วางตา. |
วางโต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางก้าม ก็ว่า. | วางโต ก. ทําท่าใหญ่โต, ทําท่าเป็นนักเลงโต, วางก้าม ก็ว่า. |
วางทรัพย์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง การที่บุคคลผู้ชำระหนี้นำทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ไปวางไว้ ณ สำนักงานวางทรัพย์ประจำตำบลที่จะต้องชำระหนี้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ ในกรณีที่เจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำระหนี้หรือไม่สามารถจะรับชำระหนี้ได้ เพื่อให้หลุดพ้นจากหนี้นั้น. | วางทรัพย์ (กฎ) น. การที่บุคคลผู้ชำระหนี้นำทรัพย์อันเป็นวัตถุแห่งหนี้ไปวางไว้ ณ สำนักงานวางทรัพย์ประจำตำบลที่จะต้องชำระหนี้เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ ในกรณีที่เจ้าหนี้บอกปัดไม่ยอมรับชำระหนี้หรือไม่สามารถจะรับชำระหนี้ได้ เพื่อให้หลุดพ้นจากหนี้นั้น. |
วางท่า เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าไว้ยศ เช่น วางท่าเป็นอธิบดี, วางปุ่ม ก็ว่า. | วางท่า ก. ทําท่าไว้ยศ เช่น วางท่าเป็นอธิบดี, วางปุ่ม ก็ว่า. |
วางเบ็ด, วางเบ็ดราว วางเบ็ด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก วางเบ็ดราว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง นำเบ็ดราวที่เกี่ยวเหยื่อแล้วไปหย่อนลงในแม่น้ำลำคลอง. | วางเบ็ด, วางเบ็ดราว ก. นำเบ็ดราวที่เกี่ยวเหยื่อแล้วไปหย่อนลงในแม่น้ำลำคลอง. |
วางปึ่ง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำท่าไว้ยศไม่อยากพูดจาด้วย; ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ. | วางปึ่ง ก. ทำท่าไว้ยศไม่อยากพูดจาด้วย; ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ. |
วางปุ่ม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าไว้ยศ, วางท่า ก็ว่า. | วางปุ่ม ก. ทําท่าไว้ยศ, วางท่า ก็ว่า. |
วางผังเมือง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม. | วางผังเมือง ก. ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม. |
วางแผน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป, วางแผนการ ก็ว่า; ทำท่าทีใหญ่โต เช่น ทำวางแผนเป็นขุนนางชั้นสูง. | วางแผน ก. กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป, วางแผนการ ก็ว่า; ทำท่าทีใหญ่โต เช่น ทำวางแผนเป็นขุนนางชั้นสูง. |
วางแผนการ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป; วางแผน ก็ว่า. | วางแผนการ ก. กะกำหนดแผนหรือโครงการที่จะดำเนินการต่อไป; วางแผน ก็ว่า. |
วางเพลิง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | [เพฺลิง] เป็นคำกริยา หมายถึง จุดไฟเผาอาคารบ้านเรือนหรือทรัพย์สมบัติ; โดยปริยายหมายความว่าให้ร้ายคนอื่น. | วางเพลิง [เพฺลิง] ก. จุดไฟเผาอาคารบ้านเรือนหรือทรัพย์สมบัติ; โดยปริยายหมายความว่าให้ร้ายคนอื่น. |
วางมวย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ชกต่อยวิวาทกัน. | วางมวย ก. ชกต่อยวิวาทกัน. |
วางมาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่าทางให้เห็นว่าใหญ่โตหรือมีอํานาจเป็นต้น เช่น วางมาดเป็นดารา. | วางมาด ก. แสดงท่าทางให้เห็นว่าใหญ่โตหรือมีอํานาจเป็นต้น เช่น วางมาดเป็นดารา. |
วางมือ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เอาเป็นธุระ, หยุดหรือเลิกการงานที่ทําอยู่ชั่วคราวหรือตลอดไป เช่น วางมือจากทำสวนไปทำกับข้าว วางมือจากการเป็นครู. | วางมือ ก. ไม่เอาเป็นธุระ, หยุดหรือเลิกการงานที่ทําอยู่ชั่วคราวหรือตลอดไป เช่น วางมือจากทำสวนไปทำกับข้าว วางมือจากการเป็นครู. |
วางยา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ให้กินยาเพื่อรักษาโรค เช่น หมอวางยาคนไข้ได้ถูกกับโรค, ลอบเอายาพิษให้กิน เช่น โดนวางยาในอาหาร; โดยปริยายหมายความว่า พูดให้เสียหาย. | วางยา ก. ให้กินยาเพื่อรักษาโรค เช่น หมอวางยาคนไข้ได้ถูกกับโรค, ลอบเอายาพิษให้กิน เช่น โดนวางยาในอาหาร; โดยปริยายหมายความว่า พูดให้เสียหาย. |
วางราง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตั้งรางเพื่อให้รถไฟเป็นต้นเคลื่อนไป. | วางราง ก. ติดตั้งรางเพื่อให้รถไฟเป็นต้นเคลื่อนไป. |
วางวาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์. ในวงเล็บ มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์, วายวาง ก็ว่า. | วางวาย ก. ตาย เช่น นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย์. (กฤษณา), วายวาง ก็ว่า. |
วางสาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตั้งสายไฟฟ้าสายโทรศัพท์เป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า จัดคนเข้าไปสืบความลับของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น วางสายเข้าไปปล้นธนาคาร. | วางสาย ก. ติดตั้งสายไฟฟ้าสายโทรศัพท์เป็นต้น; โดยปริยายหมายความว่า จัดคนเข้าไปสืบความลับของอีกฝ่ายหนึ่ง เช่น วางสายเข้าไปปล้นธนาคาร. |
วางหน้า เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ตีหน้า เช่น วางหน้าไม่สนิท วางหน้าเก้อ ๆ. | วางหน้า ก. ตีหน้า เช่น วางหน้าไม่สนิท วางหน้าเก้อ ๆ. |
วางหมาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง กำหนดตัวบุคคลให้เหมาะแก่งานเพื่อให้ได้ผลตามแผนการที่กำหนดไว้. | วางหมาก ก. กำหนดตัวบุคคลให้เหมาะแก่งานเพื่อให้ได้ผลตามแผนการที่กำหนดไว้. |
วางอาวุธ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง | เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมแพ้. | วางอาวุธ ก. ยอมแพ้. |
วางอำนาจ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอํานาจ, อวดอํานาจ. | วางอำนาจ ก. แสดงอํานาจ, อวดอํานาจ. |
ว่าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปล่า, ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองที่อ้างถึง, เช่น ห้องว่าง ที่ว่าง ตําแหน่งว่าง, บางทีใช้ควบคู่กับคํา เปล่า เป็น ว่างเปล่า; ไม่มีภาระผูกพัน เช่น วันนี้ว่างทั้งวัน เย็นนี้หมอว่างไม่มีคนไข้. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกของกินในเวลาที่ไม่ใช่เวลากินข้าวว่า ของว่าง เครื่องว่าง อาหารว่าง. | ว่าง ว. เปล่า, ไม่มีอะไรนอกจากตัวของมันเองที่อ้างถึง, เช่น ห้องว่าง ที่ว่าง ตําแหน่งว่าง, บางทีใช้ควบคู่กับคํา เปล่า เป็น ว่างเปล่า; ไม่มีภาระผูกพัน เช่น วันนี้ว่างทั้งวัน เย็นนี้หมอว่างไม่มีคนไข้. น. เรียกของกินในเวลาที่ไม่ใช่เวลากินข้าวว่า ของว่าง เครื่องว่าง อาหารว่าง. |
ว่าง ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรจะทำ, ไม่มีภาระ, เช่น อยู่ว่าง ๆ ไม่รู้จะทำอะไร. | ว่าง ๆ ว. ไม่มีอะไรจะทำ, ไม่มีภาระ, เช่น อยู่ว่าง ๆ ไม่รู้จะทำอะไร. |
ว่างงาน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ตกงาน, ไม่มีงานทํา. | ว่างงาน ก. ตกงาน, ไม่มีงานทํา. |
ว่างเปล่า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรเลย เช่น โต๊ะตัวนี้ว่างเปล่าไม่มีของวางอยู่เลย. | ว่างเปล่า ว. ไม่มีอะไรเลย เช่น โต๊ะตัวนี้ว่างเปล่าไม่มีของวางอยู่เลย. |
ว่างมือ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรทำ เช่น ว่างมือเมื่อไร จะช่วยตัดเสื้อให้. | ว่างมือ ว. ไม่มีอะไรทำ เช่น ว่างมือเมื่อไร จะช่วยตัดเสื้อให้. |
ว่างเว้น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง งด, เว้น, เช่น ว่างเว้นจากการเสพสุรายาเมา เขาเคยมาเสมอ แต่หมู่นี้ว่างเว้นไป. | ว่างเว้น ก. งด, เว้น, เช่น ว่างเว้นจากการเสพสุรายาเมา เขาเคยมาเสมอ แต่หมู่นี้ว่างเว้นไป. |
ว้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปล่า, ว่าง. | ว้าง ว. เปล่า, ว่าง. |
ว้างเวิ้ง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นช่องว่างและโล่งออกไปกว้างขวาง. | ว้างเวิ้ง ว. เป็นช่องว่างและโล่งออกไปกว้างขวาง. |
วาจก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้กล่าว, ผู้บอก, ผู้พูด. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ เป็นคำกริยา หมายถึง กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นผู้ทํา ผู้ใช้ ผู้ถูกทํา หรือผู้ถูกใช้ แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ กรรตุวาจก กรรมวาจก และการิตวาจก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาจก น. ผู้กล่าว, ผู้บอก, ผู้พูด. (ไว) ก. กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทําหน้าที่เป็นผู้ทํา ผู้ใช้ ผู้ถูกทํา หรือผู้ถูกใช้ แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ กรรตุวาจก กรรมวาจก และการิตวาจก. (ป., ส.). |
วาจา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาจา น. ถ้อยคํา, คํากล่าว, คําพูด, เช่น วาจาสุภาพ วาจาอ่อนหวาน วาจาสัตย์. (ป., ส.). |
วาจาไปยะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คําอ่อนหวาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วาจาเปยฺย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก วาชเปยฺย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | วาจาไปยะ (แบบ) น. คําอ่อนหวาน. (ป. วาจาเปยฺย, วาชเปยฺย). |
วาจาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ช่างพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาจาล (แบบ) ว. ช่างพูด. (ป., ส.). |
วาชเปยะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | [วาชะ] เป็นคำนาม หมายถึง การดื่มเพื่อพลัง; ชื่อพิธีบูชาอย่างหนึ่งในอินเดียโบราณที่จัดทำสำหรับบุคคลในวรรณะกษัตริย์และวรรณะพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาชเปยะ [วาชะ] น. การดื่มเพื่อพลัง; ชื่อพิธีบูชาอย่างหนึ่งในอินเดียโบราณที่จัดทำสำหรับบุคคลในวรรณะกษัตริย์และวรรณะพราหมณ์. (ส.). |
วาฏกะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วาตะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง วงกลม, สังเวียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วาฏกะ [วาตะ] (แบบ) น. วงกลม, สังเวียน. (ป.). |
วาณิช, วาณิชกะ วาณิช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง วาณิชกะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วานิด, วานิดชะ] เป็นคำนาม หมายถึง พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กับคำ พ่อค้า เป็น พ่อค้าวาณิช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาณิช, วาณิชกะ [วานิด, วานิดชะ] น. พ่อค้า, มักใช้พูดเข้าคู่กับคำ พ่อค้า เป็น พ่อค้าวาณิช. (ป., ส.). |
วาณิชย์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การค้าขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาณิชย์ น. การค้าขาย. (ส.). |
วาณี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคํา, ภาษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; เจ้าแม่แห่งวาจา คือ พระสรัสวดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาณี น. ถ้อยคํา, ภาษา. (ป., ส.); เจ้าแม่แห่งวาจา คือ พระสรัสวดี. (ส.). |
วาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพทิวทัศน์, เขียนเป็นลายเส้น เช่น วาดภาพลายไทย, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วาดวิมานในอากาศเสียสวยหรู วาดโครงการในอนาคต; ทอดแขนหรือกรายแขนอย่างอ่อนช้อยในการฟ้อนรํา. | วาด ๑ ก. เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพทิวทัศน์, เขียนเป็นลายเส้น เช่น วาดภาพลายไทย, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วาดวิมานในอากาศเสียสวยหรู วาดโครงการในอนาคต; ทอดแขนหรือกรายแขนอย่างอ่อนช้อยในการฟ้อนรํา. |
วาดเขียน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่าง ๆ. | วาดเขียน น. วิชาว่าด้วยการเขียนรูปภาพต่าง ๆ. |
วาดปาก เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอานิ้วมือป้ายสีผึ้งหรือใช้ลิปสติกลูบไล้ไปตามริมฝีปากให้ทั่ว. | วาดปาก ก. เอานิ้วมือป้ายสีผึ้งหรือใช้ลิปสติกลูบไล้ไปตามริมฝีปากให้ทั่ว. |
วาดภาพ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำกริยา หมายถึง วาดเป็นภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น วาดภาพคน วาดภาพทิวทัศน์. | วาดภาพ ก. วาดเป็นภาพอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น วาดภาพคน วาดภาพทิวทัศน์. |
วาดลวดลาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงท่ารำหรือเต้นรำเป็นต้นได้งดงามไปตามจังหวะดนตรี; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง แสดงชั้นเชิง เช่น วาดลวดลายในการโฆษณา. | วาดลวดลาย ก. แสดงท่ารำหรือเต้นรำเป็นต้นได้งดงามไปตามจังหวะดนตรี; (ปาก) แสดงชั้นเชิง เช่น วาดลวดลายในการโฆษณา. |
วาด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง พายเรือโดยกวาดพายเป็นแนวโค้งเข้าหาตัว, ตรงข้ามกับ คัด. | วาด ๒ ก. พายเรือโดยกวาดพายเป็นแนวโค้งเข้าหาตัว, ตรงข้ามกับ คัด. |
วาต, วาตะ วาต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า วาตะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | [วาตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาต, วาตะ [วาตะ] น. ลม. (ป., ส.). |
วาตปานะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง หน้าต่าง, ช่องลมที่มีบานเปิดปิดได้อย่างบานหน้าต่าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วาตปานะ น. หน้าต่าง, ช่องลมที่มีบานเปิดปิดได้อย่างบานหน้าต่าง. (ป.). |
วาตภัย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [วาตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ภัยอันตรายที่เกิดจากพายุ. | วาตภัย [วาตะ] น. ภัยอันตรายที่เกิดจากพายุ. |
วาท, วาท วาท เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน วาท มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | [วาด, วาทะ] เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, ถ้อยคํา; ลัทธิ, ความเห็น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาท, วาท [วาด, วาทะ] น. คําพูด, ถ้อยคํา; ลัทธิ, ความเห็น. (ป., ส.). |
วาทศาสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ได้ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย เช่นพูดโต้แย้ง พูดชวนให้เชื่อถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rhetorics เขียนว่า อา-เอช-อี-ที-โอ-อา-ไอ-ซี-เอส. | วาทศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ได้ผลสำเร็จตามความมุ่งหมาย เช่นพูดโต้แย้ง พูดชวนให้เชื่อถือ. (อ. rhetorics). |
วาทศิลป์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ประทับใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ rhetoric เขียนว่า อา-เอช-อี-ที-โอ-อา-ไอ-ซี. | วาทศิลป์ น. ศิลปะในการใช้ถ้อยคําสํานวนโวหารให้ประทับใจ. (อ. rhetoric). |
วาทกะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [วาทะกะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประโคม, ผู้บรรเลงดนตรี, นักดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาทกะ [วาทะกะ] น. ผู้ประโคม, ผู้บรรเลงดนตรี, นักดนตรี. (ส.). |
วาทนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วาทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การประโคม, การบรรเลงดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาทนะ [วาทะนะ] น. การประโคม, การบรรเลงดนตรี. (ส.). |
วาทย, วาทย์ วาทย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก วาทย์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [วาทะยะ, วาดทะยะ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประโคม, เครื่องบรรเลง, เครื่องเป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาทย, วาทย์ [วาทะยะ, วาดทะยะ] น. เครื่องประโคม, เครื่องบรรเลง, เครื่องเป่า. (ส.). |
วาทยกร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [วาทะยะกอน, วาดทะยะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อํานวยการให้จังหวะดนตรี, ผู้อำนวยเพลง ก็เรียก. | วาทยกร [วาทะยะกอน, วาดทะยะกอน] น. ผู้อํานวยการให้จังหวะดนตรี, ผู้อำนวยเพลง ก็เรียก. |
วาทิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง สังคีต, ดนตรี; ผู้บรรเลงดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วาทิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า วาทิตฺต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต วาทิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า วาทิตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | วาทิต น. สังคีต, ดนตรี; ผู้บรรเลงดนตรี. (ป. วาทิต, วาทิตฺต; ส. วาทิต, วาทิตฺร). |
วาทิน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนเล่นดนตรี. ในวงเล็บ ดู วาที เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี. | วาทิน น. คนเล่นดนตรี. (ดู วาที). |
วาที เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง; คนเล่นดนตรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาที น. ผู้พูด, ผู้กล่าว, ผู้ชี้แจง, ผู้โต้แย้ง; คนเล่นดนตรี. (ป., ส.). |
วาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง กงเรือ. ในวงเล็บ ดู กงวาน เขียนว่า กอ-ไก่-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู; ช่องที่เจาะบากกงเรือเพื่อให้นํ้าเดิน เรียกว่า ช่องวาน. | วาน ๑ น. กงเรือ. (ดู กงวาน); ช่องที่เจาะบากกงเรือเพื่อให้นํ้าเดิน เรียกว่า ช่องวาน. |
วาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง วันก่อนวันนี้วันหนึ่ง, มักใช้ว่า เมื่อวาน หรือ เมื่อวานนี้. | วาน ๒ น. วันก่อนวันนี้วันหนึ่ง, มักใช้ว่า เมื่อวาน หรือ เมื่อวานนี้. |
วานซืน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง วันก่อนเมื่อวานนี้วันหนึ่ง, วันก่อนวันนี้ไป ๒ วัน, มักใช้ว่า เมื่อวานซืน. | วานซืน น. วันก่อนเมื่อวานนี้วันหนึ่ง, วันก่อนวันนี้ไป ๒ วัน, มักใช้ว่า เมื่อวานซืน. |
วาน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำกริยา หมายถึง ขอให้ช่วยทําแทนตัว เช่น วานเขียนหนังสือให้หน่อย วานไปซื้อตั๋วรถไฟ. | วาน ๓ ก. ขอให้ช่วยทําแทนตัว เช่น วานเขียนหนังสือให้หน่อย วานไปซื้อตั๋วรถไฟ. |
ว่าน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกพืชบางชนิดที่มีหัวบ้าง ไม่มีหัวบ้าง ใช้ทำยาบ้าง หรือเชื่อกันว่าทำให้อยู่ยงคงกระพันและเป็นสิริมงคล เช่น ว่านนางล้อม ว่านเสน่ห์จันทร์แดง. | ว่าน น. ชื่อเรียกพืชบางชนิดที่มีหัวบ้าง ไม่มีหัวบ้าง ใช้ทำยาบ้าง หรือเชื่อกันว่าทำให้อยู่ยงคงกระพันและเป็นสิริมงคล เช่น ว่านนางล้อม ว่านเสน่ห์จันทร์แดง. |
ว่านกาบหอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia spathacea Sw. วงศ์ Commelinaceae ลำต้นตั้งตรงอวบน้ำ ไม่แตกกิ่ง ใบยาว ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีม่วงแดง ช่อดอกออกที่ง่ามของลำต้น ซึ่งมีกาบรูปเรือ ๒ อันหุ้มอยู่ ดอกมีจำนวนมาก สีขาว ก้านสั้น ใช้ทำยาได้, กาบหอยแครง ก็เรียก. | ว่านกาบหอย น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tradescantia spathacea Sw. วงศ์ Commelinaceae ลำต้นตั้งตรงอวบน้ำ ไม่แตกกิ่ง ใบยาว ด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีม่วงแดง ช่อดอกออกที่ง่ามของลำต้น ซึ่งมีกาบรูปเรือ ๒ อันหุ้มอยู่ ดอกมีจำนวนมาก สีขาว ก้านสั้น ใช้ทำยาได้, กาบหอยแครง ก็เรียก. |
ว่านกีบม้า, ว่านกีบแรด ว่านกีบม้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ว่านกีบแรด เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก | ดู กีบแรด เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก. | ว่านกีบม้า, ว่านกีบแรด ดู กีบแรด. |
ว่านไก่ไห้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท | ดู ไก่ไห้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท (๒). | ว่านไก่ไห้ ดู ไก่ไห้ (๒). |
ว่านธรณีสาร เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ธรณีสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒. | ว่านธรณีสาร ดู ธรณีสาร ๒. |
ว่านนางกวัก เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | ดู นางกวัก เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒. | ว่านนางกวัก ดู นางกวัก ๒. |
ว่านนางล้อม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | ดู นางล้อม เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-มอ-ม้า. | ว่านนางล้อม ดู นางล้อม. |
ว่านน้ำ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Acorus calamus L. ในวงศ์ Araceae ชอบขึ้นอยู่ในที่ชื้นแฉะ เหง้ามีกลิ่นฉุนแรง, พายัพเรียก กะส้มชื่น. | ว่านน้ำ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Acorus calamus L. ในวงศ์ Araceae ชอบขึ้นอยู่ในที่ชื้นแฉะ เหง้ามีกลิ่นฉุนแรง, พายัพเรียก กะส้มชื่น. |
ว่านพระฉิม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า | ดู ข้าวข้า เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา. | ว่านพระฉิม ดู ข้าวข้า. |
ว่านเพชรหึง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | ดู เพชรหึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู ความหมายที่ ๒. | ว่านเพชรหึง ดู เพชรหึง ๒. |
ว่านมหากาฬ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา | ดู มหากาฬ เขียนว่า มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา ความหมายที่ ๒. | ว่านมหากาฬ ดู มหากาฬ ๒. |
ว่านมหานิล เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง | ดู มหานิล เขียนว่า มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๒. | ว่านมหานิล ดู มหานิล ๒. |
ว่านมหาเมฆ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-คอ-ระ-คัง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma aeruginosa Roxb. ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย ขณะออกดอกไม่มีใบ ดอกสีเหลือง เป็นช่อตั้ง อยู่ระหว่างใบประดับสีขาวซึ่งมีปลายสีชมพู ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก ดอกอาว. | ว่านมหาเมฆ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Curcuma aeruginosa Roxb. ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะคล้ายต้นกระชาย ขณะออกดอกไม่มีใบ ดอกสีเหลือง เป็นช่อตั้ง อยู่ระหว่างใบประดับสีขาวซึ่งมีปลายสีชมพู ใช้ประกอบอาหารได้, พายัพเรียก ดอกอาว. |
ว่านมีดยับ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน และภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ว่านหางช้าง. ในวงเล็บ ดู หางช้าง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | ว่านมีดยับ (ถิ่นอีสาน, พายัพ) น. ว่านหางช้าง. (ดู หางช้าง ๑). |
ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | ดู เสน่ห์จันทร์ขาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | ว่านเสน่ห์จันทร์ขาว ดู เสน่ห์จันทร์ขาว. |
ว่านเสน่ห์จันทร์แดง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | ดู เสน่ห์จันทร์แดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-นอ-หนู-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู. | ว่านเสน่ห์จันทร์แดง ดู เสน่ห์จันทร์แดง. |
ว่านหางช้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ดู หางช้าง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | ว่านหางช้าง ดู หางช้าง ๑. |
ว่านเครือ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสาย, เหล่ากอ, มักใช้เข้าคู่กับคำ วงศ์วาน เป็น วงศ์วานว่านเครือ. | ว่านเครือ น. เชื้อสาย, เหล่ากอ, มักใช้เข้าคู่กับคำ วงศ์วาน เป็น วงศ์วานว่านเครือ. |
วานร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ | [วานอน] เป็นคำนาม หมายถึง ลิง; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์มฆา มี ๕ ดวง, ดาวงอนไถ ดาวงูผู้ ดาวโคมูตร ดาวมฆะ หรือ ดาวมาฆะ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วานร [วานอน] น. ลิง; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์มฆา มี ๕ ดวง, ดาวงอนไถ ดาวงูผู้ ดาวโคมูตร ดาวมฆะ หรือ ดาวมาฆะ ก็เรียก. (ป., ส.). |
วานรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [วานะ] เป็นคำนาม หมายถึง พญาลิง. | วานรินทร์ [วานะ] น. พญาลิง. |
วานรินทร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู วานร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-รอ-เรือ. | วานรินทร์ ดู วานร. |
ว่านหอยแครง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งู | ดู กาบหอย เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก. | ว่านหอยแครง ดู กาบหอย. |
ว่านหางช้าง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ดู หางช้าง เขียนว่า หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | ว่านหางช้าง ดู หางช้าง ๑. |
วาเนเดียม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๒๓ สัญลักษณ์ V เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๙๐๐°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ vanadium เขียนว่า วี-เอ-เอ็น-เอ-ดี-ไอ-ยู-เอ็ม. | วาเนเดียม น. ธาตุลําดับที่ ๒๓ สัญลักษณ์ V เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๙๐๐°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. vanadium). |
วาบ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่รู้สึกร้อน เย็น กลัว ตกใจ เสียวใจ เป็นต้น ขึ้นทันทีแล้วหายไปดับไป เช่น เย็นวาบ ใจหายวาบ เสียววาบ; วับ. | วาบ ว. อาการที่รู้สึกร้อน เย็น กลัว ตกใจ เสียวใจ เป็นต้น ขึ้นทันทีแล้วหายไปดับไป เช่น เย็นวาบ ใจหายวาบ เสียววาบ; วับ. |
วาบหวาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รู้สึกเสียวซ่านในใจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น พอเห็นหน้าคนรักก็รู้สึกวาบหวามใจ. | วาบหวาม ว. รู้สึกเสียวซ่านในใจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น พอเห็นหน้าคนรักก็รู้สึกวาบหวามใจ. |
วาปะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง การหว่านพืช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาปะ น. การหว่านพืช. (ป., ส.). |
วาปิตะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง หว่านแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาปิตะ ก. หว่านแล้ว. (ป., ส.). |
วาปี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง หนองนํ้า, บึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาปี น. หนองนํ้า, บึง. (ป., ส.). |
วาม ๑, วาม ๆ วาม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วาม ๆ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า ตาทรายยิ่งนิลวาม พรายเพริศ ลิงว่าผลลูกหว้า โดดดิ้นโดยตาม. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง. | วาม ๑, วาม ๆ ว. เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า ตาทรายยิ่งนิลวาม พรายเพริศ ลิงว่าผลลูกหว้า โดดดิ้นโดยตาม. (โลกนิติ). |
วาม ๒, วามะ ๑ วาม ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วามะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | [วามะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซ้าย, ข้างซ้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาม ๒, วามะ ๑ [วามะ] ว. ซ้าย, ข้างซ้าย. (ป., ส.). |
วามาจาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่ง นับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบซ้ายหรือฝ่ายซ้าย มีพิธีกรรมลี้ลับ อนาจาร, คู่กับ ทักษิณาจาร; ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทํานองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์, เรียกผู้ปฏิบัติในลัทธินี้ว่า วามาจาริน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วามาจาร น. ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่ง นับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบซ้ายหรือฝ่ายซ้าย มีพิธีกรรมลี้ลับ อนาจาร, คู่กับ ทักษิณาจาร; ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทํานองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์, เรียกผู้ปฏิบัติในลัทธินี้ว่า วามาจาริน. (ส.). |
วามน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู | [วามะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง คนเตี้ย, คนค่อม; ชื่อช้างประจําทิศใต้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เตี้ย, สั้น, ค่อม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วามน [วามะนะ] น. คนเตี้ย, คนค่อม; ชื่อช้างประจําทิศใต้. ว. เตี้ย, สั้น, ค่อม. (ป., ส.). |
วามนาวตาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อวตารปางที่ ๕ ของพระนารายณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วามน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู + อวตาร เขียนว่า ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | วามนาวตาร น. อวตารปางที่ ๕ ของพระนารายณ์. (ส. วามน + อวตาร). |
วามนาวตาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู วามน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู. | วามนาวตาร ดู วามน. |
วามะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | ดู วาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒. | วามะ ๑ ดู วาม ๒. |
วามะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วามะ ๒ ว. งาม. (ส.). |
วามาจาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู วาม ๒, วามะ ๑ วาม ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า วามะ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | วามาจาร ดู วาม ๒, วามะ ๑. |
วาโมร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-รอ-เรือ | [โมน] เป็นคำนาม หมายถึง คนป่า, คนรํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | วาโมร [โมน] น. คนป่า, คนรํา. (ช.). |
วาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อยสิ้นไปตามคราวหรือกําหนดอายุเวลา เช่น มะม่วงวาย ตลาดวาย หัวใจวาย. | วาย ๑ ก. ค่อยสิ้นไปตามคราวหรือกําหนดอายุเวลา เช่น มะม่วงวาย ตลาดวาย หัวใจวาย. |
วายชนม์, วายชีวิต, วายปราณ, วายวาง, วายสังขาร วายชนม์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-มอ-ม้า-ทัน-ทะ-คาด วายชีวิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า วายปราณ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-เนน วายวาง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-งอ-งู วายสังขาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย. | วายชนม์, วายชีวิต, วายปราณ, วายวาง, วายสังขาร ก. ตาย. |
วายวอด เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง หมดสิ้นไม่เหลือหลอ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ฉิบหาย เป็น ฉิบหายวายวอด. | วายวอด ก. หมดสิ้นไม่เหลือหลอ, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ฉิบหาย เป็น ฉิบหายวายวอด. |
วาย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ตี เช่น วายทรวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | วาย ๒ ก. ตี เช่น วายทรวง. (ข.). |
ว่าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนไปโดยอาศัยกําลังแขน ขา ครีบ หรือ หาง แหวกไปในนํ้าหรือในอากาศ. | ว่าย ก. เคลื่อนไปโดยอาศัยกําลังแขน ขา ครีบ หรือ หาง แหวกไปในนํ้าหรือในอากาศ. |
ว่ายตา เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง แลกวาดไปในอากาศ. | ว่ายตา ก. แลกวาดไปในอากาศ. |
ว่ายน้ำหาจระเข้ เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เสี่ยงเข้าพบทั้ง ๆ ที่รู้ว่าจะเป็นอันตราย. | ว่ายน้ำหาจระเข้ (สำ) ก. เสี่ยงเข้าพบทั้ง ๆ ที่รู้ว่าจะเป็นอันตราย. |
ว่ายฟ้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนไปในอากาศ เช่น ไก่ฟ้าวานว่ายฟ้า หาวหน หาสมรมายล เถื่อนท้องฯ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์. | ว่ายฟ้า (วรรณ) ก. เคลื่อนไปในอากาศ เช่น ไก่ฟ้าวานว่ายฟ้า หาวหน หาสมรมายล เถื่อนท้องฯ. (ตะเลงพ่าย). |
ว่ายหล้า เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง ท่องเที่ยวไปในแผ่นดิน, เขียนเป็น หว้ายหล้า ก็มี เช่น เปนขุนยศยิ่งฟ้า ฤๅบาปจำหว้ายหล้า หล่มล้มตนเดียวฯ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | ว่ายหล้า (วรรณ) ก. ท่องเที่ยวไปในแผ่นดิน, เขียนเป็น หว้ายหล้า ก็มี เช่น เปนขุนยศยิ่งฟ้า ฤๅบาปจำหว้ายหล้า หล่มล้มตนเดียวฯ. (ลอ). |
ว้าย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจหรือดีใจเป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง). | ว้าย อ. คําที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจหรือดีใจเป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง). |
วายร้าย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหลือร้าย, ชั่วช้านัก. | วายร้าย ว. เหลือร้าย, ชั่วช้านัก. |
วายสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | [ยะ] เป็นคำนาม หมายถึง กา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วายสะ [ยะ] น. กา. (ป., ส.). |
วายะ, วาโย วายะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ วาโย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วายุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ วาโย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต วายุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ. | วายะ, วาโย น. ลม. (ป. วายุ, วาโย; ส. วายุ). |
วาโยธาตุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลม เป็นธาตุ ๑ ในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วาโยธาตุ น. ธาตุลม เป็นธาตุ ๑ ในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม. (ป.). |
วายามะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ความพยายาม, ความหมั่น, ความบากบั่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วฺยายาม เขียนว่า วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | วายามะ น. ความพยายาม, ความหมั่น, ความบากบั่น. (ป.; ส. วฺยายาม). |
วายุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ลม, อากาศ, ลมหายใจ; เทพแห่งลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . ในวงเล็บ ดู พายุ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ. | วายุ น. ลม, อากาศ, ลมหายใจ; เทพแห่งลม. (ป., ส.). (ดู พายุ). |
วายุภักษ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวรรณคดี แปลว่า นกกินลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วายุภักษ์ น. ชื่อนกในวรรณคดี แปลว่า นกกินลม. (ส.). |
วายุกูล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ไวกูณฐ์. | วายุกูล น. ไวกูณฐ์. |
วายุบุตรยาตรา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | วายุบุตรยาตรา น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
วาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | [วาน] เป็นคำนาม หมายถึง วันหนึ่ง ๆ ในสัปดาห์ เช่น อาทิตยวาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาร ๑ [วาน] น. วันหนึ่ง ๆ ในสัปดาห์ เช่น อาทิตยวาร. (ป., ส.). |
วาร ๒, วาระ วาร ความหมายที่ ๒ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ วาระ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [วาระ] เป็นคำนาม หมายถึง ครั้ง, คราว, เช่น พิจารณารวดเดียว ๓ วาระ อยู่ในตำแหน่งวาระละ ๒ ปี, เวลากำหนด เช่น วาระอันเป็นมงคล วาระสุดท้ายของชีวิต. | วาร ๒, วาระ [วาระ] น. ครั้ง, คราว, เช่น พิจารณารวดเดียว ๓ วาระ อยู่ในตำแหน่งวาระละ ๒ ปี, เวลากำหนด เช่น วาระอันเป็นมงคล วาระสุดท้ายของชีวิต. |
วารสาร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์. | วารสาร น. หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์. |
วารสารศาสตร์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการทําหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และการพิมพ์ประเภทอื่น ๆ. | วารสารศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยการทําหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และการพิมพ์ประเภทอื่น ๆ. |
วาระจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องที่มิได้บรรจุไว้ในระเบียบวาระ แต่ได้นำเข้ามาพิจารณาเป็นพิเศษในการประชุมคราวนั้น. | วาระจร น. เรื่องที่มิได้บรรจุไว้ในระเบียบวาระ แต่ได้นำเข้ามาพิจารณาเป็นพิเศษในการประชุมคราวนั้น. |
วารณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน | [วาระนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วารณ [วาระนะ] น. ช้าง. (ป., ส.). |
วารณกร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง งวงช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วารณกร น. งวงช้าง. (ส.). |
วารวาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ | [วาระ] เป็นคำนาม หมายถึง ดอกชบา. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | วารวาริ [วาระ] น. ดอกชบา. (ช.). |
วาริ, วารี วาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ วารี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาริ, วารี น. นํ้า. (ป., ส.). |
วาริจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์นํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วาริโคจร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-จอ-จาน-รอ-เรือ. | วาริจร น. สัตว์นํ้า. (ส.; ป. วาริโคจร). |
วาริช, วารีช วาริช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง วารีช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง เกิดแต่นํ้า คือ บัว ปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาริช, วารีช น. เกิดแต่นํ้า คือ บัว ปลา. (ป., ส.). |
วาริท, วาริธร วาริท เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน วาริธร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เมฆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาริท, วาริธร น. เมฆ. (ป., ส.). |
วาริพินทุ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง หยาดนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาริพินทุ น. หยาดนํ้า. (ป., ส.). |
วาริช, วารีช วาริช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง วารีช เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง | ดู วาริ, วารี วาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ วารี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี . | วาริช, วารีช ดู วาริ, วารี. |
วาริท, วาริธร วาริท เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน วาริธร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ | ดู วาริ, วารี วาริ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ วารี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี . | วาริท, วาริธร ดู วาริ, วารี. |
วารุณ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาชวา . | วารุณ น. นํ้าดอกไม้. (ช.). |
วารุณี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เทวีแห่งเหล้า; เหล้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วารุณี น. เทวีแห่งเหล้า; เหล้า. (ป., ส.). |
วาล, วาล วาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง วาล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | [วาน, วาละ] เป็นคำนาม หมายถึง หาง; ขนสัตว์, ขนหางสัตว์. (บางทีเขียน พาล). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาล, วาล [วาน, วาละ] น. หาง; ขนสัตว์, ขนหางสัตว์. (บางทีเขียน พาล). (ป., ส.). |
วาลกัมพล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ลอ-ลิง | [วาละ] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าห่มทําด้วยขนสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วาลกัมพล [วาละ] น. ผ้าห่มทําด้วยขนสัตว์. (ป.). |
วาลธิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ | [วาละ] เป็นคำนาม หมายถึง หาง, ขนหาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วาลธิ [วาละ] น. หาง, ขนหาง. (ป.). |
วาลวีชนี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | [วาละวีชะนี] เป็นคำนาม หมายถึง พัดกับแส้ขนจามรีถือเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างหนึ่งในเบญจราชกกุธภัณฑ์, วาลวิชนี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาลวีชนี [วาละวีชะนี] น. พัดกับแส้ขนจามรีถือเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างหนึ่งในเบญจราชกกุธภัณฑ์, วาลวิชนี ก็ว่า. (ป., ส.). |
วาล์ว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งในเครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน ทําหน้าที่เป็นลิ้นปิดเปิดเป็นจังหวะ ชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอดี สําหรับให้อากาศหรืออากาศผสมนํ้ามันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ อีกชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอเสีย สําหรับให้แก๊สต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ออกจากห้องเผาไหม้ไปสู่ท่อไอเสีย, ลิ้น ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ valve เขียนว่า วี-เอ-แอล-วี-อี. | วาล์ว น. อุปกรณ์ชนิดหนึ่งในเครื่องยนต์ชนิดเผาไหม้ภายใน ทําหน้าที่เป็นลิ้นปิดเปิดเป็นจังหวะ ชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอดี สําหรับให้อากาศหรืออากาศผสมนํ้ามันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ อีกชุดหนึ่งเรียกว่า ลิ้นไอเสีย สําหรับให้แก๊สต่าง ๆ ที่เกิดจากการเผาไหม้ออกจากห้องเผาไหม้ไปสู่ท่อไอเสีย, ลิ้น ก็เรียก. (อ. valve). |
วาลิกา, วาลุกา วาลิกา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา วาลุกา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง กรวด, ทราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาลิกา, วาลุกา น. กรวด, ทราย. (ป., ส.). |
วาว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุกใส, มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน, เช่น ในเวลากลางคืนตาแมวดูวาว, เป็นมัน เช่น ผ้าต่วนเป็นมันวาว พื้นเป็นมันวาว, วาบแวบ. | วาว ว. สุกใส, มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน, เช่น ในเวลากลางคืนตาแมวดูวาว, เป็นมัน เช่น ผ้าต่วนเป็นมันวาว พื้นเป็นมันวาว, วาบแวบ. |
วาววับ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีประกายแวววาว เช่น เสื้อปักดิ้นเดินทองวาววับ. | วาววับ ว. มีประกายแวววาว เช่น เสื้อปักดิ้นเดินทองวาววับ. |
วาววาม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นแสงวูบวาบ เช่น แสงเพชรวาววาม. | วาววาม ว. เป็นแสงวูบวาบ เช่น แสงเพชรวาววาม. |
วาวแวว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน เช่น แหวนเพชรวงนี้มีน้ำวาวแวว, แวววาม หรือ แวววาว ก็ว่า. | วาวแวว ว. มีแสงกลอกกลิ้งอยู่ข้างใน เช่น แหวนเพชรวงนี้มีน้ำวาวแวว, แวววาม หรือ แวววาว ก็ว่า. |
วาวแสง เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีแสงวาว. | วาวแสง ว. มีแสงวาว. |
ว่าว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องเล่นอย่างหนึ่ง มีไม้ไผ่เป็นต้นผูกเป็นโครงรูปต่าง ๆ แล้วปิดด้วยกระดาษหรือผ้าบาง ๆ มีสายเชือกหรือป่านผูกกับสายซุงสําหรับชักให้ลอยตามลมสูงขึ้นไปในอากาศ มีหลายชนิด เช่น ว่าวจุฬา ว่าวปักเป้า ว่าวงู. | ว่าว ๑ น. เครื่องเล่นอย่างหนึ่ง มีไม้ไผ่เป็นต้นผูกเป็นโครงรูปต่าง ๆ แล้วปิดด้วยกระดาษหรือผ้าบาง ๆ มีสายเชือกหรือป่านผูกกับสายซุงสําหรับชักให้ลอยตามลมสูงขึ้นไปในอากาศ มีหลายชนิด เช่น ว่าวจุฬา ว่าวปักเป้า ว่าวงู. |
ว่าวขาดลอย เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง จากไปไม่กลับ, ว่าวขาดลมลอย ก็ว่า เช่น จะจากเจ้าเหมือนดังว่าวขาดลมลอย อย่าหมายคอยเลยว่าเมียจะเป็นตัว. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑. | ว่าวขาดลอย (วรรณ) ก. จากไปไม่กลับ, ว่าวขาดลมลอย ก็ว่า เช่น จะจากเจ้าเหมือนดังว่าวขาดลมลอย อย่าหมายคอยเลยว่าเมียจะเป็นตัว. (ขุนช้างขุนแผน). |
ว่าวติดลม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ว่าวที่ลอยกินลมอยู่ในอากาศ. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพลินจนลืมตัว. | ว่าวติดลม น. ว่าวที่ลอยกินลมอยู่ในอากาศ. (สำ) ว. เพลินจนลืมตัว. |
ว่าวเหลิง, ว่าวเหลิงลม ว่าวเหลิง เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ว่าวเหลิงลม เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | [เหฺลิง] เป็นคำนาม หมายถึง ว่าวติดลมส่ายไปมาบังคับไม่อยู่. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพลินจนลืมตัว เช่น กลัวต้องลมแล้วจะหาวเหมือนว่าวเหลิง. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗. | ว่าวเหลิง, ว่าวเหลิงลม [เหฺลิง] น. ว่าวติดลมส่ายไปมาบังคับไม่อยู่. (สำ) ว. เพลินจนลืมตัว เช่น กลัวต้องลมแล้วจะหาวเหมือนว่าวเหลิง. (อภัย). |
ว่าว เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกลมที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ในตอนต้นฤดูหนาวว่า ลมว่าว, ลมเล่นว่าวเดี๋ยวนี้คือลมตะเภาซึ่งพัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือในกลางฤดูร้อน. | ว่าว ๒ น. เรียกลมที่พัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ในตอนต้นฤดูหนาวว่า ลมว่าว, ลมเล่นว่าวเดี๋ยวนี้คือลมตะเภาซึ่งพัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือในกลางฤดูร้อน. |
ว้าว่อน เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อนกล่นอยู่ในอากาศ. | ว้าว่อน ว. เกลื่อนกล่นอยู่ในอากาศ. |
ว้าวุ่น เขียนว่า วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สับสน เช่น จิตใจว้าวุ่น. | ว้าวุ่น ก. สับสน เช่น จิตใจว้าวุ่น. |
วาสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | [วาสะ] เป็นคำนาม หมายถึง การนุ่งห่ม, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสนะ ๑ [วาสะ] น. การนุ่งห่ม, เครื่องนุ่งห่ม. (ป., ส.). |
วาสนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [วาสะ] เป็นคำนาม หมายถึง การอบ, การทําให้หอม; เครื่องหอม, นํ้าหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสนะ ๒ [วาสะ] น. การอบ, การทําให้หอม; เครื่องหอม, นํ้าหอม. (ป., ส.). |
วาสนา เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [วาดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง บุญบารมี, กุศลที่ทําให้ได้รับลาภยศ, เช่น เด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือ วาสนาบารมี เช่น เป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสนา [วาดสะหฺนา] น. บุญบารมี, กุศลที่ทําให้ได้รับลาภยศ, เช่น เด็กคนนี้มีวาสนาดี เกิดในกองเงินกองทอง, มักใช้เข้าคู่กับคำ บุญ หรือ บารมี เป็น บุญวาสนา หรือ วาสนาบารมี เช่น เป็นบุญวาสนาของเขา เขาเป็นคนมีวาสนาบารมีมาก. (ป., ส.). |
วาสพ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พอ-พาน | [วาสบ] เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วาสว เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-วอ-แหวน. | วาสพ [วาสบ] น. พระอินทร์. (ส., ป. วาสว). |
วาสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง การอยู่, การพัก; ที่อยู่, บ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสะ ๑ น. การอยู่, การพัก; ที่อยู่, บ้าน. (ป., ส.). |
วาสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสะ ๒ น. ผ้า, เครื่องนุ่งห่ม. (ป., ส.). |
วาสะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง การอบ; เครื่องหอม, นํ้าหอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสะ ๓ น. การอบ; เครื่องหอม, นํ้าหอม. (ป., ส.). |
วาสิน, วาสี ๑ วาสิน เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู วาสี ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้อยู่, ผู้ครอง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น คามวาสี = ผู้อยู่บ้าน อรัญวาสี = ผู้อยู่ป่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสิน, วาสี ๑ น. ผู้อยู่, ผู้ครอง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น คามวาสี = ผู้อยู่บ้าน อรัญวาสี = ผู้อยู่ป่า. (ป., ส.). |
วาสี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง มีด, พร้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาสี ๒ น. มีด, พร้า. (ป., ส.). |
วาสุกรี, วาสุกี วาสุกรี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี วาสุกี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพญานาคร้ายตนหนึ่ง; พญานาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วาสุกิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ. | วาสุกรี, วาสุกี น. ชื่อพญานาคร้ายตนหนึ่ง; พญานาค. (ป., ส. วาสุกิ). |
วาสุเทพ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระนารายณ์ปางพระกฤษณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาสุเทพ น. ชื่อพระนารายณ์ปางพระกฤษณะ. (ส.). |
วาหนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วาหะ] เป็นคำนาม หมายถึง พาหนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาหนะ [วาหะ] น. พาหนะ. (ป., ส.). |
วาหะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | ดู พาห ๑, พ่าห์ พาห ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ พ่าห์ เขียนว่า พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด . | วาหะ ๑ ดู พาห ๑, พ่าห์. |
วาหะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวงอย่างหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาหะ ๒ น. ชื่อมาตราตวงอย่างหนึ่ง. (ป., ส.). |
วาหินี เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ทัพ, กองทัพ; หมวด; แม่นํ้า, คลอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | วาหินี น. ทัพ, กองทัพ; หมวด; แม่นํ้า, คลอง. (ส.). |
วาฬ ๑, วาฬ วาฬ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา วาฬ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา | [วาน, วาละ] เป็นคำนาม หมายถึง พาฬ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วาฬ ๑, วาฬ [วาน, วาละ] น. พาฬ. (ป.; ส.วฺยาล). |
วาฬมิค เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง พาฬมฤค, สัตว์ร้าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วาฬมิค น. พาฬมฤค, สัตว์ร้าย. (ป.). |
วาฬ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา ความหมายที่ ๒ | [วาน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Odontoceti และ Mysticeti มีหลายชนิดในหลายวงศ์ ขนาดใหญ่มาก หัวมนใหญ่ หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ สามารถพ่นอากาศที่มีไอน้ำออกทางจมูกได้เวลาโผล่ขึ้นมาหายใจ เช่น วาฬสีน้ำเงิน (Balaenoptera musculus) ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยปรกติไม่พบในน่านน้ำไทย, วาฬแกลบครีบดำ (B. borealis) และ วาฬแกลบครีบขาวดำ (B. acutorostrata) ในวงศ์ Balaenopteridae, วาฬหัวทุย (Physeter catodon) ในวงศ์ Physeteridae, ปลาวาฬ ก็เรียก. | วาฬ ๒ [วาน] น. ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ Odontoceti และ Mysticeti มีหลายชนิดในหลายวงศ์ ขนาดใหญ่มาก หัวมนใหญ่ หางแบนเพื่อช่วยในการพุ้ยน้ำ สามารถพ่นอากาศที่มีไอน้ำออกทางจมูกได้เวลาโผล่ขึ้นมาหายใจ เช่น วาฬสีน้ำเงิน (Balaenoptera musculus) ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยปรกติไม่พบในน่านน้ำไทย, วาฬแกลบครีบดำ (B. borealis) และ วาฬแกลบครีบขาวดำ (B. acutorostrata) ในวงศ์ Balaenopteridae, วาฬหัวทุย (Physeter catodon) ในวงศ์ Physeteridae, ปลาวาฬ ก็เรียก. |
วิ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ | คํานําหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วิ คํานําหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. (ป., ส.). |
วิกขัมภ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด | [วิกขํา] เป็นคำนาม หมายถึง เส้นผ่านศูนย์กลาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วิกขัมภ์ [วิกขํา] น. เส้นผ่านศูนย์กลาง. (ป.). |
วิกขัมภนะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [วิกขําพะ] เป็นคำนาม หมายถึง การปลดเปลื้อง, การเลิกถอน; การข่มไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | วิกขัมภนะ [วิกขําพะ] น. การปลดเปลื้อง, การเลิกถอน; การข่มไว้. (ป.). |
วิกเขป เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ปอ-ปลา | [วิกเขบ, วิกเขปะ] เป็นคำนาม หมายถึง การเคลื่อนหรือแกว่งไปมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วิกฺเษป เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-สอ-รือ-สี-ปอ-ปลา. | วิกเขป [วิกเขบ, วิกเขปะ] น. การเคลื่อนหรือแกว่งไปมา. (ป.; ส. วิกฺเษป). |
วิกจะ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | [กะ] เป็นคำกริยา หมายถึง แย้ม, บาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วิกจะ [กะ] ก. แย้ม, บาน. (ป., ส.). |
วิกรม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [วิกฺรม] เป็นคำกริยา หมายถึง เก่งกล้า, ก้าวล่วงไปด้วยความกล้าหาญ, มีชัยชนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วิกฺรม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี วิกฺกม เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-มอ-ม้า. | วิกรม [วิกฺรม] ก. เก่งกล้า, ก้าวล่วงไปด้วยความกล้าหาญ, มีชัยชนะ. (ส. วิกฺรม; ป. วิกฺกม). |
วิกรัย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [วิไกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง การขาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วิกฺรย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี วิกฺกย เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ยอ-ยัก. | วิกรัย [วิไกฺร] น. การขาย. (ส. วิกฺรย; ป. วิกฺกย). |
วิกรานต์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [วิกฺราน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้าหาญ, มีชัยชนะ, ก้าวหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วิกฺรานฺต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | วิกรานต์ [วิกฺราน] ว. กล้าหาญ, มีชัยชนะ, ก้าวหน้า. (ส. วิกฺรานฺต). |
วิกฤต, วิกฤต, วิกฤติ, วิกฤติ วิกฤต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า วิกฤต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า วิกฤติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ วิกฤติ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [วิกฺริด, วิกฺริดตะ,วิกฺริด, วิกฺริดติ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ในขั้นล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การเมืองอยู่ในขั้นวิกฤติ, มักใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์ เป็น วิกฤติกาล หรือ วิกฤติการณ์, อยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ เช่น มุมวิกฤติ จุดวิกฤติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี วิกต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า วิกติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ . | วิกฤต, วิกฤต, วิกฤติ, วิกฤติ [วิกฺริด, วิกฺริดตะ,วิกฺริด, วิกฺริดติ] ว. อยู่ในขั้นล่อแหลมต่ออันตราย เช่น การเมืองอยู่ในขั้นวิกฤติ, มักใช้แก่เวลาหรือเหตุการณ์ เป็น วิกฤติกาล หรือ วิกฤติการณ์, อยู่ในระยะหัวเลี้ยวหัวต่อ เช่น มุมวิกฤติ จุดวิกฤติ. (ส.; ป. วิกต, วิกติ). |
วิกฤตการณ์, วิกฤติการณ์ วิกฤตการณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด วิกฤติการณ์ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เหตุการณ์อันวิกฤติ เช่น เกิดวิกฤติการณ์ทางการเมือง. | วิกฤตการณ์, วิกฤติการณ์ น. เหตุการณ์อันวิกฤติ เช่น เกิดวิกฤติการณ์ทางการเมือง. |
วิกฤตกาล, วิกฤติกาล วิกฤตกาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง วิกฤติกาล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง เวลาอันวิกฤติ เช่น ในวิกฤติกาลข้าวของมีราคาแพงและหาซื้อยาก. | วิกฤตกาล, วิกฤติกาล น. เวลาอันวิกฤติ เช่น ในวิกฤติกาลข้าวของมีราคาแพงและหาซื้อยาก. |
วิกล เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง | [วิกน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ปรกติ, แปลกไป, ไม่สมบูรณ์, อ่อนแอ, เช่น รูปร่างวิกล หน้าตาวิกล, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ วิการ เป็น วิกลวิการ เช่น รูปร่างวิกลวิการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วิกล [วิกน] ว. ไม่ปรกติ, แปลกไป, ไม่สมบูรณ์, อ่อนแอ, เช่น รูปร่างวิกล หน้าตาวิกล, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ วิการ เป็น วิกลวิการ เช่น รูปร่างวิกลวิการ. (ป., ส.). |
วิกลจริต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [วิกนจะหฺริด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความประพฤติหรือกิริยาผิดปรกติเพราะสติวิปลาส เช่น เขาเป็นคนวิกลจริต ร้องไห้บ้างหัวเราะบ้างโดยไม่มีสาเหตุ, เป็นบ้า. | วิกลจริต [วิกนจะหฺริด] ว. มีความประพฤติหรือกิริยาผิดปรกติเพราะสติวิปลาส เช่น เขาเป็นคนวิกลจริต ร้องไห้บ้างหัวเราะบ้างโดยไม่มีสาเหตุ, เป็นบ้า. |
วิกสิต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [วิกะสิด] เป็นคำกริยา หมายถึง บาน, แย้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | วิกสิต [วิกะสิด] ก. บาน, แย้ม. (ป., ส.). |
วิกัต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วิกฤต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วิกต เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า. | วิกัต ว. วิกฤต. (ป. วิกต). |
วิกัติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [กัด] เป็นคำนาม หมายถึง ชนิด, อย่าง; การประดิษฐ์ทํา, การจัดทําให้เป็นต่าง ๆ กัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี วิกติ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | วิกัติ [กัด] น. ชนิด, อย่าง; การประดิษฐ์ทํา, การจัดทําให้เป็นต่าง ๆ กัน. (ป. วิกติ). |