ฟ เขียนว่า ฟอ-ฟัน | พยัญชนะตัวที่ ๓๑ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น เสิร์ฟ เนกาทิฟ ไมโครเวฟ. | ฟ พยัญชนะตัวที่ ๓๑ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น เสิร์ฟ เนกาทิฟ ไมโครเวฟ. |
ฟก, ฟกช้ำ ฟก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-กอ-ไก่ ฟกช้ำ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บวมชํ้า, บอบช้ำ. | ฟก, ฟกช้ำ ว. บวมชํ้า, บอบช้ำ. |
ฟกช้ำดำเขียว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บวมชํ้าตามร่างกายเพราะถูกกระทบกระแทกอย่างแรง. | ฟกช้ำดำเขียว ว. บวมชํ้าตามร่างกายเพราะถูกกระทบกระแทกอย่างแรง. |
ฟ้ง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ฟุ้ง. | ฟ้ง (กลอน) ก. ฟุ้ง. |
ฟรักโทส เขียนว่า ฟอ-ฟัน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ | [ฟฺรัก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าตาลชนิดหนึ่ง ประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดคีโทเฮ็กโซส ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว หลอมละลายที่ ๑๐๒°ซ. มีปรากฏในผลไม้สุกที่มีรสหวาน นํ้าผึ้ง นํ้าต้อยของดอกไม้ มีรสหวานมากกว่านํ้าตาลทราย, เลวูโลส ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fructose เขียนว่า เอฟ-อา-ยู-ซี-ที-โอ-เอส-อี. | ฟรักโทส [ฟฺรัก] (วิทยา) น. นํ้าตาลชนิดหนึ่ง ประเภทโมโนแซ็กคาไรด์ ชนิดคีโทเฮ็กโซส ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว หลอมละลายที่ ๑๐๒°ซ. มีปรากฏในผลไม้สุกที่มีรสหวาน นํ้าผึ้ง นํ้าต้อยของดอกไม้ มีรสหวานมากกว่านํ้าตาลทราย, เลวูโลส ก็เรียก. (อ. fructose). |
ฟรี เขียนว่า ฟอ-ฟัน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [ฟฺรี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เสียมูลค่าหรือไม่ได้ค่าตอบแทนใด ๆ เช่น เรียนฟรี ทํางานฟรี; ว่างจากงาน เช่น วันนี้ฟรี; อิสระ เช่น ล้อฟรี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ free เขียนว่า เอฟ-อา-อี-อี. | ฟรี [ฟฺรี] ว. ไม่เสียมูลค่าหรือไม่ได้ค่าตอบแทนใด ๆ เช่น เรียนฟรี ทํางานฟรี; ว่างจากงาน เช่น วันนี้ฟรี; อิสระ เช่น ล้อฟรี. (อ. free). |
ฟรีบาร์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปิดบาร์ให้กินฟรีโดยไม่จํากัด ในคําว่า เปิดฟรีบาร์ (มักใช้แก่การเลี้ยงสุราเมรัย). | ฟรีบาร์ (ปาก) ว. เปิดบาร์ให้กินฟรีโดยไม่จํากัด ในคําว่า เปิดฟรีบาร์ (มักใช้แก่การเลี้ยงสุราเมรัย). |
ฟลูออรีน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๙ สัญลักษณ์ F เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีสมบัติคล้ายคลอรีนแต่ให้ปฏิกิริยาเคมีไวกว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fluorine เขียนว่า เอฟ-แอล-ยู-โอ-อา-ไอ-เอ็น-อี. | ฟลูออรีน น. ธาตุลําดับที่ ๙ สัญลักษณ์ F เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีสมบัติคล้ายคลอรีนแต่ให้ปฏิกิริยาเคมีไวกว่า. (อ. fluorine). |
ฟ่อ, ฟ้อ ๑ ฟ่อ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ฟ้อ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างงูเห่าขู่. | ฟ่อ, ฟ้อ ๑ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างงูเห่าขู่. |
ฟ้อ ๒, ฟ้อแฟ้ ฟ้อ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง ฟ้อแฟ้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพริศพริ้ง, กระชุ่มกระชวย, สดชื่น, เช่น หนุ่มฟ้อ ยังฟ้ออยู่. | ฟ้อ ๒, ฟ้อแฟ้ ว. เพริศพริ้ง, กระชุ่มกระชวย, สดชื่น, เช่น หนุ่มฟ้อ ยังฟ้ออยู่. |
ฟอก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้สะอาดหมดจด เช่น ฟอกผ้า ฟอกจิตใจ. | ฟอก ก. ทําให้สะอาดหมดจด เช่น ฟอกผ้า ฟอกจิตใจ. |
ฟอกน้ำตาล เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเปลือกไข่ใส่ลงไปในขณะเชื่อมน้ำตาล เพื่อให้น้ำเชื่อมใสสะอาด. | ฟอกน้ำตาล ก. เอาเปลือกไข่ใส่ลงไปในขณะเชื่อมน้ำตาล เพื่อให้น้ำเชื่อมใสสะอาด. |
ฟอกผ้า เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสบู่เป็นต้นถูผ้าเพื่อให้สะอาด. | ฟอกผ้า ก. เอาสบู่เป็นต้นถูผ้าเพื่อให้สะอาด. |
ฟอกพยาน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไต่ถามไล่เลียงพยาน. | ฟอกพยาน ก. ไต่ถามไล่เลียงพยาน. |
ฟอกโลหิต เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่แก๊สออกซิเจนซึ่งหายใจเข้าไปแล้วเปลี่ยนเลือดดําเป็นเลือดแดง. | ฟอกโลหิต ก. อาการที่แก๊สออกซิเจนซึ่งหายใจเข้าไปแล้วเปลี่ยนเลือดดําเป็นเลือดแดง. |
ฟอกหนัง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาหนังดิบมาแช่นํ้าแล้วหมักไว้เพื่อทําเป็นหนังฟอก. | ฟอกหนัง ก. เอาหนังดิบมาแช่นํ้าแล้วหมักไว้เพื่อทําเป็นหนังฟอก. |
ฟอง ๑, ฟองน้ำ ๑ ฟอง ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู ฟองน้ำ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ต่อมนํ้าที่ผุดหรือปุดขึ้นเป็นรูปโป่ง ๆ อาจเป็นต่อมเดียว หรือรวมกันเป็นแพก็ได้. | ฟอง ๑, ฟองน้ำ ๑ น. ต่อมนํ้าที่ผุดหรือปุดขึ้นเป็นรูปโป่ง ๆ อาจเป็นต่อมเดียว หรือรวมกันเป็นแพก็ได้. |
ฟองเต้าหู้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของหินยิปซัม เรียกว่า หินฟองเต้าหู้, เกลือจืด ก็ว่า. | ฟองเต้าหู้ ๑ น. ชื่อหนึ่งของหินยิปซัม เรียกว่า หินฟองเต้าหู้, เกลือจืด ก็ว่า. |
ฟองเต้าหู้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ฝ้าหรือเยื่อที่ลอยอยู่บนน้ำเต้าหู้แล้วนำมาตากแห้ง ใช้เป็นอาหาร. | ฟองเต้าหู้ ๒ น. ฝ้าหรือเยื่อที่ลอยอยู่บนน้ำเต้าหู้แล้วนำมาตากแห้ง ใช้เป็นอาหาร. |
ฟองทะเล เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง หินที่ปรุเป็นรู ๆ อยู่ในทะเล. | ฟองทะเล น. หินที่ปรุเป็นรู ๆ อยู่ในทะเล. |
ฟองฟอด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่มีฟองมาก เช่น แกงบูดเป็นฟองฟอด ย่ำน้ำโคลนเป็นฟองฟอด. | ฟองฟอด ว. ลักษณะที่มีฟองมาก เช่น แกงบูดเป็นฟองฟอด ย่ำน้ำโคลนเป็นฟองฟอด. |
ฟอง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ไข่ เช่น ไก่ตกฟอง; ลักษณนามใช้เรียกไข่เป็ดหรือไข่ไก่เป็นต้น เช่น ไข่ฟองหนึ่ง ไข่ ๒ ฟอง. | ฟอง ๒ น. ไข่ เช่น ไก่ตกฟอง; ลักษณนามใช้เรียกไข่เป็ดหรือไข่ไก่เป็นต้น เช่น ไข่ฟองหนึ่ง ไข่ ๒ ฟอง. |
ฟองมัน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปอย่างนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สําหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ตาไก่ ก็เรียก. | ฟองมัน น. ชื่อเครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปอย่างนี้ ๏ ในหนังสือเก่า สําหรับเขียนขึ้นต้นวรรคหรือต้นบรรทัด, ตาไก่ ก็เรียก. |
ฟอง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำกริยา หมายถึง คะนอง, กําเริบ. | ฟอง ๓ ก. คะนอง, กําเริบ. |
ฟองกาม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง กําเริบกาม. | ฟองกาม ก. กําเริบกาม. |
ฟ่อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ลอยสูง เด่น หรืออยู่ตามลำพัง, มักใช้เข้าคู่กับคํา ลอย เป็น ลอยฟ่อง, เช่น หมาตายลอยฟ่อง ลูกโป่งลอยฟ่องอยู่บนท้องฟ้า. | ฟ่อง ว. อาการที่ลอยสูง เด่น หรืออยู่ตามลำพัง, มักใช้เข้าคู่กับคํา ลอย เป็น ลอยฟ่อง, เช่น หมาตายลอยฟ่อง ลูกโป่งลอยฟ่องอยู่บนท้องฟ้า. |
ฟ่องฟู เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง ฟูฟ่อง. | ฟ่องฟู ก. ฟูฟ่อง. |
ฟ้อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวหาหรือกล่าวโทษต่อผู้ใหญ่หรือต่อศาล เช่น ฟ้องครู ฟ้องศาล, แสดงให้รู้ เช่น มีหลักฐานฟ้องอยู่ในตัว; โดยปริยายหมายความว่า ขัดกัน, ไม่ตรงกัน, เช่น ข้อความข้างต้นกับข้างปลายฟ้องกันเอง. เป็นคำนาม หมายถึง คําฟ้อง. | ฟ้อง ก. กล่าวหาหรือกล่าวโทษต่อผู้ใหญ่หรือต่อศาล เช่น ฟ้องครู ฟ้องศาล, แสดงให้รู้ เช่น มีหลักฐานฟ้องอยู่ในตัว; โดยปริยายหมายความว่า ขัดกัน, ไม่ตรงกัน, เช่น ข้อความข้างต้นกับข้างปลายฟ้องกันเอง. น. คําฟ้อง. |
ฟ้องกลับ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ฟ้องให้โจทก์กลับตกเป็นจําเลยในคดีอาญาด้วยเรื่องที่โจทก์ฟ้องมาก่อน เช่น ฟ้องกลับว่าฟ้องเท็จหรือเบิกความเท็จ. | ฟ้องกลับ (ปาก) ก. ฟ้องให้โจทก์กลับตกเป็นจําเลยในคดีอาญาด้วยเรื่องที่โจทก์ฟ้องมาก่อน เช่น ฟ้องกลับว่าฟ้องเท็จหรือเบิกความเท็จ. |
ฟ้องตัวเอง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความผิดของตนออกมาให้ผู้อื่นรู้โดยไม่ได้ตั้งใจ, แสดงความเท็จออกมาให้ปรากฏ. | ฟ้องตัวเอง ก. แสดงความผิดของตนออกมาให้ผู้อื่นรู้โดยไม่ได้ตั้งใจ, แสดงความเท็จออกมาให้ปรากฏ. |
ฟ้องแย้ง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง การที่จําเลยฟ้องโจทก์มาในคําให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคําฟ้องเดิมของโจทก์. เป็นคำนาม หมายถึง คําฟ้องแย้ง. | ฟ้องแย้ง (กฎ) ก. การที่จําเลยฟ้องโจทก์มาในคําให้การในเรื่องที่เกี่ยวกับคําฟ้องเดิมของโจทก์. น. คําฟ้องแย้ง. |
ฟ้องร้อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวโทษ, กล่าวหา. | ฟ้องร้อง ก. กล่าวโทษ, กล่าวหา. |
ฟองน้ำ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๑ | ดู ฟอง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | ฟองน้ำ ๑ ดู ฟอง ๑. |
ฟองน้ำ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัม Porifera มีเนื้อเยื่อ ๒ ชั้นลักษณะเป็นรูพรุน พบทั้งในทะเลและนํ้าจืด ที่พบในนํ้าจืดเรียก ฟองนํ้านํ้าจืด จําพวกที่มีโครงสร้างอ่อนนุ่มซึ่งพบในทะเลนํามาใช้ถูตัวได้, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นรูพรุนอ่อนนุ่ม และซับนํ้าได้ดี. | ฟองน้ำ ๒ น. ชื่อสัตว์นํ้าไม่มีกระดูกสันหลังในไฟลัม Porifera มีเนื้อเยื่อ ๒ ชั้นลักษณะเป็นรูพรุน พบทั้งในทะเลและนํ้าจืด ที่พบในนํ้าจืดเรียก ฟองนํ้านํ้าจืด จําพวกที่มีโครงสร้างอ่อนนุ่มซึ่งพบในทะเลนํามาใช้ถูตัวได้, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่มีลักษณะเป็นรูพรุนอ่อนนุ่ม และซับนํ้าได้ดี. |
ฟอด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง น่วมฟ่ามอยู่ข้างใน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกดินเลนที่ฟูดโป่งขึ้นมา เช่น ฟอดปลาไหล คือ ดินที่โป่งขึ้นมา ซึ่งเป็นที่มีปลาไหล, พรอด ก็ว่า. | ฟอด ก. น่วมฟ่ามอยู่ข้างใน. ว. เสียงดังเช่นนั้น. น. เรียกดินเลนที่ฟูดโป่งขึ้นมา เช่น ฟอดปลาไหล คือ ดินที่โป่งขึ้นมา ซึ่งเป็นที่มีปลาไหล, พรอด ก็ว่า. |
ฟอดแฟด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง น่วมฟ่ามอยู่ข้างใน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงย่ำโคลนดังฟอดแฟด; อาการที่โกรธกระฟัดกระเฟียด. | ฟอดแฟด ก. น่วมฟ่ามอยู่ข้างใน. ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น เสียงย่ำโคลนดังฟอดแฟด; อาการที่โกรธกระฟัดกระเฟียด. |
ฟอน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง บ่อน, กินพรุนข้างใน, พลอนทั่ว, เช่น หนอนฟอนชมพู่; ค้นหา เช่น ฟอนจนทั่ว ฟอนหาของสกปรกกิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ย่อยยับ, แหลก, เช่น ฟันฟอน คือ ฟันให้ยับย่อย ฟันให้แหลก; ที่ไหม้เป็นจุรณ, ที่ไหม้เป็นขี้เถ้า, เช่น กองฟอน. | ฟอน ก. บ่อน, กินพรุนข้างใน, พลอนทั่ว, เช่น หนอนฟอนชมพู่; ค้นหา เช่น ฟอนจนทั่ว ฟอนหาของสกปรกกิน. ว. ย่อยยับ, แหลก, เช่น ฟันฟอน คือ ฟันให้ยับย่อย ฟันให้แหลก; ที่ไหม้เป็นจุรณ, ที่ไหม้เป็นขี้เถ้า, เช่น กองฟอน. |
ฟอนเฟะ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เละเทะ, เป็นที่น่ารังเกียจ, เช่น มีความประพฤติฟอนเฟะ สังคมฟอนเฟะ. | ฟอนเฟะ ว. เละเทะ, เป็นที่น่ารังเกียจ, เช่น มีความประพฤติฟอนเฟะ สังคมฟอนเฟะ. |
ฟ่อน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง หญ้าหรือต้นข้าวจํานวนมากที่เอามารวมกันเป็นมัดใหญ่ ๆ. | ฟ่อน น. หญ้าหรือต้นข้าวจํานวนมากที่เอามารวมกันเป็นมัดใหญ่ ๆ. |
ฟ้อน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง รํา, กราย. | ฟ้อน ก. รํา, กราย. |
ฟ้อนแพน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนลาวแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก. | ฟ้อนแพน น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนลาวแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก. |
ฟ้อนลาวแพน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก. | ฟ้อนลาวแพน น. การจับระบำชนิดหนึ่ง ใช้ผู้แสดงชายหญิงคู่หนึ่งหรือมากกว่า แต่งกายอย่างไทยภาคเหนือ รำออกท่าหยอกเอินประกอบคำร้องและดนตรี, ฟ้อนแพน หรือ รำลาวแพน ก็เรียก. |
ฟอร์มาลดีไฮด์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฮอ-นก-ฮูก-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง แก๊สชนิดหนึ่ง มีสูตร HCHO มีกลิ่นฉุนระคายเยื่อจมูกและเยื่อตา ละลายนํ้าได้ใช้ประโยชน์นําไปทําฟอร์มาลิน พลาสติก สี เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ formaldehyde เขียนว่า เอฟ-โอ-อา-เอ็ม-เอ-แอล-ดี-อี-เอช-วาย-ดี-อี. | ฟอร์มาลดีไฮด์ น. แก๊สชนิดหนึ่ง มีสูตร HCHO มีกลิ่นฉุนระคายเยื่อจมูกและเยื่อตา ละลายนํ้าได้ใช้ประโยชน์นําไปทําฟอร์มาลิน พลาสติก สี เป็นต้น. (อ. formaldehyde). |
ฟอร์มาลิน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สารละลายซึ่งมีแก๊สฟอร์มาลดีไฮด์ละลายอยู่ร้อยละ ๔๐ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรคและดองซากศพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ formalin เขียนว่า เอฟ-โอ-อา-เอ็ม-เอ-แอล-ไอ-เอ็น. | ฟอร์มาลิน น. สารละลายซึ่งมีแก๊สฟอร์มาลดีไฮด์ละลายอยู่ร้อยละ ๔๐ ใช้ประโยชน์เป็นยาล้างเชื้อโรคและดองซากศพ. (อ. formalin). |
ฟอสฟอรัส เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๕ สัญลักษณ์ P เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป อัญรูปที่สําคัญ คือ ฟอสฟอรัสขาว (บางทีก็เรียกว่า ฟอสฟอรัสเหลือง) ลักษณะอ่อนคล้ายขี้ผึ้ง หลอมละลายที่ ๔๔°ซ. ติดไฟง่าย เมื่อกระทบอากาศจะให้แสงเรืองเป็นพิษอย่างแรง, ฟอสฟอรัสแดง ลักษณะเป็นผงสีแดงแกมม่วง เมื่อกระทบอากาศไม่ให้แสงเรือง ติดไฟยาก ไม่เป็นพิษเหมือนฟอสฟอรัสขาว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ phosphorus เขียนว่า พี-เอช-โอ-เอส-พี-เอช-โอ-อา-ยู-เอส. | ฟอสฟอรัส น. ธาตุลําดับที่ ๑๕ สัญลักษณ์ P เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป อัญรูปที่สําคัญ คือ ฟอสฟอรัสขาว (บางทีก็เรียกว่า ฟอสฟอรัสเหลือง) ลักษณะอ่อนคล้ายขี้ผึ้ง หลอมละลายที่ ๔๔°ซ. ติดไฟง่าย เมื่อกระทบอากาศจะให้แสงเรืองเป็นพิษอย่างแรง, ฟอสฟอรัสแดง ลักษณะเป็นผงสีแดงแกมม่วง เมื่อกระทบอากาศไม่ให้แสงเรือง ติดไฟยาก ไม่เป็นพิษเหมือนฟอสฟอรัสขาว. (อ. phosphorus). |
ฟอสเฟต เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง เกลือของกรดฟอสฟอริก (H3PO4) ใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ phosphate เขียนว่า พี-เอช-โอ-เอส-พี-เอช-เอ-ที-อี. | ฟอสเฟต น. เกลือของกรดฟอสฟอริก (H3PO4) ใช้ประโยชน์เป็นปุ๋ย. (อ. phosphate). |
ฟะฟัด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | [กลอน] เป็นคำกริยา หมายถึง ฟัด, ฟาด. | ฟะฟัด [กลอน] ก. ฟัด, ฟาด. |
ฟะฟั่น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฝือ, เฟือน, มากจนเฝือ; มืดมัว; ยุ่งเหยิง;สั่น, สะเทือน. | ฟะฟั่น ว. เฝือ, เฟือน, มากจนเฝือ; มืดมัว; ยุ่งเหยิง;สั่น, สะเทือน. |
ฟะฟ่าย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ-ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฟื้อย, เลื้อย. | ฟะฟ่าย ว. เฟื้อย, เลื้อย. |
ฟัก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Benincasa hispida (Thunb.) Cogn. ในวงศ์ Cucurbitaceae ผลใหญ่รูปกลมหรือรี เมื่อแก่ผิวแข็งมีคราบขาว กินได้ เมล็ดใช้ทํายา มีหลายพันธุ์ ต่างกันที่ลักษณะของผล, พันธุ์ผลเล็ก ผิวบางมีขน เรียก แฟง, พันธุ์ที่ผลมีรสขม ใช้ทํายาได้ เรียก ฟักขม. | ฟัก ๑ น. ชื่อไม้เถาชนิด Benincasa hispida (Thunb.) Cogn. ในวงศ์ Cucurbitaceae ผลใหญ่รูปกลมหรือรี เมื่อแก่ผิวแข็งมีคราบขาว กินได้ เมล็ดใช้ทํายา มีหลายพันธุ์ ต่างกันที่ลักษณะของผล, พันธุ์ผลเล็ก ผิวบางมีขน เรียก แฟง, พันธุ์ที่ผลมีรสขม ใช้ทํายาได้ เรียก ฟักขม. |
ฟักข้าว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng. ในวงศ์ Cucurbitaceae ดอกสีนวล ผลมีหนามสั้น ๆ กินได้และใช้ทํายาได้. | ฟักข้าว น. ชื่อไม้เถาชนิด Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng. ในวงศ์ Cucurbitaceae ดอกสีนวล ผลมีหนามสั้น ๆ กินได้และใช้ทํายาได้. |
ฟักทอง, ฟักเหลือง ฟักทอง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู ฟักเหลือง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Cucurbita moschata (Duchesne) Poir. ในวงศ์ Cucurbitaceae ผลแป้นเป็นพูโดยรอบ เนื้อในสีเหลือง กินได้ เมล็ดใช้ทํายาได้. | ฟักทอง, ฟักเหลือง น. ชื่อไม้เถาชนิด Cucurbita moschata (Duchesne) Poir. ในวงศ์ Cucurbitaceae ผลแป้นเป็นพูโดยรอบ เนื้อในสีเหลือง กินได้ เมล็ดใช้ทํายาได้. |
ฟัก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง กกไข่ให้เป็นตัว, ทําให้ไข่อบอุ่นเพื่อให้เป็นตัว. | ฟัก ๒ ก. กกไข่ให้เป็นตัว, ทําให้ไข่อบอุ่นเพื่อให้เป็นตัว. |
ฟักตัว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ก่อให้เกิดให้เป็นขึ้นอย่างแพร่หลาย. | ฟักตัว ก. ก่อให้เกิดให้เป็นขึ้นอย่างแพร่หลาย. |
ฟักฟูม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทะนุถนอม, ประคับประคอง, ฟูมฟัก ก็ว่า. | ฟักฟูม ก. ทะนุถนอม, ประคับประคอง, ฟูมฟัก ก็ว่า. |
ฟักฟุ้น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อน, นุ่ม. | ฟักฟุ้น ว. อ่อน, นุ่ม. |
ฟัง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ตั้งใจสดับ, คอยรับเสียงด้วยหู, ได้ยิน; เชื่อ, ทําตามถ้อยคํา เช่น ให้ฟังคําสั่งผู้บังคับบัญชา. | ฟัง ก. ตั้งใจสดับ, คอยรับเสียงด้วยหู, ได้ยิน; เชื่อ, ทําตามถ้อยคํา เช่น ให้ฟังคําสั่งผู้บังคับบัญชา. |
ฟังขึ้น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พอจะยึดถือได้ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เหตุผลฟังไม่ขึ้น. | ฟังขึ้น ว. พอจะยึดถือได้ (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เหตุผลฟังไม่ขึ้น. |
ฟังความข้างเดียว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง เชื่อถือแต่ฝ่ายเดียวโดยไม่ฟังความอีกฝ่ายหนึ่ง. | ฟังความข้างเดียว ก. เชื่อถือแต่ฝ่ายเดียวโดยไม่ฟังความอีกฝ่ายหนึ่ง. |
ฟังได้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พอเชื่อถือได้ เช่น ที่พยานให้การมานั้นฟังได้, ไม่ขัดหู เช่น เพลงไพเราะพอฟังได้. | ฟังได้ ว. พอเชื่อถือได้ เช่น ที่พยานให้การมานั้นฟังได้, ไม่ขัดหู เช่น เพลงไพเราะพอฟังได้. |
ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อหรือทําผิด ๆ พลาด ๆ. | ฟังไม่ได้ศัพท์ จับไปกระเดียด (สำ) ก. ฟังไม่ได้ความแจ่มชัด แล้วเอาไปพูดต่อหรือทําผิด ๆ พลาด ๆ. |
ฟังหูไว้หู เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง รับฟังไว้แต่ไม่เชื่อทั้งหมด. | ฟังหูไว้หู ก. รับฟังไว้แต่ไม่เชื่อทั้งหมด. |
ฟังออก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าใจ, รู้เรื่อง. | ฟังออก ก. เข้าใจ, รู้เรื่อง. |
ฟังก์ชัน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เซตของคู่ลําดับโดยที่คู่ลําดับทุกคู่ไม่มีสมาชิกตัวหน้าซํ้ากัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ function เขียนว่า เอฟ-ยู-เอ็น-ซี-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | ฟังก์ชัน (คณิต) น. เซตของคู่ลําดับโดยที่คู่ลําดับทุกคู่ไม่มีสมาชิกตัวหน้าซํ้ากัน. (อ. function). |
ฟัด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กัดเหวี่ยงหรือสะบัดไปมา เช่น ถูกหมาฟัด แมวฟัดหนู, เหวี่ยง เช่น ถูกรถฟัดเสียสะบักสะบอม; ต่อสู้ เช่น เด็กฟัดกัน; กระทบ เช่น ท้ายเรือฟัดกัน นมยานฟัดกัน; คล้องจองกัน, สัมผัสกัน, เช่น กลอนฟัดกัน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกกุ้งแห้งที่เอาเปลือกออกแล้ว ว่า กุ้งฟัด, กุ้งฝัด ก็ว่า. | ฟัด ก. กัดเหวี่ยงหรือสะบัดไปมา เช่น ถูกหมาฟัด แมวฟัดหนู, เหวี่ยง เช่น ถูกรถฟัดเสียสะบักสะบอม; ต่อสู้ เช่น เด็กฟัดกัน; กระทบ เช่น ท้ายเรือฟัดกัน นมยานฟัดกัน; คล้องจองกัน, สัมผัสกัน, เช่น กลอนฟัดกัน. ว. เรียกกุ้งแห้งที่เอาเปลือกออกแล้ว ว่า กุ้งฟัด, กุ้งฝัด ก็ว่า. |
ฟัดเฟียด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระฟัดกระเฟียด, อาการที่ทําโกรธสะบัดกระฟัดกระเฟียด. | ฟัดเฟียด ว. กระฟัดกระเฟียด, อาการที่ทําโกรธสะบัดกระฟัดกระเฟียด. |
ฟัน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของมีคมเช่นดาบฟาดลงไป, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เอาสันมือฟันอิฐ. | ฟัน ๑ ก. เอาของมีคมเช่นดาบฟาดลงไป, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เอาสันมือฟันอิฐ. |
ฟันคลื่น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง แล่นเอาหัวเรือตัดคลื่นไป. | ฟันคลื่น ก. แล่นเอาหัวเรือตัดคลื่นไป. |
ฟันดาบ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง การต่อสู้กันด้วยดาบ เช่น เขาเก่งในทางฟันดาบ. | ฟันดาบ น. การต่อสู้กันด้วยดาบ เช่น เขาเก่งในทางฟันดาบ. |
ฟันฝ่า เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง บุกตะลุยสิ่งที่ต้านทานเข้าไป, ผจญสิ่งที่ขัดขวาง. | ฟันฝ่า ก. บุกตะลุยสิ่งที่ต้านทานเข้าไป, ผจญสิ่งที่ขัดขวาง. |
ฟัน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกเป็นซี่ ๆ อยู่ในปากสําหรับกัด ฉีกเคี้ยวอาหาร, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฟันเลื่อย ฟันจักร. | ฟัน ๒ น. กระดูกเป็นซี่ ๆ อยู่ในปากสําหรับกัด ฉีกเคี้ยวอาหาร, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฟันเลื่อย ฟันจักร. |
ฟันถาวร, ฟันแท้ ฟันถาวร เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ ฟันแท้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ฟันชุดที่ ๒ ซึ่งขึ้นภายหลังฟันนํ้านม. | ฟันถาวร, ฟันแท้ น. ฟันชุดที่ ๒ ซึ่งขึ้นภายหลังฟันนํ้านม. |
ฟันน้ำนม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ฟันชุดแรก. | ฟันน้ำนม น. ฟันชุดแรก. |
ฟันปลา เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสิ่งที่มีรูปอย่างฟันปลา, เรียกลักษณะที่สับหว่างสลับเยื้องกันอย่างฟันปลาว่า สลับฟันปลา เช่น นั่งสลับฟันปลา ยืนสลับฟันปลา; ลายคดกริช รูปดังนี้ (รูปภาพ) เรียก ลายฟันปลา, ลายฟันเลื่อย ก็เรียก. | ฟันปลา น. เรียกสิ่งที่มีรูปอย่างฟันปลา, เรียกลักษณะที่สับหว่างสลับเยื้องกันอย่างฟันปลาว่า สลับฟันปลา เช่น นั่งสลับฟันปลา ยืนสลับฟันปลา; ลายคดกริช รูปดังนี้ (รูปภาพ) เรียก ลายฟันปลา, ลายฟันเลื่อย ก็เรียก. |
ฟันฟาง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ฟาง, ฟันที่เข้าใจว่าขึ้นแทนฟันแท้ที่หักไป, ฟัน เช่น ฟันฟางไม่ค่อยดี กินของเหนียวของแข็งไม่ได้. | ฟันฟาง น. ฟาง, ฟันที่เข้าใจว่าขึ้นแทนฟันแท้ที่หักไป, ฟัน เช่น ฟันฟางไม่ค่อยดี กินของเหนียวของแข็งไม่ได้. |
ฟันเฟือง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ล้อหรือวงจักรที่มีซี่โดยรอบ. | ฟันเฟือง น. ล้อหรือวงจักรที่มีซี่โดยรอบ. |
ฟันม้า เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีหลายสี ส่วนมากมักมีสีขาวขุ่นคล้ายฟันม้า ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า หินฟันม้า. ในวงเล็บ ดู เฟลด์สปาร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด. | ฟันม้า น. ชื่อแร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีหลายสี ส่วนมากมักมีสีขาวขุ่นคล้ายฟันม้า ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า หินฟันม้า. (ดู เฟลด์สปาร์). |
ฟันเลื่อย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ลายคดกริชอย่างลายฟันปลา. | ฟันเลื่อย น. ลายคดกริชอย่างลายฟันปลา. |
ฟันหนู เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องหมาย ๒ ขีด รูปดังนี้ " สําหรับเขียนบนสระ ิ ให้เป็น สระ ื, มูสิกทันต์ ก็ว่า. | ฟันหนู น. ชื่อเครื่องหมาย ๒ ขีด รูปดังนี้ " สําหรับเขียนบนสระ ิ ให้เป็น สระ ื, มูสิกทันต์ ก็ว่า. |
ฟันหลอ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ฟันที่มีช่องว่างระหว่างฟันซึ่งเกิดจากฟันหลุด กร่อน หรือหักจนถึงโคนฟัน เป็นต้น. | ฟันหลอ น. ฟันที่มีช่องว่างระหว่างฟันซึ่งเกิดจากฟันหลุด กร่อน หรือหักจนถึงโคนฟัน เป็นต้น. |
ฟั่น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง คลึงสิ่งเป็นเส้นหลายเส้นให้เข้าเกลียวกัน เช่น ฟั่นด้าย, นำป่านหรือปอเป็นต้นมาตีเกลียวให้เป็นเชือก เรียกว่า ฟั่นเชือก, คลึงขี้ผึ้งที่มีไส้อยู่ภายในให้เป็นเล่มเทียน เรียกว่า ฟั่นเทียน. | ฟั่น ๑ ก. คลึงสิ่งเป็นเส้นหลายเส้นให้เข้าเกลียวกัน เช่น ฟั่นด้าย, นำป่านหรือปอเป็นต้นมาตีเกลียวให้เป็นเชือก เรียกว่า ฟั่นเชือก, คลึงขี้ผึ้งที่มีไส้อยู่ภายในให้เป็นเล่มเทียน เรียกว่า ฟั่นเทียน. |
ฟั่น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง มืดมัว, ยุ่งเหยิง, ปะปน. | ฟั่น ๒ ก. มืดมัว, ยุ่งเหยิง, ปะปน. |
ฟั่นเฝือ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รกชัฏ, ยุ่งเหยิง, ปนคละกันยุ่ง, เคลือบคลุม เช่น สำนวนฟั่นเฝือ. | ฟั่นเฝือ ว. รกชัฏ, ยุ่งเหยิง, ปนคละกันยุ่ง, เคลือบคลุม เช่น สำนวนฟั่นเฝือ. |
ฟั่นเฟือน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลงใหล, เคลิบเคลิ้ม, เผลอสติ, คุ้มดีคุ้มร้าย, เช่น มีสติฟั่นเฟือน จิตใจฟั่นเฟือน. | ฟั่นเฟือน ว. หลงใหล, เคลิบเคลิ้ม, เผลอสติ, คุ้มดีคุ้มร้าย, เช่น มีสติฟั่นเฟือน จิตใจฟั่นเฟือน. |
ฟั้น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง นวด, ขยํา. | ฟั้น ก. นวด, ขยํา. |
ฟันช้าง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ดู งาช้าง เขียนว่า งอ-งู-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒. | ฟันช้าง ดู งาช้าง ๒. |
ฟ้า เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนเบื้องบนที่มองเห็นครอบแผ่นดินอยู่ เช่น ดาวเต็มฟ้า, อากาศ เช่น ฟ้าครึ้ม ยิงปืนขึ้นฟ้า; สวรรค์ เช่น นางฟ้า ฟ้าดินเป็นพยาน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง เจ้าฟ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีน้ำเงินอ่อนอย่างสีท้องฟ้าในเวลามีแดด เรียกว่า สีฟ้า. | ฟ้า น. ส่วนเบื้องบนที่มองเห็นครอบแผ่นดินอยู่ เช่น ดาวเต็มฟ้า, อากาศ เช่น ฟ้าครึ้ม ยิงปืนขึ้นฟ้า; สวรรค์ เช่น นางฟ้า ฟ้าดินเป็นพยาน; (กลอน) เจ้าฟ้า. ว. สีน้ำเงินอ่อนอย่างสีท้องฟ้าในเวลามีแดด เรียกว่า สีฟ้า. |
ฟ้าคะนอง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้าลั่นติดต่อกัน. | ฟ้าคะนอง น. ฟ้าลั่นติดต่อกัน. |
ฟ้าเคืองสันหลัง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เคราะห์กรรมหรือโทษทัณฑ์ร้ายแรงที่เกิดจากอํานาจเบื้องบนหรือผู้ปกครอง เช่น ต่อฟ้าเคืองสันหลังจึงรําพัน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑. | ฟ้าเคืองสันหลัง (สำ) น. เคราะห์กรรมหรือโทษทัณฑ์ร้ายแรงที่เกิดจากอํานาจเบื้องบนหรือผู้ปกครอง เช่น ต่อฟ้าเคืองสันหลังจึงรําพัน. (ขุนช้างขุนแผน). |
ฟ้าผ่า เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เกิดพลังงานสูงมากจนสามารถทําลายสิ่งที่กีดขวาง เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ บ้านเรือน; โดยปริยายหมายความว่า คําสั่งด่วนที่ออกมาโดยไม่คาดหมายและไม่รู้เหตุผล. | ฟ้าผ่า น. ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ระหว่างเมฆกับพื้นโลก เกิดพลังงานสูงมากจนสามารถทําลายสิ่งที่กีดขวาง เช่น คน สัตว์ ต้นไม้ บ้านเรือน; โดยปริยายหมายความว่า คําสั่งด่วนที่ออกมาโดยไม่คาดหมายและไม่รู้เหตุผล. |
ฟ้าไม่กระเทือนสันหลัง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง อํานาจเบื้องบนหรือผู้ปกครองยังไม่ลงโทษทัณฑ์ ใช้ในสํานวนว่า ถ้าฟ้าไม่กระเทือนสันหลังก็ยังไม่รู้สึก. | ฟ้าไม่กระเทือนสันหลัง (สำ) น. อํานาจเบื้องบนหรือผู้ปกครองยังไม่ลงโทษทัณฑ์ ใช้ในสํานวนว่า ถ้าฟ้าไม่กระเทือนสันหลังก็ยังไม่รู้สึก. |
ฟ้าร้อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศขยายตัวเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพราะความร้อนที่เกิดจากฟ้าแลบ. | ฟ้าร้อง น. เสียงที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศขยายตัวเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพราะความร้อนที่เกิดจากฟ้าแลบ. |
ฟ้าแลบ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง แสงที่เกิดวาบขึ้นในท้องฟ้าลักษณะเป็นเส้นหรือแผ่น เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ผ่านอากาศเป็นเหตุให้เกิดความร้อนสูงมากจนปรากฏเป็นแสงสว่างวาบขึ้น. | ฟ้าแลบ น. แสงที่เกิดวาบขึ้นในท้องฟ้าลักษณะเป็นเส้นหรือแผ่น เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนจํานวนมากเคลื่อนที่ผ่านอากาศเป็นเหตุให้เกิดความร้อนสูงมากจนปรากฏเป็นแสงสว่างวาบขึ้น. |
ฟ้าหลัว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง อากาศมัวเนื่องจากในอากาศขณะนั้นมีอนุภาคที่มองไม่เห็น เช่น เกลือจากทะเล ควันไฟ ฝุ่นละอองปะปนอยู่เป็นจํานวนมาก. | ฟ้าหลัว น. อากาศมัวเนื่องจากในอากาศขณะนั้นมีอนุภาคที่มองไม่เห็น เช่น เกลือจากทะเล ควันไฟ ฝุ่นละอองปะปนอยู่เป็นจํานวนมาก. |
ฟาก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ลำไม้ไผ่เป็นต้นที่ผ่าแล้วสับให้แตกออกเป็นอันเล็ก ๆ แต่ไม่ขาดจากกัน แล้วแบคว่ำออกเป็นแผ่น โดยมากใช้ปูเป็นพื้นเรือน เรียกว่า ฟากสับ, ส่วนที่ทำเป็นซี่แล้วใช้หวายหรือเถาวัลย์ถักให้ติดกันเป็นผืน เรียกว่าฟากซี่ หรือ ซี่ฟาก. | ฟาก ๑ น. ลำไม้ไผ่เป็นต้นที่ผ่าแล้วสับให้แตกออกเป็นอันเล็ก ๆ แต่ไม่ขาดจากกัน แล้วแบคว่ำออกเป็นแผ่น โดยมากใช้ปูเป็นพื้นเรือน เรียกว่า ฟากสับ, ส่วนที่ทำเป็นซี่แล้วใช้หวายหรือเถาวัลย์ถักให้ติดกันเป็นผืน เรียกว่าฟากซี่ หรือ ซี่ฟาก. |
ฟาก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ฝั่ง, ข้าง, เช่น อยู่ฟากนี้ เรือข้ามฟาก ฟากฟ้า. | ฟาก ๒ น. ฝั่ง, ข้าง, เช่น อยู่ฟากนี้ เรือข้ามฟาก ฟากฟ้า. |
ฟาง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ต้นข้าวที่เกี่ยว นวด หรือฟาดเอาเมล็ดออกแล้ว. | ฟาง ๑ น. ต้นข้าวที่เกี่ยว นวด หรือฟาดเอาเมล็ดออกแล้ว. |
ฟางลอย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง นาป่าที่เจ้าของได้เสียค่านาตามเนื้อที่ที่ได้ปลูกข้าว เรียกว่า นาฟางลอย, ผิดกับนาคู่โค ซึ่งต้องเสียค่านาเต็มตามโฉนด. | ฟางลอย น. นาป่าที่เจ้าของได้เสียค่านาตามเนื้อที่ที่ได้ปลูกข้าว เรียกว่า นาฟางลอย, ผิดกับนาคู่โค ซึ่งต้องเสียค่านาเต็มตามโฉนด. |
ฟาง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ฟันที่เข้าใจว่าขึ้นแทนฟันแท้ที่หักไป, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฟัน เป็น ฟันฟาง. | ฟาง ๒ น. ฟันที่เข้าใจว่าขึ้นแทนฟันแท้ที่หักไป, มักใช้เข้าคู่กับคำ ฟัน เป็น ฟันฟาง. |
ฟาง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เห็นไม่ถนัด, ทำให้เห็นไม่ถนัด, เช่น ตาฟาง. | ฟาง ๓ ว. เห็นไม่ถนัด, ทำให้เห็นไม่ถนัด, เช่น ตาฟาง. |
ฟ่าง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวฟ่าง. ในวงเล็บ ดู ข้าวฟ่าง เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ที่ ข้าว เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | ฟ่าง น. ข้าวฟ่าง. (ดู ข้าวฟ่าง ที่ ข้าว). |
ฟาด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง หวด, เหวี่ยง, เช่น ฟาดด้วยไม้เรียว ฟาดผ้า จระเข้ฟาดหาง; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง กินอย่างเต็มที่ เช่น ฟาดข้าวเสีย ๓ ชาม. | ฟาด ก. หวด, เหวี่ยง, เช่น ฟาดด้วยไม้เรียว ฟาดผ้า จระเข้ฟาดหาง; (ปาก) กินอย่างเต็มที่ เช่น ฟาดข้าวเสีย ๓ ชาม. |
ฟาดเคราะห์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําพิธีปัดสิ่งชั่วร้ายให้ไปจากตัว, สละสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เคราะห์สูญหายไป; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ตัดใจยอมเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปเพื่อให้หมดเคราะห์ หรือตัดใจคิดว่าสิ่งที่เสียไปแล้วเป็นการทำให้หมดเคราะห์ ในความเช่น นึกว่าฟาดเคราะห์. | ฟาดเคราะห์ ก. ทําพิธีปัดสิ่งชั่วร้ายให้ไปจากตัว, สละสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เคราะห์สูญหายไป; (ปาก) ตัดใจยอมเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปเพื่อให้หมดเคราะห์ หรือตัดใจคิดว่าสิ่งที่เสียไปแล้วเป็นการทำให้หมดเคราะห์ ในความเช่น นึกว่าฟาดเคราะห์. |
ฟาดหัว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ให้เพื่อตัดความรําคาญเป็นต้น, ให้เพราะดูถูก, เช่น เอาเงินฟาดหัวไป. | ฟาดหัว (ปาก) ก. ให้เพื่อตัดความรําคาญเป็นต้น, ให้เพราะดูถูก, เช่น เอาเงินฟาดหัวไป. |
ฟาดหัวฟาดหาง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาละวาด. | ฟาดหัวฟาดหาง ก. อาละวาด. |
ฟาทอม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดระยะทาง เท่ากับ ๖ ฟุต หรือ ๑.๘ เมตร มักนิยมใช้วัดความลึกของทะเล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fathom เขียนว่า เอฟ-เอ-ที-เอช-โอ-เอ็ม. | ฟาทอม น. มาตราวัดระยะทาง เท่ากับ ๖ ฟุต หรือ ๑.๘ เมตร มักนิยมใช้วัดความลึกของทะเล. (อ. fathom). |
ฟาน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ดู เก้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู. | ฟาน ดู เก้ง. |
ฟ้าฝ่อ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง พระพ่อ, ผู้เป็นใหญ่, เจ้าเมือง. (กะเหรี่ยง). | ฟ้าฝ่อ น. พระพ่อ, ผู้เป็นใหญ่, เจ้าเมือง. (กะเหรี่ยง). |
ฟ่าม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฟุ, ไม่แน่นเพราะแก่เกินกำหนด, (มักใช้แก่ผลไม้) เช่น ส้มเนื้อฟ่าม. | ฟ่าม ว. ฟุ, ไม่แน่นเพราะแก่เกินกำหนด, (มักใช้แก่ผลไม้) เช่น ส้มเนื้อฟ่าม. |
ฟ้ามุ่ย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกล้วยไม้ชนิด Vanda coerulea Griff. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกสีฟ้าอมม่วง กลิ่นหอมอ่อน. | ฟ้ามุ่ย น. ชื่อกล้วยไม้ชนิด Vanda coerulea Griff. ในวงศ์ Orchidaceae ดอกสีฟ้าอมม่วง กลิ่นหอมอ่อน. |
ฟาย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาอุ้งมือตัก. | ฟาย ก. เอาอุ้งมือตัก. |
ฟายน้ำตา เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือเช็ดน้ำตาที่อาบหน้าอยู่. | ฟายน้ำตา ก. เอามือเช็ดน้ำตาที่อาบหน้าอยู่. |
ฟายมือ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เต็มอุ้งมือ, เรียกของที่เต็มฝ่ามือที่ห่อเข้าว่า ฟายมือหนึ่ง. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราตวง ๘ ฟายมือ เป็น ๑ ทะนาน. | ฟายมือ ว. เต็มอุ้งมือ, เรียกของที่เต็มฝ่ามือที่ห่อเข้าว่า ฟายมือหนึ่ง. น. ชื่อมาตราตวง ๘ ฟายมือ เป็น ๑ ทะนาน. |
ฟาร์ม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง อาณาบริเวณที่ใช้ทําการเกษตรกรรม มีเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เช่น ทำฟาร์มปลูกข้าวโพดข้าวฟ่างเลี้ยงไก่เลี้ยงปลาเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ farm เขียนว่า เอฟ-เอ-อา-เอ็ม. | ฟาร์ม น. อาณาบริเวณที่ใช้ทําการเกษตรกรรม มีเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เช่น ทำฟาร์มปลูกข้าวโพดข้าวฟ่างเลี้ยงไก่เลี้ยงปลาเป็นต้น. (อ. farm). |
ฟาสซิสต์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิการเมืองที่ผู้นํารวบอํานาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวกับลัทธิฟาสซิสต์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fascism เขียนว่า เอฟ-เอ-เอส-ซี-ไอ-เอส-เอ็ม fascist เขียนว่า เอฟ-เอ-เอส-ซี-ไอ-เอส-ที . | ฟาสซิสต์ น. ลัทธิการเมืองที่ผู้นํารวบอํานาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น. ว. เกี่ยวกับลัทธิฟาสซิสต์. (อ. fascism, fascist). |
ฟิด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงจาม. | ฟิด ว. เสียงอย่างเสียงจาม. |
ฟิต เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คับจนรัดรูป เช่น เสื้อฟิต กางเกงฟิต; แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า, เช่น ร่างกายกำลังฟิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fit เขียนว่า เอฟ-ไอ-ที. เป็นคำกริยา หมายถึง ฝึกซ้อม เช่น ฟิตเต็มที่. | ฟิต ว. คับจนรัดรูป เช่น เสื้อฟิต กางเกงฟิต; แข็งแรง, กระปรี้กระเปร่า, เช่น ร่างกายกำลังฟิต. (อ. fit). ก. ฝึกซ้อม เช่น ฟิตเต็มที่. |
ฟิตเครื่อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ปรับเครื่องยนต์ให้กระชับหรืออยู่ในสภาพปรกติ, เรียกช่างแก้เครื่องยนต์ว่า ช่างฟิต. | ฟิตเครื่อง ก. ปรับเครื่องยนต์ให้กระชับหรืออยู่ในสภาพปรกติ, เรียกช่างแก้เครื่องยนต์ว่า ช่างฟิต. |
ฟิบ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ปลายจมูกแฟบลงเล็กน้อย. | ฟิบ ว. อาการที่ปลายจมูกแฟบลงเล็กน้อย. |
ฟิล์ม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า | [ฟิม] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นวัตถุบางประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สําหรับถ่ายรูป ถ่ายภาพยนตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ film เขียนว่า เอฟ-ไอ-แอล-เอ็ม. | ฟิล์ม [ฟิม] น. แผ่นวัตถุบางประเภทพลาสติกชนิดหนึ่ง ฉาบผิวด้วยสารเคมีที่ไวต่อแสง ใช้สําหรับถ่ายรูป ถ่ายภาพยนตร์. (อ. film). |
ฟิวส์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นโลหะเจือที่มีขีดหลอมตัวตํ่า เช่น โลหะดีบุกเจือตะกั่ว ใช้ต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าเพื่อป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้าที่มีขนาดเกินกําหนดเคลื่อนที่เข้าวงจรไฟฟ้าได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fuse เขียนว่า เอฟ-ยู-เอส-อี. | ฟิวส์ น. อุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ลักษณะเป็นโลหะเจือที่มีขีดหลอมตัวตํ่า เช่น โลหะดีบุกเจือตะกั่ว ใช้ต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าเพื่อป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้าที่มีขนาดเกินกําหนดเคลื่อนที่เข้าวงจรไฟฟ้าได้. (อ. fuse). |
ฟิสิกส์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่าง ๆ และพลังงาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ physics เขียนว่า พี-เอช-วาย-เอส-ไอ-ซี-เอส. | ฟิสิกส์ น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่งซึ่งกล่าวถึงสมบัติทางกายภาพของสารต่าง ๆ และพลังงาน. (อ. physics). |
ฟี่, ฟี้ ฟี่ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ฟี้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงลมรั่วออกจากที่อัดลมไว้ เช่น เสียงปล่อยลมดังฟี้ นอนกรนฟี้. | ฟี่, ฟี้ ว. เสียงอย่างเสียงลมรั่วออกจากที่อัดลมไว้ เช่น เสียงปล่อยลมดังฟี้ นอนกรนฟี้. |
ฟีก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง แฝง; อิง; หลีก. | ฟีก (โบ) ก. แฝง; อิง; หลีก. |
ฟืดฟาด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงหายใจแรง ๆ เวลาเหนื่อยมาก ๆ, ฟูดฟาด ก็ว่า. | ฟืดฟาด ว. เสียงอย่างเสียงหายใจแรง ๆ เวลาเหนื่อยมาก ๆ, ฟูดฟาด ก็ว่า. |
ฟืน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับใช้เป็นเชื้อไฟ, ลักษณนามเรียกตามลักษณะ เช่น ดุ้น อัน ท่อน ชิ้น. | ฟืน น. ไม้สําหรับใช้เป็นเชื้อไฟ, ลักษณนามเรียกตามลักษณะ เช่น ดุ้น อัน ท่อน ชิ้น. |
ฟื้น เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง กลับคืนมาใหม่ เช่น ฟื้นความทรงจํา ฟื้นสติ, คืนความรู้สึก เช่น ฟื้นจากสลบ, พลิกกลับขึ้นมา เช่น ฟื้นดิน; ถอนขึ้น เช่น ฟื้นมัน. | ฟื้น ก. กลับคืนมาใหม่ เช่น ฟื้นความทรงจํา ฟื้นสติ, คืนความรู้สึก เช่น ฟื้นจากสลบ, พลิกกลับขึ้นมา เช่น ฟื้นดิน; ถอนขึ้น เช่น ฟื้นมัน. |
ฟื้นไข้ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง หายไข้ใหม่ ๆ, เพิ่งจะหายไข้. | ฟื้นไข้ ก. หายไข้ใหม่ ๆ, เพิ่งจะหายไข้. |
ฟื้นตัว เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง กลับมีฐานะดีขึ้น. | ฟื้นตัว ก. กลับมีฐานะดีขึ้น. |
ฟื้นฝอย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง คุ้ยเขี่ยหาความที่ควรจะสงบแล้วให้กลับเกิดเป็นเรื่องขึ้นมาอีก, มักใช้ว่า ฟื้นฝอยหาตะเข็บ. | ฟื้นฝอย ก. คุ้ยเขี่ยหาความที่ควรจะสงบแล้วให้กลับเกิดเป็นเรื่องขึ้นมาอีก, มักใช้ว่า ฟื้นฝอยหาตะเข็บ. |
ฟื้นฟู เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้กลับเจริญงอกงามขึ้นมาใหม่ เช่น ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย ฟื้นฟูการละเล่นของไทย. | ฟื้นฟู ก. ทําให้กลับเจริญงอกงามขึ้นมาใหม่ เช่น ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย ฟื้นฟูการละเล่นของไทย. |
ฟื้นองค์ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตื่น (ใช้แก่พระมหากษัตริย์). | ฟื้นองค์ (กลอน) ก. ตื่น (ใช้แก่พระมหากษัตริย์). |
ฟืม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับทอผ้า มีฟันเป็นซี่ ๆ คล้ายหวี สําหรับสอดเส้นด้ายหรือไหมใช้กระทกให้ประสานกัน. | ฟืม น. เครื่องสําหรับทอผ้า มีฟันเป็นซี่ ๆ คล้ายหวี สําหรับสอดเส้นด้ายหรือไหมใช้กระทกให้ประสานกัน. |
ฟุ, ฟุ ๆ ฟุ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ ฟุ ๆ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉุ, น่วม ๆ, ไม่แน่น, เช่น แอปเปิลเนื้อฟุ ขนมถ้วยฟู (แบบจีน) เนื้อฟุ. | ฟุ, ฟุ ๆ ว. ฉุ, น่วม ๆ, ไม่แน่น, เช่น แอปเปิลเนื้อฟุ ขนมถ้วยฟู (แบบจีน) เนื้อฟุ. |
ฟุ้ง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ตลบไป เช่น หอมฟุ้ง กลิ่นฟุ้ง, ปลิวไป, กระจายไป, เช่น ฝุ่นฟุ้ง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากเกินควร (ใช้แก่กริยาคุย) เช่น คุยฟุ้ง. | ฟุ้ง ก. ตลบไป เช่น หอมฟุ้ง กลิ่นฟุ้ง, ปลิวไป, กระจายไป, เช่น ฝุ่นฟุ้ง. ว. มากเกินควร (ใช้แก่กริยาคุย) เช่น คุยฟุ้ง. |
ฟุ้งซ่าน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่สงบ, พล่านไป, ส่ายไป, (ใช้แก่จิต). | ฟุ้งซ่าน ก. ไม่สงบ, พล่านไป, ส่ายไป, (ใช้แก่จิต). |
ฟุ้งเฟ้อ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คะนอง, ได้ใจ, เห่อเหิม; ใช้จ่ายเกินควรเกินฐานะ, ใช้จ่ายในสิ่งที่ไม่สมควร. | ฟุ้งเฟ้อ ว. คะนอง, ได้ใจ, เห่อเหิม; ใช้จ่ายเกินควรเกินฐานะ, ใช้จ่ายในสิ่งที่ไม่สมควร. |
ฟุ้งเฟื่อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ขจรไป, แพร่หลาย, (ใช้แก่เกียรติคุณ), เฟื่องฟุ้ง ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เชี่ยวชาญ, ชํานิชํานาญ, (ใช้แก่สติปัญญา), เฟื่องฟุ้ง ก็ว่า. | ฟุ้งเฟื่อง ก. ขจรไป, แพร่หลาย, (ใช้แก่เกียรติคุณ), เฟื่องฟุ้ง ก็ว่า. ว. เชี่ยวชาญ, ชํานิชํานาญ, (ใช้แก่สติปัญญา), เฟื่องฟุ้ง ก็ว่า. |
ฟุต เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง มาตราวัดของอังกฤษ ๑ ฟุต เท่ากับ ๑๒ นิ้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ foot เขียนว่า เอฟ-โอ-โอ-ที. | ฟุต น. มาตราวัดของอังกฤษ ๑ ฟุต เท่ากับ ๑๒ นิ้ว. (อ. foot). |
ฟุตบอล เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๑๑ คน รวมทั้งผู้รักษาประตู ผู้เล่นแต่ละฝ่ายต้องเตะลูกบอลให้เข้าประตูของฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ได้ประตูมากกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ, เรียกลูกกลมทำด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น หนัง ยาง พลาสติก ภายในมีลมอัด ใช้ในการเล่นฟุตบอล ว่า ลูกฟุตบอล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ football เขียนว่า เอฟ-โอ-โอ-ที-บี-เอ-แอล-แอล. | ฟุตบอล น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๑๑ คน รวมทั้งผู้รักษาประตู ผู้เล่นแต่ละฝ่ายต้องเตะลูกบอลให้เข้าประตูของฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ได้ประตูมากกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ, เรียกลูกกลมทำด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น หนัง ยาง พลาสติก ภายในมีลมอัด ใช้ในการเล่นฟุตบอล ว่า ลูกฟุตบอล. (อ. football). |
ฟุน เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ลุกฮือ (ใช้แก่ไฟ), โกรธเป็นไฟ, มักใช้เข้าคู่กับคํา ไฟ เป็น ฟุนไฟ หรือ ไฟฟุน. | ฟุน ก. ลุกฮือ (ใช้แก่ไฟ), โกรธเป็นไฟ, มักใช้เข้าคู่กับคํา ไฟ เป็น ฟุนไฟ หรือ ไฟฟุน. |
ฟุบ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง หมอบลง, ยอบลง, เช่น ฟุบตัวลงกราบ เป็นลมฟุบไป, ยุบลงอย่างจมูกยุบ; ลักษณะที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีน้อย ทำให้สินค้าราคาตก เรียกว่า เงินฟุบ, ตรงข้ามกับ เงินเฟ้อ. | ฟุบ ก. หมอบลง, ยอบลง, เช่น ฟุบตัวลงกราบ เป็นลมฟุบไป, ยุบลงอย่างจมูกยุบ; ลักษณะที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีน้อย ทำให้สินค้าราคาตก เรียกว่า เงินฟุบ, ตรงข้ามกับ เงินเฟ้อ. |
ฟุ่บ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างเสียงดินปืนที่จุดแล้วลุกไหม้ทันทีทันใด. | ฟุ่บ ว. เสียงดังอย่างเสียงดินปืนที่จุดแล้วลุกไหม้ทันทีทันใด. |
ฟุฟะ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แน่น, พอง ๆ เช่น เสื้อติดระบายฟุฟะ. | ฟุฟะ ว. ไม่แน่น, พอง ๆ เช่น เสื้อติดระบายฟุฟะ. |
ฟุ่มเฟือย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สุรุ่ยสุร่าย, ใช้จ่ายโดยไม่คำนึงถึงความสิ้นเปลือง, เกินความจำเป็น เช่น ใช้ถ้อยคำฟุ่มเฟือย. | ฟุ่มเฟือย ว. สุรุ่ยสุร่าย, ใช้จ่ายโดยไม่คำนึงถึงความสิ้นเปลือง, เกินความจำเป็น เช่น ใช้ถ้อยคำฟุ่มเฟือย. |
ฟุลสแก๊ป เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-ปอ-ปลา | [ฟุนสะ] เป็นคำนาม หมายถึง กระดาษสีขาว มีเส้นบรรทัด ขนาดประมาณ ๔๓ x ๓๔ เซนติเมตร พับทบกลางใช้สําหรับเขียนหนังสือเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ foolscap เขียนว่า เอฟ-โอ-โอ-แอล-เอส-ซี-เอ-พี. | ฟุลสแก๊ป [ฟุนสะ] น. กระดาษสีขาว มีเส้นบรรทัด ขนาดประมาณ ๔๓ x ๓๔ เซนติเมตร พับทบกลางใช้สําหรับเขียนหนังสือเป็นต้น. (อ. foolscap). |
ฟู เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง พองตัวขึ้น, ขยายตัวนูนขึ้น, เช่น ขนมสาลี่ฟูมาก ปลาดุกฟู, อูดขึ้น เช่น แป้งหมักฟูขึ้น, พองโป่งขึ้นมา เช่น ผมฟู ปุยนุ่นฟู สุนัขขนฟู. | ฟู ก. พองตัวขึ้น, ขยายตัวนูนขึ้น, เช่น ขนมสาลี่ฟูมาก ปลาดุกฟู, อูดขึ้น เช่น แป้งหมักฟูขึ้น, พองโป่งขึ้นมา เช่น ผมฟู ปุยนุ่นฟู สุนัขขนฟู. |
ฟูฟ่อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กระเตื้องขึ้น, ดีขึ้น, เจริญขึ้น, ฟุ้งกระจายไปด้วยความดี, ฟ่องฟู ก็ว่า. | ฟูฟ่อง ก. กระเตื้องขึ้น, ดีขึ้น, เจริญขึ้น, ฟุ้งกระจายไปด้วยความดี, ฟ่องฟู ก็ว่า. |
ฟูเฟื่อง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจริญ, มั่งคั่ง, รุ่งเรือง, เฟื่องฟู ก็ว่า. | ฟูเฟื่อง ว. เจริญ, มั่งคั่ง, รุ่งเรือง, เฟื่องฟู ก็ว่า. |
ฟู่ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเตาที่ใช้สูบลมพ่นน้ำมันให้ขึ้นไปถูกไฟลุกเป็นเปลวว่า เตาฟู่. | ฟู่ ว. เสียงดังเช่นนั้น. น. เรียกเตาที่ใช้สูบลมพ่นน้ำมันให้ขึ้นไปถูกไฟลุกเป็นเปลวว่า เตาฟู่. |
ฟูก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่นอนที่ยัดด้วยนุ่นเป็นต้น มักทำเป็นลูกฟูก. | ฟูก น. ที่นอนที่ยัดด้วยนุ่นเป็นต้น มักทำเป็นลูกฟูก. |
ฟูด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง อูดขึ้น, ล้นขึ้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น. | ฟูด ก. อูดขึ้น, ล้นขึ้น. ว. เสียงดังเช่นนั้น. |
ฟูดฟาด เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงอย่างเสียงหายใจแรง ๆ เวลาเหนื่อยมาก ๆ, ฟืดฟาด ก็ว่า. | ฟูดฟาด ว. เสียงอย่างเสียงหายใจแรง ๆ เวลาเหนื่อยมาก ๆ, ฟืดฟาด ก็ว่า. |
ฟูม เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาบ, โซม, ท่วม, อูม; เฟ้อ, มาก เช่น น้ำลายฟูมปาก. | ฟูม ว. อาบ, โซม, ท่วม, อูม; เฟ้อ, มาก เช่น น้ำลายฟูมปาก. |
ฟูมน้ำ เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ลุยนํ้า. | ฟูมน้ำ ก. ลุยนํ้า. |
ฟูมฟัก เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทะนุถนอม, ประคับประคอง, เช่น พ่อแม่ฟูมฟักลูก, ฟักฟูม ก็ว่า. | ฟูมฟัก ก. ทะนุถนอม, ประคับประคอง, เช่น พ่อแม่ฟูมฟักลูก, ฟักฟูม ก็ว่า. |
ฟูมฟาย เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําฟองให้มาก, เล่นฟองนํ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่มีนํ้าตานองหน้า เช่น ร้องไห้ฟูมฟาย; มากมาย, ล้นเหลือ, สุรุ่ยสุร่าย เช่น ใช้เงินฟูมฟาย คือ จับจ่ายใช้สอยเกินสมควร. | ฟูมฟาย ก. ทําฟองให้มาก, เล่นฟองนํ้า. ว. อาการที่มีนํ้าตานองหน้า เช่น ร้องไห้ฟูมฟาย; มากมาย, ล้นเหลือ, สุรุ่ยสุร่าย เช่น ใช้เงินฟูมฟาย คือ จับจ่ายใช้สอยเกินสมควร. |
ฟูมฟายน้ำตา เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เอามือทั้ง ๒ ข้างเช็ดน้ำตาที่ไหลอาบหน้าเพราะความเศร้าโศกเสียใจอย่างหนัก. | ฟูมฟายน้ำตา ก. เอามือทั้ง ๒ ข้างเช็ดน้ำตาที่ไหลอาบหน้าเพราะความเศร้าโศกเสียใจอย่างหนัก. |
ฟูมเลี้ยง เขียนว่า ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแลรักษา. | ฟูมเลี้ยง ก. ดูแลรักษา. |
เฟ็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แฟบ, หด, สั้น, ถลกขึ้นสูง (ใช้แก่ผ้านุ่ง); เล็ด เช่น พระพรุณรายเรื่อฟ้า เฟ็ดโพยม. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐, ลวงแส้งเฟ็ดไพ่อ้อม เอาชัย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. | เฟ็ด ว. แฟบ, หด, สั้น, ถลกขึ้นสูง (ใช้แก่ผ้านุ่ง); เล็ด เช่น พระพรุณรายเรื่อฟ้า เฟ็ดโพยม. (ทวาทศมาส), ลวงแส้งเฟ็ดไพ่อ้อม เอาชัย. (ยวนพ่าย). |
เฟ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง คัดเอาแต่ที่ดี, คัดเอาแต่ที่ต้องการ, เลือกเฟ้น ก็ว่า. | เฟ้น ๑ ก. คัดเอาแต่ที่ดี, คัดเอาแต่ที่ต้องการ, เลือกเฟ้น ก็ว่า. |
เฟ้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง บีบนวด, นวดเฟ้น ก็ว่า. | เฟ้น ๒ ก. บีบนวด, นวดเฟ้น ก็ว่า. |
เฟลด์สปาร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ลอ-ลิง-ดอ-เด็ก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีหลายสี ส่วนมากมักมีสีขาวขุ่นคล้ายฟันม้า, ชาวบ้านมักเรียกกันว่า หินฟันม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ feldspar เขียนว่า เอฟ-อี-แอล-ดี-เอส-พี-เอ-อา. | เฟลด์สปาร์ น. ชื่อแร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีหลายสี ส่วนมากมักมีสีขาวขุ่นคล้ายฟันม้า, ชาวบ้านมักเรียกกันว่า หินฟันม้า. (อ. feldspar). |
เฟ้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง ฟุ้ง, ฟุ้งซ่าน, เหลิง; อืดขึ้น, พองขึ้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากเกินควร, มากเกินไป, เช่น คะแนนเฟ้อ; เรียกอาการที่ลมในกระเพาะตีขึ้นเพราะอาหารไม่ย่อยและเป็นพิษว่า ท้องเฟ้อ; เรียกภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมากเกินไป ทำให้ราคาสินค้าแพงและเงินเสื่อมค่า ว่า เงินเฟ้อ. | เฟ้อ ก. ฟุ้ง, ฟุ้งซ่าน, เหลิง; อืดขึ้น, พองขึ้น. ว. มากเกินควร, มากเกินไป, เช่น คะแนนเฟ้อ; เรียกอาการที่ลมในกระเพาะตีขึ้นเพราะอาหารไม่ย่อยและเป็นพิษว่า ท้องเฟ้อ; เรียกภาวะทางเศรษฐกิจที่ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมากเกินไป ทำให้ราคาสินค้าแพงและเงินเสื่อมค่า ว่า เงินเฟ้อ. |
เฟอร์เมียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๐๐ สัญลักษณ์ Fm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fermium เขียนว่า เอฟ-อี-อา-เอ็ม-ไอ-ยู-เอ็ม. | เฟอร์เมียม น. ธาตุลําดับที่ ๑๐๐ สัญลักษณ์ Fm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. (อ. fermium). |
เฟอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลอะ เช่น แผลมีหนองเฟอะ. | เฟอะ ว. เลอะ เช่น แผลมีหนองเฟอะ. |
เฟอะฟะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลอะเทอะ เช่น น้ำเหลืองไหลเฟอะฟะ; ไม่เข้าท่า เช่น แต่งตัวเฟอะฟะ. | เฟอะฟะ ว. เลอะเทอะ เช่น น้ำเหลืองไหลเฟอะฟะ; ไม่เข้าท่า เช่น แต่งตัวเฟอะฟะ. |
เฟะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เละ, เปื่อยหรือแหลกเหลวจนไม่เป็นรูปเป็นร่าง, เช่น เน่าเฟะ. | เฟะ ว. เละ, เปื่อยหรือแหลกเหลวจนไม่เป็นรูปเป็นร่าง, เช่น เน่าเฟะ. |
เฟะฟะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เละละ. | เฟะฟะ ว. เละละ. |
เฟิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ใบจําพวกผักกูด (Pteridophytes), ใช้ว่า เฟิร์น ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fern เขียนว่า เอฟ-อี-อา-เอ็น. | เฟิน น. ชื่อไม้ใบจําพวกผักกูด (Pteridophytes), ใช้ว่า เฟิร์น ก็มี. (อ. fern). |
เฟี้ยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ฝาที่ทําเป็นบาน ๆ พับได้. เป็นคำกริยา หมายถึง ปิด, กั้น, บัง. | เฟี้ยม น. ฝาที่ทําเป็นบาน ๆ พับได้. ก. ปิด, กั้น, บัง. |
เฟี้ยมเฝ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ฝอ-ฝา-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เฝ้าโดยก้มหน้า. | เฟี้ยมเฝ้า ก. เฝ้าโดยก้มหน้า. |
เฟี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แสดงหรือทำผาดโผนให้เป็นที่สะดุดตาผู้อื่น เช่น แต่งตัวเฟี้ยว ขับรถเฟี้ยว. | เฟี้ยว (ปาก) ว. อาการที่แสดงหรือทำผาดโผนให้เป็นที่สะดุดตาผู้อื่น เช่น แต่งตัวเฟี้ยว ขับรถเฟี้ยว. |
เฟือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง เหลือมาก, มักใช้ประกอบกับคํา เหลือ เป็น เหลือเฟือ. | เฟือ ก. เหลือมาก, มักใช้ประกอบกับคํา เหลือ เป็น เหลือเฟือ. |
เฟื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง เกื้อกูล เช่น ช่วยเหนือเฟื่อกู้มัน. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗. | เฟื่อ (โบ) ก. เกื้อกูล เช่น ช่วยเหนือเฟื่อกู้มัน. (จารึกสยาม). |
เฟื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เกื้อกูล. | เฟื้อ ๑ ก. เกื้อกูล. |
เฟื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | ดู กกช้าง เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู. | เฟื้อ ๒ ดู กกช้าง. |
เฟือง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง มะเฟือง; พู, เหลี่ยม, เช่น เฟืองมะยม; ล้อที่มีฟันเพื่อให้ประสานกับฟันของล้อตัวอื่นเป็นต้น. | เฟือง น. มะเฟือง; พู, เหลี่ยม, เช่น เฟืองมะยม; ล้อที่มีฟันเพื่อให้ประสานกับฟันของล้อตัวอื่นเป็นต้น. |
เฟื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับอย่างหนึ่ง ทำเป็นสายห้อยโยงเป็นช่วง ๆ มีอุบะห้อยระหว่างเฟื่อง; เรียกโรคที่มีเสมหะกําเริบว่า เสมหะเฟื่อง. | เฟื่อง ๑ น. เครื่องประดับอย่างหนึ่ง ทำเป็นสายห้อยโยงเป็นช่วง ๆ มีอุบะห้อยระหว่างเฟื่อง; เรียกโรคที่มีเสมหะกําเริบว่า เสมหะเฟื่อง. |
เฟื่อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง เจริญรุ่งเรือง, รุ่งโรจน์, มีชื่อเสียงโด่งดัง, เช่น เขากำลังเฟื่อง ความคิดเฟื่อง ชื่อเสียงเฟื่อง; คล่องแคล่ว, แม่นยำ, เช่น จบปริญญาเอกมาใหม่ ๆ ความรู้กำลังเฟื่อง. | เฟื่อง ๒ ก. เจริญรุ่งเรือง, รุ่งโรจน์, มีชื่อเสียงโด่งดัง, เช่น เขากำลังเฟื่อง ความคิดเฟื่อง ชื่อเสียงเฟื่อง; คล่องแคล่ว, แม่นยำ, เช่น จบปริญญาเอกมาใหม่ ๆ ความรู้กำลังเฟื่อง. |
เฟื่องฟุ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ขจรไป, แพร่หลาย, (ใช้แก่เกียรติคุณ), ฟุ้งเฟื่อง ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เชี่ยวชาญ, ชํานิชํานาญ, (ใช้แก่สติปัญญา), ฟุ้งเฟื่อง ก็ว่า. | เฟื่องฟุ้ง ก. ขจรไป, แพร่หลาย, (ใช้แก่เกียรติคุณ), ฟุ้งเฟื่อง ก็ว่า. ว. เชี่ยวชาญ, ชํานิชํานาญ, (ใช้แก่สติปัญญา), ฟุ้งเฟื่อง ก็ว่า. |
เฟื่องฟู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจริญ, มั่งคั่ง, รุ่งเรือง, เช่น ฐานะกำลังเฟื่องฟู, ฟูเฟื่อง ก็ว่า. | เฟื่องฟู ว. เจริญ, มั่งคั่ง, รุ่งเรือง, เช่น ฐานะกำลังเฟื่องฟู, ฟูเฟื่อง ก็ว่า. |
เฟื้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๘ อัฐ เท่ากับ ๑ เฟื้อง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ (อักขระพิเศษ) หมายความว่า ๑ เฟื้อง. | เฟื้อง (โบ) น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๘ อัฐ เท่ากับ ๑ เฟื้อง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ (อักขระพิเศษ) หมายความว่า ๑ เฟื้อง. |
เฟื่องฟ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Bougainvillea spectabilis Willd. ในวงศ์ Nyctaginaceae ดอกสีต่าง ๆ เช่น แดง เหลือง ชมพู ปลูกเป็นไม้ประดับ. | เฟื่องฟ้า น. ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยชนิด Bougainvillea spectabilis Willd. ในวงศ์ Nyctaginaceae ดอกสีต่าง ๆ เช่น แดง เหลือง ชมพู ปลูกเป็นไม้ประดับ. |
เฟือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หลง ๆ ลืม ๆ, เลือน. | เฟือน ว. หลง ๆ ลืม ๆ, เลือน. |
เฟือย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ริมนํ้าซึ่งมีหญ้าหรือไม้ขึ้นระกะอยู่. | เฟือย น. ที่ริมนํ้าซึ่งมีหญ้าหรือไม้ขึ้นระกะอยู่. |
เฟื้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะของสิ่งที่ยาวมาก ในคำว่า ยาวเฟื้อย. | เฟื้อย ว. ลักษณะของสิ่งที่ยาวมาก ในคำว่า ยาวเฟื้อย. |
แฟ่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงจุดไม้ขีดไฟติด; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง มาก ในคำว่า หรูแฟ่. | แฟ่ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงจุดไม้ขีดไฟติด; (ปาก) มาก ในคำว่า หรูแฟ่. |
แฟง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฟักพันธุ์หนึ่ง ผลเล็ก ผิวบางมีขน. | แฟง น. ชื่อฟักพันธุ์หนึ่ง ผลเล็ก ผิวบางมีขน. |
แฟชั่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สมัยนิยม, แบบหรือวิธีการที่นิยมกันทั่วไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ fashion เขียนว่า เอฟ-เอ-เอส-เอช-ไอ-โอ-เอ็น. | แฟชั่น น. สมัยนิยม, แบบหรือวิธีการที่นิยมกันทั่วไปในชั่วระยะเวลาหนึ่ง. (อ. fashion). |
แฟน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้นิยมชมชอบ เช่น แฟนเพลง แฟนภาพยนตร์ แฟนมวย, ผู้เป็นที่ชอบพอรักใคร่, คู่รัก, สามีหรือภรรยา. | แฟน (ปาก) น. ผู้นิยมชมชอบ เช่น แฟนเพลง แฟนภาพยนตร์ แฟนมวย, ผู้เป็นที่ชอบพอรักใคร่, คู่รัก, สามีหรือภรรยา. |
แฟบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการของสิ่งที่ตามปรกติควรจะโป่งหรือพอง แต่ได้ยุบหรือแบนลงไป เช่น ยางรถแฟบ ท้องแฟบ อกแฟบ จมูกแฟบ. | แฟบ ว. อาการของสิ่งที่ตามปรกติควรจะโป่งหรือพอง แต่ได้ยุบหรือแบนลงไป เช่น ยางรถแฟบ ท้องแฟบ อกแฟบ จมูกแฟบ. |
แฟ้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่หรือหวาย รูปร่างคล้ายฝาหอยแครงประกบเป็นคู่ ขอบปากตอนบนมีหูสําหรับสอดไม้คานเพื่อหาบไป ใต้หูมีห่วงและลูกสลักสําหรับขัดปาก ขอบด้านล่างถักพันให้ติดกันอย่างบานพับ ใช้ใส่เสบียงกรัง เช่น ปลาย่าง เนื้อเค็ม พริกแห้ง, ที่สําหรับเก็บแผ่นกระดาษ มีปกหน้าปกหลังทําด้วยกระดาษแข็งเป็นต้น มีหลายชนิด เช่น ชนิดเจาะข้าง ชนิดมีสปริงสําหรับหนีบกระดาษ ชนิดมีซองสําหรับใส่เอกสาร, กระเป๋าหิ้วสําหรับใส่เอกสาร. | แฟ้ม น. ภาชนะชนิดหนึ่ง สานด้วยไม้ไผ่หรือหวาย รูปร่างคล้ายฝาหอยแครงประกบเป็นคู่ ขอบปากตอนบนมีหูสําหรับสอดไม้คานเพื่อหาบไป ใต้หูมีห่วงและลูกสลักสําหรับขัดปาก ขอบด้านล่างถักพันให้ติดกันอย่างบานพับ ใช้ใส่เสบียงกรัง เช่น ปลาย่าง เนื้อเค็ม พริกแห้ง, ที่สําหรับเก็บแผ่นกระดาษ มีปกหน้าปกหลังทําด้วยกระดาษแข็งเป็นต้น มีหลายชนิด เช่น ชนิดเจาะข้าง ชนิดมีสปริงสําหรับหนีบกระดาษ ชนิดมีซองสําหรับใส่เอกสาร, กระเป๋าหิ้วสําหรับใส่เอกสาร. |
แฟรนเซียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | [แฟฺรน] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๘๗ สัญลักษณ์ Fr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๗°ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ francium เขียนว่า เอฟ-อา-เอ-เอ็น-ซี-ไอ-ยู-เอ็ม. | แฟรนเซียม [แฟฺรน] น. ธาตุลําดับที่ ๘๗ สัญลักษณ์ Fr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๗°ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี. (อ. francium). |
แฟลกซ์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ทัน-ทะ-คาด | [แฟฺล็ก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Linum usitatissimum L. ในวงศ์ Linaceae ต้นตรง ใบแคบและยาว ดอกสีนํ้าเงิน ใยจากลําต้นใช้ทอเป็นผ้าเรียก ผ้าลินิน, เมล็ดให้นํ้ามันเรียก นํ้ามันลินสีด, ลินิน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ flax เขียนว่า เอฟ-แอล-เอ-เอ็กซ์. | แฟลกซ์ [แฟฺล็ก] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Linum usitatissimum L. ในวงศ์ Linaceae ต้นตรง ใบแคบและยาว ดอกสีนํ้าเงิน ใยจากลําต้นใช้ทอเป็นผ้าเรียก ผ้าลินิน, เมล็ดให้นํ้ามันเรียก นํ้ามันลินสีด, ลินิน ก็เรียก. (อ. flax). |
แฟลต เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-ลอ-ลิง-ตอ-เต่า | [แฟฺล็ด] เป็นคำนาม หมายถึง ห้องชุด ตามปรกติประกอบด้วยห้องนอน ห้องรับแขก ห้องครัว ห้องนํ้า พร้อมอยู่ในชั้นเดียวกันและรวมอยู่ในตึกหลังใหญ่ สําหรับอยู่อาศัยหรือให้เช่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ flat เขียนว่า เอฟ-แอล-เอ-ที. | แฟลต [แฟฺล็ด] น. ห้องชุด ตามปรกติประกอบด้วยห้องนอน ห้องรับแขก ห้องครัว ห้องนํ้า พร้อมอยู่ในชั้นเดียวกันและรวมอยู่ในตึกหลังใหญ่ สําหรับอยู่อาศัยหรือให้เช่า. (อ. flat). |
แฟะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เละ. | แฟะ ว. เละ. |
โฟกัส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ฟอ-ฟัน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาแสง เป็นคำนาม หมายถึง จุดที่แนวแสงลู่เข้าทั้งหมดไปตัดกัน หรือ จุดที่แนวแสงลู่ออกทั้งหมดต่อย้อนหลังไปตัดกัน กรณีแรก เรียกว่า โฟกัสจริง กรณีหลัง เรียกว่า โฟกัสเสมือน; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ หมายถึง จุดที่ตรึงอยู่กับที่ซึ่งคู่กับเส้นไดเรกตริกซ์ ใช้กําหนดบังคับเซตของจุดชุดหนึ่งให้เรียงกันเป็นเส้นโค้งในระบบภาคตัดกรวย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ focus เขียนว่า เอฟ-โอ-ซี-ยู-เอส. | โฟกัส (แสง) น. จุดที่แนวแสงลู่เข้าทั้งหมดไปตัดกัน หรือ จุดที่แนวแสงลู่ออกทั้งหมดต่อย้อนหลังไปตัดกัน กรณีแรก เรียกว่า โฟกัสจริง กรณีหลัง เรียกว่า โฟกัสเสมือน; (คณิต) จุดที่ตรึงอยู่กับที่ซึ่งคู่กับเส้นไดเรกตริกซ์ ใช้กําหนดบังคับเซตของจุดชุดหนึ่งให้เรียงกันเป็นเส้นโค้งในระบบภาคตัดกรวย. (อ. focus). |
ไฟ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม; ผลจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งก่อให้เกิดความร้อน แสงสว่าง และเปลว คือ กลุ่มแก๊สที่กําลังลุกไหม้ ทําให้ไหม้สิ่งต่าง ๆ ได้; ผ่านการอยู่ไฟมาแล้ว เช่น สามไฟ คือ อยู่ไฟมาแล้ว ๓ ครั้ง; ไฟฟ้า เช่น ไฟสว่าง, โดยปริยายหมายถึงความเดือดร้อน เช่น ตอนนี้บ้านเมืองกำลังเป็นไฟ. | ไฟ น. ชื่อธาตุอย่างหนึ่งในธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม; ผลจากปฏิกิริยาเคมีซึ่งก่อให้เกิดความร้อน แสงสว่าง และเปลว คือ กลุ่มแก๊สที่กําลังลุกไหม้ ทําให้ไหม้สิ่งต่าง ๆ ได้; ผ่านการอยู่ไฟมาแล้ว เช่น สามไฟ คือ อยู่ไฟมาแล้ว ๓ ครั้ง; ไฟฟ้า เช่น ไฟสว่าง, โดยปริยายหมายถึงความเดือดร้อน เช่น ตอนนี้บ้านเมืองกำลังเป็นไฟ. |
ไฟกัลป์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ไฟล้างโลกเมื่อสิ้นกัป, ไฟบรรลัยกัลป์ หรือ ไฟประลัยกัลป์ ก็ว่า. | ไฟกัลป์ น. ไฟล้างโลกเมื่อสิ้นกัป, ไฟบรรลัยกัลป์ หรือ ไฟประลัยกัลป์ ก็ว่า. |
ไฟกิเลส เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง กิเลสที่เปรียบเสมือนไฟเพราะทำให้จิตใจเร่าร้อน ได้แก่ ราคะ โทสะ และโมหะ. | ไฟกิเลส น. กิเลสที่เปรียบเสมือนไฟเพราะทำให้จิตใจเร่าร้อน ได้แก่ ราคะ โทสะ และโมหะ. |
ไฟจุกตูด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีธุระร้อนมาก. | ไฟจุกตูด (ปาก) ว. มีธุระร้อนมาก. |
ไฟฉาย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องทําความสว่าง ประกอบด้วยอุปกรณ์สําคัญ คือ จานฉายรูปโค้งสําหรับสะท้อนแสงและหลอดไฟฟ้า ซึ่งบรรจุอยู่ในเรือนกรอบกับสิ่งให้พลังงานที่ก่อให้เกิดแสงสว่าง มีหลายชนิด ชนิดที่ถือติดตัวไปมาได้ มักทําเป็นรูปทรงกระบอก. | ไฟฉาย น. เครื่องทําความสว่าง ประกอบด้วยอุปกรณ์สําคัญ คือ จานฉายรูปโค้งสําหรับสะท้อนแสงและหลอดไฟฟ้า ซึ่งบรรจุอยู่ในเรือนกรอบกับสิ่งให้พลังงานที่ก่อให้เกิดแสงสว่าง มีหลายชนิด ชนิดที่ถือติดตัวไปมาได้ มักทําเป็นรูปทรงกระบอก. |
ไฟแช็ก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องขีดไฟชนิดหนึ่ง เวลาใช้ต้องทําให้จักรโลหะครูดกับถ่านไฟแช็ก เกิดประกายไฟติดไส้ที่ชุ่มด้วยนํ้ามันหรือแก๊สที่บรรจุอยู่ลุกเป็นเปลวไฟขึ้น. | ไฟแช็ก น. เครื่องขีดไฟชนิดหนึ่ง เวลาใช้ต้องทําให้จักรโลหะครูดกับถ่านไฟแช็ก เกิดประกายไฟติดไส้ที่ชุ่มด้วยนํ้ามันหรือแก๊สที่บรรจุอยู่ลุกเป็นเปลวไฟขึ้น. |
ไฟธาตุ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ไฟที่โบราณถือว่ามีในร่างกายมนุษย์และสัตว์ สําหรับให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายและย่อยอาหาร. | ไฟธาตุ น. ไฟที่โบราณถือว่ามีในร่างกายมนุษย์และสัตว์ สําหรับให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายและย่อยอาหาร. |
ไฟบรรลัยกัลป์, ไฟประลัยกัลป์ ไฟบรรลัยกัลป์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด ไฟประลัยกัลป์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ไฟกัลป์. | ไฟบรรลัยกัลป์, ไฟประลัยกัลป์ น. ไฟกัลป์. |
ไฟฟ้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง พลังงานรูปหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการแยกตัวออกมา หรือการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือโปรตอนหรืออนุภาคอื่นที่มีสมบัติแสดงอํานาจคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตอน ใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดพลังงานอื่น เช่น ความร้อน แสงสว่าง การเคลื่อนที่. | ไฟฟ้า น. พลังงานรูปหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับการแยกตัวออกมา หรือการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือโปรตอนหรืออนุภาคอื่นที่มีสมบัติแสดงอํานาจคล้ายคลึงกับอิเล็กตรอนหรือโปรตอน ใช้ประโยชน์ก่อให้เกิดพลังงานอื่น เช่น ความร้อน แสงสว่าง การเคลื่อนที่. |
ไฟฟ้ากระแส เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนปรากฏเป็นอิสระอยู่บนวัตถุ และเคลื่อนที่เป็นกระแส. | ไฟฟ้ากระแส น. ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนปรากฏเป็นอิสระอยู่บนวัตถุ และเคลื่อนที่เป็นกระแส. |
ไฟฟ้าสถิต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนหรือโปรตอนปรากฏเป็นอิสระอยู่บนวัตถุ และไม่เคลื่อนที่เป็นกระแส. | ไฟฟ้าสถิต น. ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากอิเล็กตรอนหรือโปรตอนปรากฏเป็นอิสระอยู่บนวัตถุ และไม่เคลื่อนที่เป็นกระแส. |
ไฟลามทุ่ง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีลักษณะลามออกไป. | ไฟลามทุ่ง น. ชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีลักษณะลามออกไป. |
ไฟสุมขอน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ไฟที่คุกรุ่นอยู่ในขอนไม้ขนาดใหญ่ ดับยาก, โดยปริยายหมายถึงอารมณ์รัก โกรธ หรือแค้นเป็นต้นที่ร้อนรุ่มอยู่ในใจ. | ไฟสุมขอน น. ไฟที่คุกรุ่นอยู่ในขอนไม้ขนาดใหญ่ ดับยาก, โดยปริยายหมายถึงอารมณ์รัก โกรธ หรือแค้นเป็นต้นที่ร้อนรุ่มอยู่ในใจ. |
ภ เขียนว่า พอ-สำ-เพา | พยัญชนะตัวที่ ๓๒ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรารภ ลาภ. | ภ พยัญชนะตัวที่ ๓๒ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรารภ ลาภ. |
ภคะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง โชคดี, ความเจริญ, เกียรติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภคะ (แบบ) น. โชคดี, ความเจริญ, เกียรติ. (ป., ส.). |
ภควดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [พะคะวะดี]ใช้เป็นคําเรียกสตรีที่เคารพ เช่น พระมหิษี พระอุมา พระลักษมี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภควตี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี. | ภควดี [พะคะวะดี] ใช้เป็นคําเรียกสตรีที่เคารพ เช่น พระมหิษี พระอุมา พระลักษมี. (ป., ส. ภควตี). |
ภควัต, ภควันต์, ภควา, ภควาน ภควัต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภควันต์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด ภควา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา ภควาน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [พะคะ] เป็นคำนาม หมายถึง นามพระเป็นเจ้า, นามพระพุทธเจ้า, พระผู้เป็นเจ้า, พระผู้มีพระภาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภควัต, ภควันต์, ภควา, ภควาน [พะคะ] น. นามพระเป็นเจ้า, นามพระพุทธเจ้า, พระผู้เป็นเจ้า, พระผู้มีพระภาค. (ป., ส.). |
ภควัม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า | [พะคะ] เป็นคำนาม หมายถึง พระเครื่องรางชนิดหนึ่ง มีพระพักตร์ควํ่าและปิดทวารทั้ง ๙ คือ ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ ปาก ๑ ทวารหนัก ๑ ทวารเบา ๑, โดยปริยายใช้เรียกคนที่ทําหน้าควํ่าหน้างอไม่รับแขกว่า ทําหน้าเป็นภควัม หรือหน้าควํ่าเป็นภควัม; หินชนิดหนึ่งซึ่งมีรูปร่างอย่างนั้น. | ภควัม [พะคะ] น. พระเครื่องรางชนิดหนึ่ง มีพระพักตร์ควํ่าและปิดทวารทั้ง ๙ คือ ตา ๒ หู ๒ จมูก ๒ ปาก ๑ ทวารหนัก ๑ ทวารเบา ๑, โดยปริยายใช้เรียกคนที่ทําหน้าควํ่าหน้างอไม่รับแขกว่า ทําหน้าเป็นภควัม หรือหน้าควํ่าเป็นภควัม; หินชนิดหนึ่งซึ่งมีรูปร่างอย่างนั้น. |
ภคันทลา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [พะคันทะลา] เป็นคำนาม หมายถึง โรคริดสีดวงทวารหนัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภคํทร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ. | ภคันทลา [พะคันทะลา] น. โรคริดสีดวงทวารหนัก. (ป.; ส. ภคํทร). |
ภคินี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | [พะ] เป็นคำนาม หมายถึง พี่หญิง, น้องหญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภคินี [พะ] น. พี่หญิง, น้องหญิง. (ป., ส.). |
ภณะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [พะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าว, พูด, บอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภณะ [พะ] (แบบ) ก. กล่าว, พูด, บอก. (ป., ส.). |
ภณิดา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | [พะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้พูด, ผู้บอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภณิตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ภณิดา [พะ] น. ผู้พูด, ผู้บอก. (ส. ภณิตา). |
ภพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พอ-พาน | [พบ] เป็นคำนาม หมายถึง โลก, แผ่นดิน; วัฏสงสาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน. | ภพ [พบ] น. โลก, แผ่นดิน; วัฏสงสาร. (ป. ภว). |
ภมการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [พะมะกาน] เป็นคำนาม หมายถึง ช่างกลึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภมการ [พะมะกาน] น. ช่างกลึง. (ป.). |
ภมร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ | [พะมอน] เป็นคำนาม หมายถึง แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ใช้ว่า ภุมระ ก็มี; เครื่องกลึง. เป็นคำกริยา หมายถึง หมุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภฺรมร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ. | ภมร [พะมอน] น. แมลงผึ้ง, แมลงภู่, ใช้ว่า ภุมระ ก็มี; เครื่องกลึง. ก. หมุน. (ป.; ส. ภฺรมร). |
ภมริน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [พะมะริน] เป็นคำนาม หมายถึง ผึ้งทั่วไป, ใช้ว่า ภุมริน ก็ได้. | ภมริน [พะมะริน] น. ผึ้งทั่วไป, ใช้ว่า ภุมริน ก็ได้. |
ภมรี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [พะมะรี] เป็นคำนาม หมายถึง ผึ้ง, ผึ้งตัวเมีย, ผึ้งทั่วไป, ใช้ว่า ภุมรี ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภมรี [พะมะรี] น. ผึ้ง, ผึ้งตัวเมีย, ผึ้งทั่วไป, ใช้ว่า ภุมรี ก็ได้. (ป.). |
ภมริน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ดู ภมร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ. | ภมริน ดู ภมร. |
ภมรี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ดู ภมร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-รอ-เรือ. | ภมรี ดู ภมร. |
ภมุ, ภมุกะ, ภมุกา ภมุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ ภมุกะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ภมุกา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | [พะ] เป็นคำนาม หมายถึง คิ้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภฺรู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู. | ภมุ, ภมุกะ, ภมุกา [พะ] น. คิ้ว. (ป.; ส. ภฺรู). |
ภย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก | [พะยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความกลัว, ของที่น่ากลัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภย [พะยะ] (แบบ) น. ความกลัว, ของที่น่ากลัว. (ป., ส.). |
ภยันตราย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [พะยันตะราย] เป็นคำนาม หมายถึง ภัยและอันตราย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภยันตราย [พะยันตะราย] น. ภัยและอันตราย. (ป.). |
ภยาคติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [พะยาคะติ] เป็นคำนาม หมายถึง ความลําเอียงเพราะความกลัว เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก + อคติ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ . | ภยาคติ [พะยาคะติ] น. ความลําเอียงเพราะความกลัว เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. ภย + อคติ). |
ภยันตราย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ดู ภย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก. | ภยันตราย ดู ภย. |
ภยาคติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู ภย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก. | ภยาคติ ดู ภย. |
ภระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง เลี้ยงดู, คํ้าจุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภระ ก. เลี้ยงดู, คํ้าจุน. (ป.). |
ภรณี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | [พะระนี] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปแม่ไก่, ดาวก้อนเส้า ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภรณี [พะระนี] น. ดาวฤกษ์ที่ ๒ มี ๓ ดวง เห็นเป็นรูปแม่ไก่, ดาวก้อนเส้า ก็เรียก. (ป., ส.). |
ภรณีภู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เกิดจากดาวภรณี คือ พระราหู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภรณีภู น. ผู้เกิดจากดาวภรณี คือ พระราหู. (ส.). |
ภรต, ภรต ภรต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า ภรต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า | [พะรด, พะระตะ, พะรดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เต้นรํา, ผู้แสดงละคร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภรต, ภรต [พะรด, พะระตะ, พะรดตะ] น. ผู้เต้นรํา, ผู้แสดงละคร. (ส.). |
ภรตวรรษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี | [พะรดตะวัด] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดินแห่งท้าวภรต คือ อินเดีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภรตวรฺษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี. | ภรตวรรษ [พะรดตะวัด] น. แผ่นดินแห่งท้าวภรต คือ อินเดีย. (ส. ภรตวรฺษ). |
ภรตศาสตร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [พะรดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาฟ้อนรําทําเพลง. | ภรตศาสตร์ [พะรดตะ] น. วิชาฟ้อนรําทําเพลง. |
ภรรดร, ภรรดา ภรรดร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ ภรรดา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | [พันดอน, พันดา] เป็นคำนาม หมายถึง ผัว เช่น ปัญหามีแต่จักหา ภรรดาสมศักดิ์สมศรี หาได้ใช่ง่ายชายดี สมกับเทวีลูกเรา. (กนกนคร), ใช้ว่า ภัสดา ก็ได้, โบราณใช้ว่า ภรัสดาษ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภรฺตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ และมาจากภาษาบาลี ภตฺตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ภรรดร, ภรรดา [พันดอน, พันดา] น. ผัว เช่น ปัญหามีแต่จักหา ภรรดาสมศักดิ์สมศรี หาได้ใช่ง่ายชายดี สมกับเทวีลูกเรา. (กนกนคร), ใช้ว่า ภัสดา ก็ได้, โบราณใช้ว่า ภรัสดาษ ก็มี. (ส. ภรฺตฺฤ; ป. ภตฺตา). |
ภรรยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [พันยา, พันระยา] เป็นคำนาม หมายถึง ภริยา, เมีย, หญิงที่เป็นคู่ครองของชาย, คู่กับ สามี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภารฺยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี ภริยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา. | ภรรยา [พันยา, พันระยา] น. ภริยา, เมีย, หญิงที่เป็นคู่ครองของชาย, คู่กับ สามี. (ส. ภารฺยา; ป. ภริยา). |
ภระมร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-รอ-เรือ | [พฺระมอน] เป็นคำนาม หมายถึง ภมร. | ภระมร [พฺระมอน] น. ภมร. |
ภระมรี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [พฺระมะรี] เป็นคำนาม หมายถึง ภมรี. | ภระมรี [พฺระมะรี] น. ภมรี. |
ภรัสดาษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี | [พฺรัดสะดาด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ภรรดา, ผัว. | ภรัสดาษ [พฺรัดสะดาด] (โบ) น. ภรรดา, ผัว. |
ภราดร, ภราดา, ภราตร, ภราตฤ ภราดร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ ภราดา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา ภราตร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ภราตฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-รึ | [พะราดอน, พะราดา, พะราตฺระ, พะราตฺรึ] น. พี่ชาย, น้องชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺราตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ และมาจากภาษาบาลี ภาตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ภาตุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ . | ภราดร, ภราดา, ภราตร, ภราตฤ [พะราดอน, พะราดา, พะราตฺระ, พะราตฺรึ] น. พี่ชาย, น้องชาย. (ส. ภฺราตฺฤ; ป. ภาตา, ภาตุ). |
ภราดรภาพ, ภราตรภาพ, ภราตฤภาพ ภราดรภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน ภราตรภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน ภราตฤภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-รึ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | [พะราดะระพาบ, พะราดอนระพาบ, ตฺระ, ตฺรึ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นฉันพี่น้องกัน. | ภราดรภาพ, ภราตรภาพ, ภราตฤภาพ [พะราดะระพาบ, พะราดอนระพาบ, ตฺระ, ตฺรึ] น. ความเป็นฉันพี่น้องกัน. |
ภริยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [พะริ] เป็นคำนาม หมายถึง ภรรยา, เมีย, หญิงที่เป็นคู่ครองของชาย, คู่กับ สามี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภารฺยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา. | ภริยา [พะริ] น. ภรรยา, เมีย, หญิงที่เป็นคู่ครองของชาย, คู่กับ สามี. (ป.; ส. ภารฺยา). |
ภรู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู | [พฺรู] เป็นคำนาม หมายถึง คิ้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺรู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู และมาจากภาษาบาลี ภู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู. | ภรู [พฺรู] น. คิ้ว. (ส. ภฺรู; ป. ภู). |
ภรูมณฑล เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง คิ้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภรูมณฑล น. คิ้ว. (ส.). |
ภฤงคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [พฺริง] เป็นคำนาม หมายถึง หม้อนํ้า, เต้านํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภิงฺคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภฤงคาร [พฺริง] น. หม้อนํ้า, เต้านํ้า. (ส.; ป. ภิงฺคาร). |
ภฤดก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่ | [พฺรึ] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกจ้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤตก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ และมาจากภาษาบาลี ภตก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-กอ-ไก่. | ภฤดก [พฺรึ] น. ลูกจ้าง. (ส. ภฺฤตก; ป. ภตก). |
ภฤดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [พฺรึ] เป็นคำนาม หมายถึง ค่าจ้าง, สินจ้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี ภติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภฤดี [พฺรึ] น. ค่าจ้าง, สินจ้าง. (ส. ภฺฤติ; ป. ภติ). |
ภฤตย์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [พฺรึด] เป็นคำนาม หมายถึง คนรับใช้, คนใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤตฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี ภจฺจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน. | ภฤตย์ [พฺรึด] น. คนรับใช้, คนใช้. (ส. ภฺฤตฺย; ป. ภจฺจ). |
ภฤศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-สอ-สา-ลา | [พฺรึด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, กล้า, จัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤศมฺ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-พิน-ทุ และมาจากภาษาบาลี ภุส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ. | ภฤศ [พฺรึด] ว. มาก, กล้า, จัด. (ส. ภฺฤศมฺ; ป. ภุส). |
ภฤษฏ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๑ | [พฺรึด] เป็นคำกริยา หมายถึง ตก, ร่วง, หล่น. [ส. ภฺรษฺฏ (ภฺรํศฺ ธาตุ); ป. ภฏฺ]. | ภฤษฏ์ ๑ [พฺรึด] ก. ตก, ร่วง, หล่น. [ส. ภฺรษฺฏ (ภฺรํศฺ ธาตุ); ป. ภฏฺ]. |
ภฤษฏ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ตอ-ปะ-ตัก-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๒ | [พฺรึด] เป็นคำกริยา หมายถึง ปิ้ง เคี่ยว หรือคั่วแล้ว. [ส. ภฺรษฺฏ (ภฺรชฺชฺ ธาตุ); ป. ภฏฺ]. | ภฤษฏ์ ๒ [พฺรึด] ก. ปิ้ง เคี่ยว หรือคั่วแล้ว. [ส. ภฺรษฺฏ (ภฺรชฺชฺ ธาตุ); ป. ภฏฺ]. |
ภว, ภวะ ภว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน ภวะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | [พะวะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเกิด, ความมี, ความเป็น; ภพ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภว, ภวะ [พะวะ] น. ความเกิด, ความมี, ความเป็น; ภพ. (ป., ส.). |
ภวกษัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [พะวะกะไส] เป็นคำนาม หมายถึง ความสิ้นภพ, นิพพาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภวกษัย [พะวะกะไส] น. ความสิ้นภพ, นิพพาน. (ส.). |
ภวตัณหา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ตัณหาเป็นไปในภพ คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากเกิด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภวตัณหา น. ตัณหาเป็นไปในภพ คือ ความอยากมี อยากเป็น อยากเกิด. (ป.). |
ภวปาระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ฝั่งแห่งภพ คือ นิพพาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภวปาระ น. ฝั่งแห่งภพ คือ นิพพาน. (ป.). |
ภวันดร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ | [พะวันดอน] เป็นคำนาม หมายถึง ภพอื่น, ภพภายหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภวานฺตร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ. | ภวันดร [พะวันดอน] น. ภพอื่น, ภพภายหน้า. (ป.; ส. ภวานฺตร). |
ภวาภพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นอยู่และมิใช่ความเป็นอยู่, ภพและมิใช่ภพ; ภพน้อยภพใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภวาภว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน. | ภวาภพ น. ความเป็นอยู่และมิใช่ความเป็นอยู่, ภพและมิใช่ภพ; ภพน้อยภพใหญ่. (ป., ส. ภวาภว). |
ภวนะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [พะวะ] เป็นคำนาม หมายถึง เรือนขนาดใหญ่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภวนะ [พะวะ] น. เรือนขนาดใหญ่. (ส.). |
ภวัคระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [พะวักคฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง พรหมชั้นสูง, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภวาคฺร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ภวคฺค เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | ภวัคระ [พะวักคฺระ] น. พรหมชั้นสูง, เนวสัญญานาสัญญายตนะ ก็เรียก. (ส. ภวาคฺร; ป. ภวคฺค). |
ภวังค, ภวังค์ ภวังค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย ภวังค์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [พะวังคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ มิได้เสวยอารมณ์ในทวารทั้ง ๖ มีจักษุทวารเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; ความเป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว. | ภวังค, ภวังค์ [พะวังคะ] น. ส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ มิได้เสวยอารมณ์ในทวารทั้ง ๖ มีจักษุทวารเป็นต้น. (ป.); ความเป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว. |
ภวังคจิต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง จิตเป็นภวังค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภวังคจิต น. จิตเป็นภวังค์. (ป.). |
ภวันดร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ | ดู ภว, ภว ภว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน ภว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน . | ภวันดร ดู ภว, ภว. |
ภวาภพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน | ดู ภว, ภว ภว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน ภว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน . | ภวาภพ ดู ภว, ภว. |
ภักขะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เหยื่อ, อาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภกฺข เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่ และมาจากภาษาสันสกฤต ภกฺษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี. | ภักขะ น. เหยื่อ, อาหาร. (ป. ภกฺข; ส. ภกฺษ). |
ภักดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ความจงรัก, ความเลื่อมใสยิ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภกฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี ภตฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภักดี น. ความจงรัก, ความเลื่อมใสยิ่ง. (ส. ภกฺติ; ป. ภตฺติ). |
ภักต, ภักตะ ภักต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า ภักตะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | [พักตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ภักดี, สาวก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ; อาหาร, ข้าวสุก, ของกินซึ่งสุกด้วยนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภกฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี ภตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | ภักต, ภักตะ [พักตะ] น. ผู้ภักดี, สาวก. (ส.); อาหาร, ข้าวสุก, ของกินซึ่งสุกด้วยนํ้า. (ส. ภกฺต; ป. ภตฺต). |
ภักตกฤตย์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-รอ-รึ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [กฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง การกินอาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภกฺตกฺฤตฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี ภตฺตกิจฺจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน. | ภักตกฤตย์ [กฺริด] น. การกินอาหาร. (ส. ภกฺตกฺฤตฺย; ป. ภตฺตกิจฺจ). |
ภักติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ภักดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภตฺติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภักติ น. ภักดี. (ส.; ป. ภตฺติ). |
ภักษ, ภักษ์ ภักษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี ภักษ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | [พักสะ, พัก] เป็นคำนาม หมายถึง เหยื่อ, อาหาร. เป็นคำกริยา หมายถึง กิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภกฺษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี ภกฺข เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่. | ภักษ, ภักษ์ [พักสะ, พัก] น. เหยื่อ, อาหาร. ก. กิน. (ส. ภกฺษ; ป. ภกฺข). |
ภักษการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง คนทําอาหาร, คนครัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภักษการ น. คนทําอาหาร, คนครัว. (ส.). |
ภักษา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เหยื่อ, อาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภกฺษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี และมาจากภาษาบาลี ภตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | ภักษา น. เหยื่อ, อาหาร. (ส. ภกฺษ; ป. ภตฺต). |
ภักษาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง เหยื่อ, อาหาร, อาหารที่กินประจํา, เช่น เนื้อเป็นภักษาหารของเสือ หญ้าเป็นภักษาหารของวัว. | ภักษาหาร น. เหยื่อ, อาหาร, อาหารที่กินประจํา, เช่น เนื้อเป็นภักษาหารของเสือ หญ้าเป็นภักษาหารของวัว. |
ภักษา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | ดู ภักษ, ภักษ์ ภักษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี ภักษ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด . | ภักษา ดู ภักษ, ภักษ์. |
ภักษาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ภักษ, ภักษ์ ภักษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี ภักษ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด . | ภักษาหาร ดู ภักษ, ภักษ์. |
ภัค เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง โชคดี, ความเจริญ, เกียรติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภค เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย. | ภัค น. โชคดี, ความเจริญ, เกียรติ. (ป. ภค). |
ภัคน์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง แตก, หัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภคฺน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-นอ-หนู. | ภัคน์ น. แตก, หัก. (ส. ภคฺน). |
ภังค, ภังคะ ภังค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย ภังคะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ | [คะ] เป็นคำนาม หมายถึง การแตก, การทําลาย; ความยับเยินล่มจม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ผ้าชนิดหนึ่งทอด้วยของหลายสิ่งเช่นผ้าด้ายแกมไหม. | ภังค, ภังคะ [คะ] น. การแตก, การทําลาย; ความยับเยินล่มจม. (ป., ส.); ผ้าชนิดหนึ่งทอด้วยของหลายสิ่งเช่นผ้าด้ายแกมไหม. |
ภังคี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. | ภังคี น. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง. (พจน. ๒๔๙๓). |
ภัจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง ภฤตย์, คนรับใช้, คนใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภจฺจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-จอ-จาน-พิน-ทุ-จอ-จาน และมาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤตฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ภัจ น. ภฤตย์, คนรับใช้, คนใช้. (ป. ภจฺจ; ส. ภฺฤตฺย). |
ภัญชะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แตก, หัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภัญชะ ก. ทําให้แตก, หัก. (ป., ส.). |
ภัณฑ, ภัณฑ์ ภัณฑ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท ภัณฑ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งของ, เครื่องใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภาณฺฑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท. | ภัณฑ, ภัณฑ์ น. สิ่งของ, เครื่องใช้. (ป.; ส. ภาณฺฑ). |
ภัณฑครรภ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา | [พันดะคับ] เป็นคำนาม หมายถึง ห้องเก็บของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภาณฺฑครฺภ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาบาลี ภณฺฑคพฺภ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-คอ-ควาย-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา. | ภัณฑครรภ [พันดะคับ] น. ห้องเก็บของ. (ส. ภาณฺฑครฺภ; ป. ภณฺฑคพฺภ). |
ภัณฑาคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [พันดาคาน, พันทาคาน] เป็นคำนาม หมายถึง โรงไว้ของ, คลังเก็บของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภัณฑาคาร [พันดาคาน, พันทาคาน] น. โรงไว้ของ, คลังเก็บของ. (ป.). |
ภัณฑาคาริก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [พันดาคาริก, พันทาคาริก] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าหน้าที่ผู้รักษาคลังเก็บสิ่งของของสงฆ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภัณฑาคาริก [พันดาคาริก, พันทาคาริก] น. เจ้าหน้าที่ผู้รักษาคลังเก็บสิ่งของของสงฆ์. (ป.). |
ภัณฑารักษ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | [พันทารัก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ดูแลรักษาสิ่งของ โดยมากได้แก่จำพวกโบราณวัตถุศิลปวัตถุในพิพิธภัณฑสถานเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภาณฺฑารกฺษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี. | ภัณฑารักษ์ [พันทารัก] น. ผู้ดูแลรักษาสิ่งของ โดยมากได้แก่จำพวกโบราณวัตถุศิลปวัตถุในพิพิธภัณฑสถานเป็นต้น. (ส. ภาณฺฑารกฺษ). |
ภัณฑนะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [พันดะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การทะเลาะ, การทุ่มเถียง, การแก่งแย่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภณฺฑน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-นอ-หนู ภาณฺฑน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-นอ-หนู . | ภัณฑนะ [พันดะนะ] (แบบ) น. การทะเลาะ, การทุ่มเถียง, การแก่งแย่ง. (ป.; ส. ภณฺฑน, ภาณฺฑน). |
ภัณฑาคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ภัณฑ, ภัณฑ์ ภัณฑ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท ภัณฑ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด . | ภัณฑาคาร ดู ภัณฑ, ภัณฑ์. |
ภัณฑาคาริก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | ดู ภัณฑ, ภัณฑ์ ภัณฑ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท ภัณฑ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด . | ภัณฑาคาริก ดู ภัณฑ, ภัณฑ์. |
ภัณฑารักษ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | ดู ภัณฑ, ภัณฑ์ ภัณฑ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท ภัณฑ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด . | ภัณฑารักษ์ ดู ภัณฑ, ภัณฑ์. |
ภัณฑู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อู | [พันดู] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โล้น, ล้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภณฺฑุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อุ. | ภัณฑู [พันดู] (แบบ) ว. โล้น, ล้าน. (ป. ภณฺฑุ). |
ภัณฑูกรรม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การปลงผม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภณฺฑุกมฺม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | ภัณฑูกรรม น. การปลงผม. (ป. ภณฺฑุกมฺม). |
ภัต, ภัต, ภัตร ภัต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภัต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภัตร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [พัด, พัดตะ, พัด] เป็นคำนาม หมายถึง อาหาร, ข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | ภัต, ภัต, ภัตร [พัด, พัดตะ, พัด] น. อาหาร, ข้าว. (ป. ภตฺต). |
ภัตกิจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง การกินอาหาร. | ภัตกิจ น. การกินอาหาร. |
ภัตตาคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาคารที่จําหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม ค่อนข้างใหญ่และหรูหรา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า + อคาร เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | ภัตตาคาร น. อาคารที่จําหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม ค่อนข้างใหญ่และหรูหรา. (ป. ภตฺต + อคาร). |
ภัตตาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาหารสําหรับภิกษุสามเณรฉัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า + อาหาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | ภัตตาหาร น. อาหารสําหรับภิกษุสามเณรฉัน. (ป. ภตฺต + อาหาร). |
ภัตตาคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ภัต, ภัต, ภัตร ภัต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภัต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภัตร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ . | ภัตตาคาร ดู ภัต, ภัต, ภัตร. |
ภัตตาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ภัต, ภัต, ภัตร ภัต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภัต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า ภัตร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ . | ภัตตาหาร ดู ภัต, ภัต, ภัตร. |
ภัทร, ภัทระ ภัทร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ ภัทระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [พัดทฺระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, เจริญ, ประเสริฐ, งาม, น่ารัก, เป็นมงคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภทฺร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ภทฺท เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน ภทฺร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | ภัทร, ภัทระ [พัดทฺระ] ว. ดี, เจริญ, ประเสริฐ, งาม, น่ารัก, เป็นมงคล. (ส. ภทฺร; ป. ภทฺท, ภทฺร). |
ภัทรกัป เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง กัปอันเจริญ คือ กัปปัจจุบัน มีพระพุทธเจ้าถึง ๕ พระองค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภทฺรกปฺป เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา ภทฺทกปฺป เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา . | ภัทรกัป น. กัปอันเจริญ คือ กัปปัจจุบัน มีพระพุทธเจ้าถึง ๕ พระองค์. (ป. ภทฺรกปฺป, ภทฺทกปฺป). |
ภัทรกุมภ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง หม้อบรรจุนํ้าศักดิ์สิทธิ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภัทรกุมภ์ น. หม้อบรรจุนํ้าศักดิ์สิทธิ์. (ส.). |
ภัทรบทมาส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | [พัดทฺระบดทะมาด] เป็นคำนาม หมายถึง เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์ภัทรปทา คือ เดือน ๑๐ ตกในราวเดือนกันยายน. | ภัทรบทมาส [พัดทฺระบดทะมาด] น. เดือนอันมีพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์ภัทรปทา คือ เดือน ๑๐ ตกในราวเดือนกันยายน. |
ภัทรบิฐ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน | เป็นคำนาม หมายถึง แท่นสําหรับเทพบดี หรือพระราชาประทับ ถือว่าเป็นมงคล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภัทรบิฐ น. แท่นสําหรับเทพบดี หรือพระราชาประทับ ถือว่าเป็นมงคล. (ส.). |
ภัพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดี, งาม, เหมาะ, ควร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภพฺพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน และมาจากภาษาสันสกฤต ภวฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก ภาวฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | ภัพ ว. ดี, งาม, เหมาะ, ควร. (ป. ภพฺพ; ส. ภวฺย, ภาวฺย). |
ภัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่น่ากลัว, อันตราย, เช่น อัคคีภัย คือ ภัยที่เกิดจากไฟ อุทกภัย คือ ภัยที่เกิดจากน้ำ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ยอ-ยัก. | ภัย น. สิ่งที่น่ากลัว, อันตราย, เช่น อัคคีภัย คือ ภัยที่เกิดจากไฟ อุทกภัย คือ ภัยที่เกิดจากน้ำ. (ป., ส. ภย). |
ภัสดา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | [พัดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ภรรดา, ผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺรตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ และมาจากภาษาบาลี ภตฺตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ภัสดา [พัดสะ] น. ภรรดา, ผัว. (ส. ภฺรตฺฤ; ป. ภตฺตา). |
ภัสตรา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [พัดสะตฺรา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สูบลม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภัสตรา [พัดสะตฺรา] (แบบ) น. สูบลม. (ส.). |
ภัสมะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | [พัดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง เถ้า, ธุลี. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้แหลก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แหลก, ละเอียด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภัสมะ [พัดสะ] น. เถ้า, ธุลี. ก. ทําให้แหลก. ว. แหลก, ละเอียด. (ป., ส.). |
ภัสสร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ | [พัดสอน] เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่าง, รัศมี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภัสสร [พัดสอน] น. แสงสว่าง, รัศมี. (ป.). |
ภา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่าง, รัศมี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภา น. แสงสว่าง, รัศมี. (ป., ส.). |
ภากร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภากร น. พระอาทิตย์. (ป.). |
ภาค, ภาค ภาค เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย ภาค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | [พาก, พากคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาค, ภาค [พาก, พากคะ] น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. (ป.). |
ภาคตัดกรวย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ระบบเส้นโค้งซึ่งกําหนดขึ้นโดยอัตราส่วนระหว่างระยะจากจุดบนเส้นโค้งไปยังจุดโฟกัสกับระยะตั้งฉากจากจุดนั้นไปยังเส้นไดเรกตริกซ์ อัตราส่วนดังกล่าวมีค่าคงตัวเสมอ. | ภาคตัดกรวย (คณิต) น. ระบบเส้นโค้งซึ่งกําหนดขึ้นโดยอัตราส่วนระหว่างระยะจากจุดบนเส้นโค้งไปยังจุดโฟกัสกับระยะตั้งฉากจากจุดนั้นไปยังเส้นไดเรกตริกซ์ อัตราส่วนดังกล่าวมีค่าคงตัวเสมอ. |
ภาคทฤษฎี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-รึ-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ภาคที่เกี่ยวกับความคิดเห็นอันเนื่องด้วยหลักวิชา, คู่กับ ภาคปฏิบัติ. | ภาคทฤษฎี น. ภาคที่เกี่ยวกับความคิดเห็นอันเนื่องด้วยหลักวิชา, คู่กับ ภาคปฏิบัติ. |
ภาคทัณฑ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | [พากทัน] เป็นคำกริยา หมายถึง ตําหนิโทษ, คาดโทษ, ลงโทษเพียงว่ากล่าว, ลงโทษข้าราชการพลเรือนโดยตำหนิโทษเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นการลงโทษขั้นเบาที่สุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต วาคฺทณฺฑ เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท = ลงโทษเพียงว่ากล่าว . | ภาคทัณฑ์ [พากทัน] ก. ตําหนิโทษ, คาดโทษ, ลงโทษเพียงว่ากล่าว, ลงโทษข้าราชการพลเรือนโดยตำหนิโทษเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งเป็นการลงโทษขั้นเบาที่สุด. (ส. วาคฺทณฺฑ = ลงโทษเพียงว่ากล่าว). |
ภาคนิพนธ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | [พากคะ, พาก] เป็นคำนาม หมายถึง รายงานการค้นคว้าประจําภาคเรียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ term เขียนว่า ที-อี-อา-เอ็ม paper เขียนว่า พี-เอ-พี-อี-อา . | ภาคนิพนธ์ [พากคะ, พาก] น. รายงานการค้นคว้าประจําภาคเรียน. (อ. term paper). |
ภาคปฏิบัติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาคลงมือทดลองทําจริง ๆ, คู่กับ ภาคทฤษฎี. | ภาคปฏิบัติ น. ภาคลงมือทดลองทําจริง ๆ, คู่กับ ภาคทฤษฎี. |
ภาคพื้น เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง พื้นแผ่นดิน, แผ่นดินใหญ่ เช่น ภาคพื้นยุโรป ภาคพื้นเอเชีย. | ภาคพื้น น. พื้นแผ่นดิน, แผ่นดินใหญ่ เช่น ภาคพื้นยุโรป ภาคพื้นเอเชีย. |
ภาคเรียน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดทําการสอนติดต่อกัน ตามปรกติปีการศึกษาหนึ่ง ๆ จะแบ่งออกเป็น ๒๓ ภาคเรียน. | ภาคเรียน น. ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดทําการสอนติดต่อกัน ตามปรกติปีการศึกษาหนึ่ง ๆ จะแบ่งออกเป็น ๒๓ ภาคเรียน. |
ภาคสนาม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ภาคปฏิบัติ. | ภาคสนาม น. ภาคปฏิบัติ. |
ภาคเสธ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ทอ-ทง | [พากเสด] เป็นคำกริยา หมายถึง แบ่งรับแบ่งสู้ เช่น ให้การภาคเสธ คือ ให้การรับบ้างปฏิเสธบ้าง. | ภาคเสธ [พากเสด] ก. แบ่งรับแบ่งสู้ เช่น ให้การภาคเสธ คือ ให้การรับบ้างปฏิเสธบ้าง. |
ภาคภูมิ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | [พากพูม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสง่า, ผึ่งผาย, เช่น เขาแต่งตัวภาคภูมิ ท่าทางเขาภาคภูมิ. | ภาคภูมิ [พากพูม] ว. มีสง่า, ผึ่งผาย, เช่น เขาแต่งตัวภาคภูมิ ท่าทางเขาภาคภูมิ. |
ภาคภูมิใจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ, เช่น เขาภาคภูมิใจในความสำเร็จ. | ภาคภูมิใจ ก. กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ, เช่น เขาภาคภูมิใจในความสำเร็จ. |
ภาคย์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง โชค, โชคดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภาคฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ภาคย์ น. โชค, โชคดี. (ป., ส. ภาคฺย). |
ภาคยานุวัติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [พากคะยานุวัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวงการทูต เป็นคำนาม หมายถึง การเข้าเป็นภาคีในสัญญาหลายฝ่ายหรือพหุภาคี หรือในสนธิสัญญาระหว่างชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ accession เขียนว่า เอ-ซี-ซี-อี-เอส-เอส-ไอ-โอ-เอ็น. | ภาคยานุวัติ [พากคะยานุวัด] (การทูต) น. การเข้าเป็นภาคีในสัญญาหลายฝ่ายหรือพหุภาคี หรือในสนธิสัญญาระหว่างชาติ. (อ. accession). |
ภาคินี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงผู้มีส่วน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภาคินี น. หญิงผู้มีส่วน. (ป., ส.). |
ภาคิไนย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู-ยอ-ยัก | [ไน] เป็นคำนาม หมายถึง หลาน คือ ลูกของพี่สาวหรือน้องสาว, คู่กับ ภาติยะ ลูกของพี่ชายหรือน้องชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภาคิเนยฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต ภาคิเนย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ยอ-ยัก. | ภาคิไนย [ไน] น. หลาน คือ ลูกของพี่สาวหรือน้องสาว, คู่กับ ภาติยะ ลูกของพี่ชายหรือน้องชาย. (ป. ภาคิเนยฺย; ส. ภาคิเนย). |
ภาคี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีส่วน, ผู้เป็นฝ่าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภาคินฺ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | ภาคี น. ผู้มีส่วน, ผู้เป็นฝ่าย. (ป.; ส. ภาคินฺ). |
ภาคียะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรแบ่งเป็นส่วน, เป็นส่วน. | ภาคียะ ว. ควรแบ่งเป็นส่วน, เป็นส่วน. |
ภาชนะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [พาชะนะ, พาดชะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้จำพวกถ้วยโถโอชามหม้อไหเป็นต้น สําหรับใส่สิ่งของ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภาชนะ [พาชะนะ, พาดชะนะ] น. เครื่องใช้จำพวกถ้วยโถโอชามหม้อไหเป็นต้น สําหรับใส่สิ่งของ. (ป., ส.). |
ภาชนีย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | [พาชะนียะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ของควรแจก, ของควรแบ่ง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรแจก, ควรแบ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาชนีย [พาชะนียะ] (แบบ) น. ของควรแจก, ของควรแบ่ง. ว. ควรแจก, ควรแบ่ง. (ป.). |
ภาชี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้แบ่ง, เพศหญิงใช้ว่า ภาชินี. | ภาชี (แบบ) น. ผู้แบ่ง, เพศหญิงใช้ว่า ภาชินี. |
ภาณ, ภาณ ภาณ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน ภาณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [พาน, พานะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การบอก, การกล่าว, การสวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาณ, ภาณ [พาน, พานะ] (แบบ) น. การบอก, การกล่าว, การสวด. (ป.). |
ภาณวาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [พานะวาน] เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมที่จัดไว้เป็นหมวด, หมวดหนึ่ง ๆ; ข้อธรรมที่จัดไว้เป็นหมวด, ข้อธรรมหมวดหนึ่ง ๆ สําหรับสาธยาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาณวาร [พานะวาน] น. ธรรมที่จัดไว้เป็นหมวด, หมวดหนึ่ง ๆ; ข้อธรรมที่จัดไว้เป็นหมวด, ข้อธรรมหมวดหนึ่ง ๆ สําหรับสาธยาย. (ป.). |
ภาณกะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | [พานะกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาณกะ [พานะกะ] (แบบ) น. ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก. (ป.). |
ภาณี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก, คนช่างพูด, เพศหญิง ใช้ว่า ภาณินี. | ภาณี น. ผู้สวด, ผู้กล่าว, ผู้บอก, คนช่างพูด, เพศหญิง ใช้ว่า ภาณินี. |
ภาณุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่าง; พระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภานุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ. | ภาณุ น. แสงสว่าง; พระอาทิตย์. (ป.; ส. ภานุ). |
ภาณุมาศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภาณุมา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต ภานุมนฺตฺ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ. | ภาณุมาศ น. พระอาทิตย์. (ป. ภาณุมา; ส. ภานุมนฺตฺ). |
ภาดร, ภาดา ภาดร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ ภาดา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง พี่ชายน้องชาย, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง พระภาดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺราตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ และมาจากภาษาบาลี ภาตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ภาดร, ภาดา น. พี่ชายน้องชาย, (ราชา) พระภาดา. (ส. ภฺราตฺฤ; ป. ภาตา). |
ภาตระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [พาตะระ] เป็นคำนาม หมายถึง พี่ชายน้องชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺราตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ. | ภาตระ [พาตะระ] น. พี่ชายน้องชาย. (ส. ภฺราตฺฤ). |
ภาตา, ภาตุ ภาตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา ภาตุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง พี่ชายน้องชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภฺราตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ. | ภาตา, ภาตุ น. พี่ชายน้องชาย. (ป.; ส. ภฺราตฺฤ). |
ภาติกะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง พี่ชายน้องชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภฺราตฺฤ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-รึ + ก เขียนว่า กอ-ไก่ . | ภาติกะ น. พี่ชายน้องชาย. (ป.; ส. ภฺราตฺฤ + ก). |
ภาติยะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกของพี่ชายน้องชาย, หลาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภาตฺรีย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก. | ภาติยะ น. ลูกของพี่ชายน้องชาย, หลาน. (ป.; ส. ภาตฺรีย). |
ภาพ, ภาพ ภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน ภาพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | [พาบ, พาบพะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความ, ความมี, ความเป็น, มักใช้ประกอบเป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น มรณภาพ ว่า ความตาย; รูปที่ปรากฏเห็นหรือนึกเห็น เช่น ภาพทิวทัศน์ ภาพในฝัน, สิ่งที่วาดขึ้นเป็นรูปหรือสิ่งที่ถ่ายแบบไว้ เช่น ภาพสีน้ำมัน ภาพถ่าย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภาว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | ภาพ, ภาพ [พาบ, พาบพะ] น. ความ, ความมี, ความเป็น, มักใช้ประกอบเป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น มรณภาพ ว่า ความตาย; รูปที่ปรากฏเห็นหรือนึกเห็น เช่น ภาพทิวทัศน์ ภาพในฝัน, สิ่งที่วาดขึ้นเป็นรูปหรือสิ่งที่ถ่ายแบบไว้ เช่น ภาพสีน้ำมัน ภาพถ่าย. (ป., ส. ภาว). |
ภาพกาก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพเขียนที่เป็นตัวประกอบในเรื่อง. | ภาพกาก น. ภาพเขียนที่เป็นตัวประกอบในเรื่อง. |
ภาพจริง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาแสง เป็นคำนาม หมายถึง ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าหรือเลนส์นูน ลักษณะเป็นภาพหัวกลับ ใช้จอรับได้. | ภาพจริง (แสง) น. ภาพที่เกิดจากกระจกเว้าหรือเลนส์นูน ลักษณะเป็นภาพหัวกลับ ใช้จอรับได้. |
ภาพถ่าย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพบนกระดาษอัดรูป เกิดจากการนําแผ่นฟิล์มภาพเนกาทิฟหรือแผ่นกระจกภาพเนกาทิฟไปอัดถ่ายทอดภาพลงบนกระดาษอัดรูปนั้น. | ภาพถ่าย น. ภาพบนกระดาษอัดรูป เกิดจากการนําแผ่นฟิล์มภาพเนกาทิฟหรือแผ่นกระจกภาพเนกาทิฟไปอัดถ่ายทอดภาพลงบนกระดาษอัดรูปนั้น. |
ภาพนิ่ง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพขยายที่ไม่มีการเคลื่อนไหวบนจอ เกิดจากการฉายแสงที่มีความเข้มมาก ผ่านแผ่นสไลด์หรือแผ่นฟิล์มภาพไปยังจอ. | ภาพนิ่ง น. ภาพขยายที่ไม่มีการเคลื่อนไหวบนจอ เกิดจากการฉายแสงที่มีความเข้มมาก ผ่านแผ่นสไลด์หรือแผ่นฟิล์มภาพไปยังจอ. |
ภาพประกอบ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพที่วาดขึ้นหรือนํามาแสดงเพื่อประกอบเรื่อง. | ภาพประกอบ น. ภาพที่วาดขึ้นหรือนํามาแสดงเพื่อประกอบเรื่อง. |
ภาพปูนเปียก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพเขียนผนังอาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่เขียนขณะผนังยังชื้นอยู่. | ภาพปูนเปียก น. ภาพเขียนผนังอาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่เขียนขณะผนังยังชื้นอยู่. |
ภาพพจน์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [พาบพด] เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสํานวนโวหารทําให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ figure เขียนว่า เอฟ-ไอ-จี-ยู-อา-อี of เขียนว่า โอ-เอฟ speech เขียนว่า เอส-พี-อี-อี-ซี-เอช . | ภาพพจน์ [พาบพด] น. ถ้อยคำที่เป็นสํานวนโวหารทําให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. (อ. figure of speech). |
ภาพยนตร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [พาบพะ] เป็นคำนาม หมายถึง ภาพฉายด้วยเครื่องทําให้เห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวได้, หนังฉาย. | ภาพยนตร์ [พาบพะ] น. ภาพฉายด้วยเครื่องทําให้เห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวได้, หนังฉาย. |
ภาพลวงตา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพที่ปรากฏให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริง เช่น เห็นพยับแดดเป็นนํ้า เห็นเชือกเป็นงู. | ภาพลวงตา น. ภาพที่ปรากฏให้เห็นผิดไปจากความเป็นจริง เช่น เห็นพยับแดดเป็นนํ้า เห็นเชือกเป็นงู. |
ภาพลักษณ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [พาบลัก] เป็นคำนาม หมายถึง ภาพที่เกิดจากความนึกคิดหรือที่คิดว่าควรจะเป็นเช่นนั้น, จินตภาพ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ image เขียนว่า ไอ-เอ็ม-เอ-จี-อี. | ภาพลักษณ์ [พาบลัก] น. ภาพที่เกิดจากความนึกคิดหรือที่คิดว่าควรจะเป็นเช่นนั้น, จินตภาพ ก็ว่า. (อ. image). |
ภาพเสมือน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาแสง เป็นคำนาม หมายถึง ภาพที่เกิดจากกระจกนูน กระจกเงาพื้นราบ หรือเลนส์เว้า ลักษณะเป็นภาพหัวตั้ง ใช้จอรับไม่ได้. | ภาพเสมือน (แสง) น. ภาพที่เกิดจากกระจกนูน กระจกเงาพื้นราบ หรือเลนส์เว้า ลักษณะเป็นภาพหัวตั้ง ใช้จอรับไม่ได้. |
ภาพหุ่นนิ่ง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาพวาดหรือภาพถ่ายของสิ่งที่ไม่เคลื่อนไหว. | ภาพหุ่นนิ่ง น. ภาพวาดหรือภาพถ่ายของสิ่งที่ไม่เคลื่อนไหว. |
ภาพย์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ภัพ, ดี, งาม, เหมาะ, ควร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภวฺย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-วอ-แหวน-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ภาพย์ (แบบ) ว. ภัพ, ดี, งาม, เหมาะ, ควร. (ส. ภวฺย). |
ภาม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เดช เช่น แสดงพาหุพิริยพลภาม. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาม น. เดช เช่น แสดงพาหุพิริยพลภาม. (สมุทรโฆษ). (ส.). |
ภาย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณ, สถานที่, เช่น ภายนอกกำแพง ภายในเมือง; ระยะเวลา เช่น ในภายหน้า จะแจ้งให้ทราบในภายหลัง. | ภาย น. บริเวณ, สถานที่, เช่น ภายนอกกำแพง ภายในเมือง; ระยะเวลา เช่น ในภายหน้า จะแจ้งให้ทราบในภายหลัง. |
ภายนอก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ข้างนอก. | ภายนอก น. ข้างนอก. |
ภายใน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ข้างใน. | ภายใน น. ข้างใน. |
ภายหน้า เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ข้างหน้า, ต่อไป, อนาคตกาล. | ภายหน้า น. ข้างหน้า, ต่อไป, อนาคตกาล. |
ภายหลัง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ข้างหลัง, ต่อจากนั้นไป. | ภายหลัง น. ข้างหลัง, ต่อจากนั้นไป. |
ภาร, ภาร, ภาระ ๑ ภาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ภาร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ภาระ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [พาน, พาระ] เป็นคำนาม หมายถึง ของหนัก, นํ้าหนัก; ธุระที่หนัก, การงานที่หนัก; หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่มีภาระในการเลี้ยงดูลูก ครูมีภาระในการอบรมสั่งสอนศิษย์, ความรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่ตายหมด พี่ต้องรับภาระส่งเสียเลี้ยงดูน้อง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาร, ภาร, ภาระ ๑ [พาน, พาระ] น. ของหนัก, นํ้าหนัก; ธุระที่หนัก, การงานที่หนัก; หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่มีภาระในการเลี้ยงดูลูก ครูมีภาระในการอบรมสั่งสอนศิษย์, ความรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่ตายหมด พี่ต้องรับภาระส่งเสียเลี้ยงดูน้อง. ว. หนัก. (ป.). |
ภารกิจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน | [พาระ] เป็นคำนาม หมายถึง งานที่จําต้องทํา. | ภารกิจ [พาระ] น. งานที่จําต้องทํา. |
ภารธุระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [พาระทุระ, พานทุระ] เป็นคำนาม หมายถึง การงานที่รับทํา, กิจการที่ขวนขวายประกอบ. | ภารธุระ [พาระทุระ, พานทุระ] น. การงานที่รับทํา, กิจการที่ขวนขวายประกอบ. |
ภารโรง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู | [พาน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รักษาและทําความสะอาดสถานที่. | ภารโรง [พาน] น. ผู้รักษาและทําความสะอาดสถานที่. |
ภาระจำยอม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ข้อผูกพันอันเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์จําต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินนั้น เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์อื่น เช่น ทางภาระจํายอม. | ภาระจำยอม (กฎ) น. ข้อผูกพันอันเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์จําต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินนั้น เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์อื่น เช่น ทางภาระจํายอม. |
ภาระติดพัน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ความผูกพันที่จะต้องกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง. | ภาระติดพัน น. ความผูกพันที่จะต้องกระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง. |
ภารดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [พาระ] เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคํา, คําพูด, ภาษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภารติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภารดี [พาระ] น. ถ้อยคํา, คําพูด, ภาษา. (ส. ภารติ). |
ภารต, ภารต ภารต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า ภารต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า | [พารด, พาระตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวอินเดีย; คนแสดงละคร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภารต, ภารต [พารด, พาระตะ] น. ชาวอินเดีย; คนแสดงละคร. (ส.). |
ภารตวิทยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภารตวิทยา น. วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น. (ส.). |
ภารตี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี | [ระ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี. | ภารตี [ระ] น. ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี. |
ภารยทรัพย์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [พาระยะซับ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของจะต้องรับภาระบางอย่างที่เกิดจากภาระจํายอม, คู่กับ สามยทรัพย์. | ภารยทรัพย์ [พาระยะซับ] (กฎ) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของจะต้องรับภาระบางอย่างที่เกิดจากภาระจํายอม, คู่กับ สามยทรัพย์. |
ภารยา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [พาระ, พานระ] เป็นคำนาม หมายถึง ภรรยา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภารยา [พาระ, พานระ] น. ภรรยา. (ส.). |
ภาระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | ดู ภาร, ภาร ภาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ภาร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | ภาระ ๑ ดู ภาร, ภาร. |
ภาระ ๒, ภารา ๑ ภาระ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ภารา ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนักมคธ ๒๐ ตุลา เป็น ๑ ภาระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภาระ ๒, ภารา ๑ น. ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนักมคธ ๒๐ ตุลา เป็น ๑ ภาระ. (ส. ภาร). |
ภารา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง พารา, เมือง. | ภารา ๒ (โบ) น. พารา, เมือง. |
ภาว, ภาวะ ภาว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ภาวะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | [พาวะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความมี, ความเป็น, ความปรากฏ, เช่น ภาวะน้ำท่วม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภาว, ภาวะ [พาวะ] น. ความมี, ความเป็น, ความปรากฏ, เช่น ภาวะน้ำท่วม ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ. (ป., ส.). |
ภาวศุทธิ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ | [พาวะสุดทิ] เป็นคำนาม หมายถึง ความบริสุทธิ์แห่งใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาวศุทธิ [พาวะสุดทิ] น. ความบริสุทธิ์แห่งใจ. (ส.). |
ภาวะฉุกเฉิน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะอันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร หรืออันอาจทําให้ประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม. | ภาวะฉุกเฉิน น. ภาวะอันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความปลอดภัยแห่งราชอาณาจักร หรืออันอาจทําให้ประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือภาวะการรบหรือการสงคราม. |
ภาวนา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [พาวะ] เป็นคำนาม หมายถึง การทําให้มีขึ้นให้เป็นขึ้นทางจิตใจ. เป็นคำกริยา หมายถึง สำรวมใจให้แน่วแน่เป็นสมาธิ เช่น สวดมนต์ภาวนา, สำรวมใจตั้งความปรารถนา เช่น นั่งภาวนาขอให้พระช่วย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาวนา [พาวะ] น. การทําให้มีขึ้นให้เป็นขึ้นทางจิตใจ. ก. สำรวมใจให้แน่วแน่เป็นสมาธิ เช่น สวดมนต์ภาวนา, สำรวมใจตั้งความปรารถนา เช่น นั่งภาวนาขอให้พระช่วย. (ป.). |
ภาวนามัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สําเร็จด้วยภาวนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาวนามัย ว. สําเร็จด้วยภาวนา. (ป.). |
ภาษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี | [พาด] เป็นคำกริยา หมายถึง พูด, กล่าว, บอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภาส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ. | ภาษ [พาด] ก. พูด, กล่าว, บอก. (ส.; ป. ภาส). |
ภาษก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่ | [พาสก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้พูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาษก [พาสก] น. ผู้พูด. (ส.). |
ภาษณ์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาษณ์ น. การพูด. (ส.). |
ภาษา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ของ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) ฉบับหอสมุดแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๗๗; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาคอมพิวเตอร์ หมายถึง กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษาจาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา. | ภาษา น. ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ; (โบ) คนหรือชาติที่พูดภาษานั้น ๆ เช่น มอญ ลาว ทะวาย นุ่งห่มและแต่งตัวตามภาษา. (พงศ. ร. ๓); (คอม) กลุ่มของชุดอักขระ สัญนิยม และกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ เช่น ภาษาซี ภาษาจาวา; โดยปริยายหมายความว่าสาระ, เรื่องราว, เนื้อความที่เข้าใจกัน, เช่น ตกใจจนพูดไม่เป็นภาษา เขียนไม่เป็นภาษา ทำงานไม่เป็นภาษา. |
ภาษาคำควบมากพยางค์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบหน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาวหลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ polysynthetic เขียนว่า พี-โอ-แอล-วาย-เอส-วาย-เอ็น-ที-เอช-อี-ที-ไอ-ซี language เขียนว่า แอล-เอ-เอ็น-จี-ยู-เอ-จี-อี . | ภาษาคำควบมากพยางค์ น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการประกอบหน่วยคำหลาย ๆ หน่วยเข้าเป็นคำเดียวกัน ทำให้คำหนึ่ง ๆ มีความยาวหลายพยางค์ เช่น ภาษาเวลส์ ภาษาเอสกิโม ภาษาอินเดียนแดง. (อ. polysynthetic language). |
ภาษาคำโดด เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ isolating เขียนว่า ไอ-เอส-โอ-แอล-เอ-ที-ไอ-เอ็น-จี language เขียนว่า แอล-เอ-เอ็น-จี-ยู-เอ-จี-อี . | ภาษาคำโดด น. ภาษาแบบที่ใช้คำที่มีลักษณะโดด ๆ คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปตามหน้าที่หรือตามความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์เกี่ยวเนื่องกับคำอื่น คำในภาษาคำโดดมักจะมีพยางค์เดียวเป็นส่วนมาก แต่ก็มีคำสองพยางค์และหลายพยางค์ด้วย เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม. (อ. isolating language). |
ภาษาคำติดต่อ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ agglutinative เขียนว่า เอ-จี-จี-แอล-ยู-ที-ไอ-เอ็น-เอ-ที-ไอ-วี-อี language เขียนว่า แอล-เอ-เอ็น-จี-ยู-เอ-จี-อี . | ภาษาคำติดต่อ น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. (อ. agglutinative language). |
ภาษาถิ่น เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพาะตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น. | ภาษาถิ่น น. ภาษาเฉพาะของท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีรูปลักษณะเฉพาะตัวทั้งถ้อยคำและสำเนียงเป็นต้น. |
ภาษาธรรม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมายที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น. | ภาษาธรรม น. ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมายที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น. |
ภาษาแบบแผน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า ขอเดชะ... และลงท้ายว่า ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า..., ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. | ภาษาแบบแผน น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า ขอเดชะ... และลงท้ายว่า ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า..., ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. |
ภาษาปาก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาพูดที่แสดงความคุ้นเคย ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพิธีรีตอง เช่น ตาแป๊ะ ตะบี้ตะบัน เทน้ำเทท่า. | ภาษาปาก น. ภาษาพูดที่แสดงความคุ้นเคย ไม่เหมาะที่จะใช้เป็นพิธีรีตอง เช่น ตาแป๊ะ ตะบี้ตะบัน เทน้ำเทท่า. |
ภาษามีวิภัตติปัจจัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ inflectional เขียนว่า ไอ-เอ็น-เอฟ-แอล-อี-ซี-ที-ไอ-โอ-เอ็น-เอ-แอล language เขียนว่า แอล-เอ-เอ็น-จี-ยู-เอ-จี-อี . | ภาษามีวิภัตติปัจจัย น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. (อ. inflectional language). |
ภาษาระดับทางการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาราชการ. | ภาษาระดับทางการ น. ภาษาราชการ. |
ภาษาระดับพิธีการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาแบบแผน. | ภาษาระดับพิธีการ น. ภาษาแบบแผน. |
ภาษาราชการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก; ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ. | ภาษาราชการ น. ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก; ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ. |
ภาษาศาสตร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล. | ภาษาศาสตร์ น. วิชาที่ศึกษาภาษาในแง่ต่าง ๆ เช่น เสียง โครงสร้าง ความหมาย โดยอาศัยวิธีการวิทยาศาสตร์ เช่น มีการตั้งสมมุติฐาน เก็บและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผล. |
ภาษิต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายเป็นคติ เช่น กงเกวียนกําเกวียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาษิต น. ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายเป็นคติ เช่น กงเกวียนกําเกวียน. (ส.). |
ภาษี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เงินที่รัฐหรือท้องถิ่นเรียกเก็บจากบุคคล เพื่อใช้จ่ายในการบริหารประเทศหรือท้องถิ่น เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีบํารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีมูลค่าเพิ่ม; ความได้เปรียบ เช่น เขามีภาษีกว่า. | ภาษี น. เงินที่รัฐหรือท้องถิ่นเรียกเก็บจากบุคคล เพื่อใช้จ่ายในการบริหารประเทศหรือท้องถิ่น เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีบํารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีมูลค่าเพิ่ม; ความได้เปรียบ เช่น เขามีภาษีกว่า. |
ภาษีเงินได้ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษีที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ได้รับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่น ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน. | ภาษีเงินได้ น. ภาษีที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ได้รับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่น ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็นเงิน. |
ภาษีบำรุงท้องที่ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ภาษีซึ่งบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือครอบครองอยู่ในที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชน มีหน้าที่ต้องเสียเป็นรายปีจากราคาปานกลางของที่ดินตามที่ทางราชการได้ประกาศกําหนดไว้ เพื่อให้เป็นรายได้ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ซึ่งที่ดินนั้นอยู่ในเขต. | ภาษีบำรุงท้องที่ (กฎ) น. ภาษีซึ่งบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลซึ่งมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินหรือครอบครองอยู่ในที่ดินที่ไม่เป็นกรรมสิทธิ์ของเอกชน มีหน้าที่ต้องเสียเป็นรายปีจากราคาปานกลางของที่ดินตามที่ทางราชการได้ประกาศกําหนดไว้ เพื่อให้เป็นรายได้ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ซึ่งที่ดินนั้นอยู่ในเขต. |
ภาษีมูลค่าเพิ่ม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-คอ-ควาย-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการผลิต การจําหน่าย หรือการให้บริการ ตัวอย่างเช่น ซื้อวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์มา ๑๐๐ บาท ผลิตเป็นสินค้าขายในราคา ๑๕๐ บาท ดังนี้ ก็จะเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะผลต่างจํานวน ๕๐ บาท เท่านั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ value-added เขียนว่า วี-เอ-แอล-ยู-อี-??45??-เอ-ดี-ดี-อี-ดี tax เขียนว่า ที-เอ-เอ็กซ์ . | ภาษีมูลค่าเพิ่ม (กฎ) น. ภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนของการผลิต การจําหน่าย หรือการให้บริการ ตัวอย่างเช่น ซื้อวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์มา ๑๐๐ บาท ผลิตเป็นสินค้าขายในราคา ๑๕๐ บาท ดังนี้ ก็จะเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะผลต่างจํานวน ๕๐ บาท เท่านั้น. (อ. value-added tax). |
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ภาษีที่เรียกเก็บจากผู้รับประเมินผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นปีละครั้งตามค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น. | ภาษีโรงเรือนและที่ดิน (กฎ) น. ภาษีที่เรียกเก็บจากผู้รับประเมินผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นปีละครั้งตามค่ารายปีของทรัพย์สินนั้น. |
ภาษีสรรพสามิต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [สับพะ, สันพะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ภาษีที่กรมสรรพสามิตเรียกเก็บจากสินค้าที่ผลิตหรือนําเข้าและการให้บริการในทางธุรกิจตามที่กฎหมายกําหนด เช่น ภาษีรถยนต์ ภาษีสุรา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ excise เขียนว่า อี-เอ็กซ์-ซี-ไอ-เอส-อี tax เขียนว่า ที-เอ-เอ็กซ์ . | ภาษีสรรพสามิต [สับพะ, สันพะ] (กฎ) น. ภาษีที่กรมสรรพสามิตเรียกเก็บจากสินค้าที่ผลิตหรือนําเข้าและการให้บริการในทางธุรกิจตามที่กฎหมายกําหนด เช่น ภาษีรถยนต์ ภาษีสุรา. (อ. excise tax). |
ภาส, ภาส ภาส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ ภาส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | [พาด, พาดสะ, พาสะ] เป็นคำนาม หมายถึง แสง, สว่าง, แจ้ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภาส, ภาส [พาด, พาดสะ, พาสะ] น. แสง, สว่าง, แจ้ง. (ป., ส.). |
ภาสกร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [พาดสะกอน, พาสะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง พระอาทิตย์. | ภาสกร [พาดสะกอน, พาสะกอน] น. พระอาทิตย์. |
ภาสวร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [พาสะวอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สว่าง, มีแสงพราว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาสวร [พาสะวอน] ว. สว่าง, มีแสงพราว. (ส.). |
ภาสน์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การพูด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาสน์ น. การพูด. (ป.). |
ภาสา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ภาษา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภาสา น. ภาษา. (ป.). |
ภาสุระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สว่าง, มีแสงพราวเช่นแก้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภาสุระ ว. สว่าง, มีแสงพราวเช่นแก้ว. (ส.). |
ภิกขา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การขออาหาร; อาหารที่ขอมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภิกฺษา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา. | ภิกขา น. การขออาหาร; อาหารที่ขอมา. (ป.; ส. ภิกฺษา). |
ภิกขาจาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การเที่ยวขอ, การเที่ยวขออาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภิกขาจาร น. การเที่ยวขอ, การเที่ยวขออาหาร. (ป.). |
ภิกขาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่ได้มาด้วยการขอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภิกขาหาร น. อาหารที่ได้มาด้วยการขอ. (ป.). |
ภิกขุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ภิกษุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภิกฺษุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ. | ภิกขุ น. ภิกษุ. (ป.; ส. ภิกฺษุ). |
ภิกขุนี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ภิกษุณี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภิกฺษุณี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี. | ภิกขุนี น. ภิกษุณี. (ป.; ส. ภิกฺษุณี). |
ภิกษา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การขออาหาร; อาหารที่ขอมา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภิกฺขา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา. | ภิกษา น. การขออาหาร; อาหารที่ขอมา. (ส.; ป. ภิกฺขา). |
ภิกษาจาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การเที่ยวขอ, การเที่ยวขออาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภิกฺขาจาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภิกษาจาร น. การเที่ยวขอ, การเที่ยวขออาหาร. (ส.; ป. ภิกฺขาจาร). |
ภิกษาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่ได้มาด้วยการขอ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภิกฺขาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภิกษาหาร น. อาหารที่ได้มาด้วยการขอ. (ส.; ป. ภิกฺขาหาร). |
ภิกษุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่บวชเป็นพระในพระพุทธศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภิกฺขุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ. | ภิกษุ น. ชายที่บวชเป็นพระในพระพุทธศาสนา. (ส.; ป. ภิกฺขุ). |
ภิกษุณี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่บวชเป็นพระในพระพุทธศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภิกฺขุนี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี. | ภิกษุณี น. หญิงที่บวชเป็นพระในพระพุทธศาสนา. (ส.; ป. ภิกฺขุนี). |
ภิงคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง หม้อนํ้า, เต้านํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤงฺคาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภิงคาร น. หม้อนํ้า, เต้านํ้า. (ป.; ส. ภฺฤงฺคาร). |
ภิงสนะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ากลัว, น่าหวาดเสียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภีษฺณ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-นอ-เนน. | ภิงสนะ ว. น่ากลัว, น่าหวาดเสียว. (ป.; ส. ภีษฺณ). |
ภิงสระ, ภิงสะ ภิงสระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ภิงสะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เหง้า, เหง้าบัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภิส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ และมาจากภาษาสันสกฤต พิส เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ. | ภิงสระ, ภิงสะ น. เหง้า, เหง้าบัว. (ป. ภิส; ส. พิส). |
ภิญโญ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-โอ-ยอ-หยิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภิยฺโย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต ภูย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ยอ-ยัก. | ภิญโญ ว. ยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป. (ป. ภิยฺโย; ส. ภูย). |
ภิญโญภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-โอ-ยอ-หยิง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ความยิ่ง, ความยิ่งขึ้นไป. | ภิญโญภาพ น. ความยิ่ง, ความยิ่งขึ้นไป. |
ภิตติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ฝาเรือน, กําแพง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภิตติ น. ฝาเรือน, กําแพง. (ป., ส.). |
ภิทะ, ภินท, ภินท์ ภิทะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ ภินท มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน ภินท์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด | [พินทะ] เป็นคำกริยา หมายถึง แตก, ทําลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภิทะ, ภินท, ภินท์ [พินทะ] ก. แตก, ทําลาย. (ป., ส.). |
ภิน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [พินนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แตกแล้ว, ทําลายแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภินฺน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู. | ภิน [พินนะ] ว. แตกแล้ว, ทําลายแล้ว. (ป., ส. ภินฺน). |
ภินชาติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างชาติ, ต่างชาติชั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภินฺนชาติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภินชาติ ว. ต่างชาติ, ต่างชาติชั้น. (ป., ส. ภินฺนชาติ). |
ภินวรรณ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-นอ-เนน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปลี่ยนสี, จาง, ตก, ซีด, (ใช้แก่สี); ต่างพวก, ต่างวรรณะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภินฺนวรฺณ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-นอ-หนู-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-นอ-เนน. | ภินวรรณ ว. เปลี่ยนสี, จาง, ตก, ซีด, (ใช้แก่สี); ต่างพวก, ต่างวรรณะ. (ส. ภินฺนวรฺณ). |
ภินทน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู | [พินทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง การแตก, การทําลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภินทน [พินทะนะ] น. การแตก, การทําลาย. (ป.). |
ภินทนาการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาการแตก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภินทนาการ น. อาการแตก. (ป.). |
ภินทนาการ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ภินทน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู. | ภินทนาการ ดู ภินทน. |
ภิยโย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ภิญโญ, ยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภูย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ยอ-ยัก. | ภิยโย ว. ภิญโญ, ยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป. (ป.; ส. ภูย). |
ภิยโยภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ภิญโญภาพ, ความยิ่ง, ความยิ่งขึ้นไป. | ภิยโยภาพ น. ภิญโญภาพ, ความยิ่ง, ความยิ่งขึ้นไป. |
ภิรมย์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู อภิรมย์ เขียนว่า ออ-อ่าง-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด. | ภิรมย์ ดู อภิรมย์. |
ภิรมย์สุรางค์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | ภิรมย์สุรางค์ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
ภิษัช เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง หมอ, แพทย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภิษชฺ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ. | ภิษัช น. หมอ, แพทย์. (ส. ภิษชฺ). |
ภิสะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เหง้า, เหง้าบัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต พิส เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ. | ภิสะ น. เหง้า, เหง้าบัว. (ป.; ส. พิส). |
ภิสัก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง หมอ, แพทย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภิสกฺก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-กอ-ไก่ และมาจากภาษาสันสกฤต ภิษชฺ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ. | ภิสัก น. หมอ, แพทย์. (ป. ภิสกฺก; ส. ภิษชฺ). |
ภีตะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง กลัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภีตะ ก. กลัว. (ป., ส.). |
ภีมะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ากลัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภีมะ ว. น่ากลัว. (ป., ส.). |
ภีรุ, ภีรุก ภีรุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ภีรุก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | [พีรุกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กลัว, ขี้ขลาด. เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หญิง เช่น ภีรุอวตาร ว่า อวตารเป็นผู้หญิง. ในวงเล็บ มาจาก ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภีรุ, ภีรุก [พีรุกะ] ว. กลัว, ขี้ขลาด. น. ผู้หญิง เช่น ภีรุอวตาร ว่า อวตารเป็นผู้หญิง. (แช่งนํ้า). (ป., ส.). |
ภีรุกชาติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [พีรุกะชาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขี้ขลาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภีรุกชาติ [พีรุกะชาด] ว. ขี้ขลาด. (ป.). |
ภุกต, ภุกต์ ภุกต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า ภุกต์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [พุกตะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งกินแล้ว, ซึ่งครองแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภุตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | ภุกต, ภุกต์ [พุกตะ] ว. ซึ่งกินแล้ว, ซึ่งครองแล้ว. (ส.; ป. ภุตฺต). |
ภุกตเศษ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-สอ-รือ-สี | เป็นคำนาม หมายถึง เดน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภุตฺตเสส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สอ-เสือ. | ภุกตเศษ น. เดน. (ส.; ป. ภุตฺตเสส). |
ภุกตาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่กินแล้ว; ผู้กินอาหารแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภุตฺตาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภุกตาหาร น. อาหารที่กินแล้ว; ผู้กินอาหารแล้ว. (ส.; ป. ภุตฺตาหาร). |
ภุกตาหาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ภุกต, ภุกต์ ภุกต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า ภุกต์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด . | ภุกตาหาร ดู ภุกต, ภุกต์. |
ภุขัน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง อาวุธชนิดหนึ่ง. | ภุขัน น. อาวุธชนิดหนึ่ง. |
ภุช ๑, ภุช ภุช ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ภุช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง | [พุด, พุชะ] เป็นคำนาม หมายถึง แขน; งวงช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภุช ๑, ภุช [พุด, พุชะ] น. แขน; งวงช้าง. (ป., ส.). |
ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะ ภุชคะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ ภุชงค์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ภุชงคมะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | [พุชะคะ, พุชง, พุชงคะมะ] เป็นคำนาม หมายถึง งู, นาค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะ [พุชะคะ, พุชง, พุชงคะมะ] น. งู, นาค. (ป., ส.). |
ภุชงคประยาต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | [พุชงคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์แบบหนึ่งมี ๑๒ คํา แบ่งเป็น ๒ วรรค มีลหุต้นวรรคและกลางวรรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภุชงฺคปฺปยาต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-พิน-ทุ-ปอ-ปลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า. | ภุชงคประยาต [พุชงคะ] น. ชื่อฉันท์แบบหนึ่งมี ๑๒ คํา แบ่งเป็น ๒ วรรค มีลหุต้นวรรคและกลางวรรค. (ส.; ป. ภุชงฺคปฺปยาต). |
ภุชสมโภค เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย | [พุชะสมโพก] เป็นคำนาม หมายถึง การสวมกอด, การกอดรัด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภุชสมโภค [พุชะสมโพก] น. การสวมกอด, การกอดรัด. (ส.). |
ภุชา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แขน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภุชา น. แขน. (ส.). |
ภุช ๒, ภุชะ ภุช ความหมายที่ ๒ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ภุชะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | [พุด, พุชะ] เป็นคำกริยา หมายถึง กิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภุช ๒, ภุชะ [พุด, พุชะ] ก. กิน. (ป., ส.). |
ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะ ภุชคะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ ภุชงค์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ภุชงคมะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | ดู ภุช ๑, ภุช ภุช ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ภุช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง . | ภุชคะ, ภุชงค์, ภุชงคมะ ดู ภุช ๑, ภุช. |
ภุชงคประยาต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-งอ-งู-คอ-ควาย-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | ดู ภุช ๑, ภุช ภุช ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ภุช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง . | ภุชงคประยาต ดู ภุช ๑, ภุช. |
ภุชา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | ดู ภุช ๑, ภุช ภุช ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ภุช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง . | ภุชา ดู ภุช ๑, ภุช. |
ภุญชะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง กิน, กินอาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภุญชะ ก. กิน, กินอาหาร. (ป.). |
ภุต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า | [พุด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งกินแล้ว, ซึ่งครองแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภุตฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต ภุกฺต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | ภุต [พุด] ว. ซึ่งกินแล้ว, ซึ่งครองแล้ว. (ป. ภุตฺต; ส. ภุกฺต). |
ภุม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | [พุม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ เช่น ภุมมาน ว่า ไม่มี, ภุมบาน ว่า ไม่ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร พุํ เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-นิก-คะ-หิด. | ภุม ๑ [พุม] ว. ไม่ เช่น ภุมมาน ว่า ไม่มี, ภุมบาน ว่า ไม่ได้. (ข. พุํ). |
ภุม ๒, ภุม ๑ ภุม ความหมายที่ ๒ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ภุม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | [พุม, พุมมะ] เป็นคำนาม หมายถึง ดาวอังคาร; วันอังคาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภุมฺม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต เภาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ภุม ๒, ภุม ๑ [พุม, พุมมะ] น. ดาวอังคาร; วันอังคาร. (ป. ภุมฺม; ส. เภาม). |
ภุมรัตน์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [พุมมะรัด] เป็นคำนาม หมายถึง หินปะการัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เภามรตฺน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-นอ-หนู. | ภุมรัตน์ [พุมมะรัด] น. หินปะการัง. (ส. เภามรตฺน). |
ภุมวาร, ภุมมวาร ภุมวาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ภุมมวาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [พุมมะวาน] เป็นคำนาม หมายถึง วันอังคาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภุมฺมวาร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ภุมวาร, ภุมมวาร [พุมมะวาน] น. วันอังคาร. (ป. ภุมฺมวาร). |
ภุม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | [พุมมะ] เป็นคำนาม หมายถึง พื้นดิน, ภาคพื้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภุมฺม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | ภุม ๒ [พุมมะ] น. พื้นดิน, ภาคพื้น. (ป. ภุมฺม). |
ภุมเทวดา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาพวกหนึ่งที่สิงสถิตอยู่บนพื้นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ภุมฺม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + เทวตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา . | ภุมเทวดา น. เทวดาพวกหนึ่งที่สิงสถิตอยู่บนพื้นดิน. (ป. ภุมฺม + เทวตา). |
ภุมมะ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. ในวงเล็บ ดู ยาม เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ภุมมะ (โหร) น. ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. (ดู ยาม). |
ภุมโม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางคืน. ในวงเล็บ ดู ยาม เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ภุมโม (โหร) น. ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางคืน. (ดู ยาม). |
ภุมระ, ภุมรา, ภุมริน, ภุมรี, ภุมเรศ ภุมระ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ภุมรา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ภุมริน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ภุมรี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ภุมเรศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา | [พุมมะ] เป็นคำนาม หมายถึง ภมร, แมลงผึ้ง, แมลงภู่. | ภุมระ, ภุมรา, ภุมริน, ภุมรี, ภุมเรศ [พุมมะ] น. ภมร, แมลงผึ้ง, แมลงภู่. |
ภุส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ | [พุด] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวลีบ, แกลบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต พุส เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้า, ยิ่ง, มาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภฺฤศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-พิน-ทุ-รอ-รึ-สอ-สา-ลา. | ภุส [พุด] น. ข้าวลีบ, แกลบ. (ป.; ส. พุส). ว. กล้า, ยิ่ง, มาก. (ส. ภฺฤศ). |
ภู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ดิน, แผ่นดิน, โลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภู ๑ น. ดิน, แผ่นดิน, โลก. (ป., ส.). |
ภูดล เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง พื้นโลก, แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูดล น. พื้นโลก, แผ่นดิน. (ส.). |
ภูธร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ทอ-ทง-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง พระราชา; ภูเขา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูธร น. พระราชา; ภูเขา. (ส.). |
ภูธเรศ, ภูธเรศวร, ภูนาถ, ภูนายก, ภูเนตุ, ภูบดินทร์, ภูบดี, ภูบาล, ภูเบนทร์, ภูเบศ, ภูเบศวร์, ภูป, ภูภุช ภูธเรศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา ภูธเรศวร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ ภูนาถ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง ภูนายก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ภูเนตุ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ภูบดินทร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ภูบดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ภูบาล เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ภูเบนทร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ภูเบศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-สา-ลา ภูเบศวร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ภูป เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา ภูภุช เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูธเรศ, ภูธเรศวร, ภูนาถ, ภูนายก, ภูเนตุ, ภูบดินทร์, ภูบดี, ภูบาล, ภูเบนทร์, ภูเบศ, ภูเบศวร์, ภูป, ภูภุช น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ภู เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม, เขา. | ภู ๒ น. เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม, เขา. |
ภูเขา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง พื้นที่ที่มีระดับสูงขึ้นจากบริเวณรอบ ๆ ตั้งแต่ ๖๐๐ เมตรขึ้นไป. | ภูเขา น. พื้นที่ที่มีระดับสูงขึ้นจากบริเวณรอบ ๆ ตั้งแต่ ๖๐๐ เมตรขึ้นไป. |
ภูเขาน้ำแข็ง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ก้อนนํ้าแข็งขนาดใหญ่ที่แตกจากธารนํ้าแข็งแถบขั้วโลกล่องลอยไปในทะเล. | ภูเขาน้ำแข็ง น. ก้อนนํ้าแข็งขนาดใหญ่ที่แตกจากธารนํ้าแข็งแถบขั้วโลกล่องลอยไปในทะเล. |
ภูเขาไฟ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน | เป็นคำนาม หมายถึง ภูเขาที่เกิดขึ้นโดยการปะทุของหินหนืดร้อนแรงดันสูงใต้เปลือกโลก. | ภูเขาไฟ น. ภูเขาที่เกิดขึ้นโดยการปะทุของหินหนืดร้อนแรงดันสูงใต้เปลือกโลก. |
ภูผา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เขาหิน. | ภูผา น. เขาหิน. |
ภู่ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงหลายชนิดซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายผึ้ง ต่างกันที่ขนปกคลุมลําตัวมีลักษณะเป็นแฉก ไม่เป็นขนเดี่ยว ๆ อวัยวะของปากคู่หนึ่งยื่นยาวออกมาคล้ายหนวด ขาหลังตรงบริเวณส้นเท้ามีหนามแหลมข้างละ ๑ อัน ไม่มีถุงเก็บเกสรเหมือนผึ้ง มักอาศัยอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือรวม ๒๓ คู่ แต่ไม่เป็นกลุ่มใหญ่เหมือนผึ้งที่พบบ่อยอยู่ในสกุล Xylocopa วงศ์ Xylocopidae เช่น ชนิด X. latipes และ ชนิด X. caeruleus, แมลงภู่ ก็เรียก. | ภู่ น. ชื่อแมลงหลายชนิดซึ่งมีรูปร่างลักษณะคล้ายผึ้ง ต่างกันที่ขนปกคลุมลําตัวมีลักษณะเป็นแฉก ไม่เป็นขนเดี่ยว ๆ อวัยวะของปากคู่หนึ่งยื่นยาวออกมาคล้ายหนวด ขาหลังตรงบริเวณส้นเท้ามีหนามแหลมข้างละ ๑ อัน ไม่มีถุงเก็บเกสรเหมือนผึ้ง มักอาศัยอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือรวม ๒๓ คู่ แต่ไม่เป็นกลุ่มใหญ่เหมือนผึ้งที่พบบ่อยอยู่ในสกุล Xylocopa วงศ์ Xylocopidae เช่น ชนิด X. latipes และ ชนิด X. caeruleus, แมลงภู่ ก็เรียก. |
ภูโช เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-โอ-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง งวงช้าง เช่น ภูโชพรายแพร่งเหลื้อม โสภา เพรอศแฮ. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภุช เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง. | ภูโช น. งวงช้าง เช่น ภูโชพรายแพร่งเหลื้อม โสภา เพรอศแฮ. (ยวนพ่าย). (ป., ส. ภุช). |
ภูดาด เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เสมียน. | ภูดาด (โบ) น. เสมียน. |
ภูต, ภูต ภูต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า ภูต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า | [พูด, พูตะ] เป็นคำนาม หมายถึง ผี, มักใช้เข้าคู่กันเป็น ภูตผี. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งเกิดแล้ว, ซึ่งเป็นแล้ว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภูต, ภูต [พูด, พูตะ] น. ผี, มักใช้เข้าคู่กันเป็น ภูตผี. ว. ซึ่งเกิดแล้ว, ซึ่งเป็นแล้ว. (ป., ส.). |
ภูตคาม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | [พูตะ] เป็นคำนาม หมายถึง พืชพันธุ์อันอยู่กับที่ มี ๕ ชนิด คือ พืชที่เกิดจากเหง้า ๑ ที่เกิดจากต้น ๑ ที่เกิดจากข้อ ๑ ที่เกิดจากยอด ๑ และที่เกิดจากเมล็ด ๑, คู่กับ พืชคาม คือ พืชพันธุ์ที่แม้จะถูกพรากจากที่แล้ว ก็ยังจะเป็นได้อีก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภูตคฺราม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ว่า สิ่งทั้งปวง, สิ่งที่เกิดแล้วทั้งปวง . | ภูตคาม [พูตะ] น. พืชพันธุ์อันอยู่กับที่ มี ๕ ชนิด คือ พืชที่เกิดจากเหง้า ๑ ที่เกิดจากต้น ๑ ที่เกิดจากข้อ ๑ ที่เกิดจากยอด ๑ และที่เกิดจากเมล็ด ๑, คู่กับ พืชคาม คือ พืชพันธุ์ที่แม้จะถูกพรากจากที่แล้ว ก็ยังจะเป็นได้อีก. (ป.; ส. ภูตคฺราม ว่า สิ่งทั้งปวง, สิ่งที่เกิดแล้วทั้งปวง). |
ภูตบดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [พูตะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าแห่งผี, เจ้าแห่งสรรพสัตว์, (หมายถึง พระศิวะ). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภูตปติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภูตบดี [พูตะบอดี] น. เจ้าแห่งผี, เจ้าแห่งสรรพสัตว์, (หมายถึง พระศิวะ). (ส. ภูตปติ). |
ภูตรูป เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | [พูตะรูบ] เป็นคำนาม หมายถึง รูปที่เกิดแล้ว ได้แก่ ธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ซึ่งคุมกันเข้าเป็นมนุษย์และสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภูตรูป [พูตะรูบ] น. รูปที่เกิดแล้ว ได้แก่ ธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ซึ่งคุมกันเข้าเป็นมนุษย์และสัตว์. (ป., ส.). |
ภูเตศวร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง พระศิวะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูเตศวร น. พระศิวะ. (ส.). |
ภูติ, ภูตี ภูติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ภูตี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี | [พูติ, พูตี] เป็นคำนาม หมายถึง ความรุ่งเรือง, ความมั่งคั่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ภูติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ภูติ, ภูตี [พูติ, พูตี] น. ความรุ่งเรือง, ความมั่งคั่ง. (ป., ส. ภูติ). |
ภูเตศวร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | ดู ภูต, ภูต ภูต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า ภูต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า . | ภูเตศวร ดู ภูต, ภูต. |
ภูม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง บ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | ภูม น. บ้าน. (ข.). |
ภูมิ ๑, ภูมิ ภูมิ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ ภูมิ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | [พูม, พูมิ, พูมมิ] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, ที่ดิน. | ภูมิ ๑, ภูมิ [พูม, พูมิ, พูมมิ] น. แผ่นดิน, ที่ดิน. |
ภูมิธร, ภูมินทร์, ภูมินาถ, ภูมิบดี ภูมิธร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ ภูมินทร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ภูมินาถ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง ภูมิบดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูมิธร, ภูมินทร์, ภูมินาถ, ภูมิบดี น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ภูมิบริมาณ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-เนน | [พูมิ] เป็นคำนาม หมายถึง มาตราเนื้อที่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูมิบริมาณ [พูมิ] น. มาตราเนื้อที่. (ส.). |
ภูมิบาล, ภูมิภุช ภูมิบาล เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ภูมิภุช เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง | [พูมิ] เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูมิบาล, ภูมิภุช [พูมิ] น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ภูมิประเทศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา | [พูมิ] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะทางกายภาพและทางธรรมชาติของแผ่นดิน รวมถึงความสูงตํ่าของผิวโลก ทะเลสาบ ถนนหนทาง และเมืองต่าง ๆ. | ภูมิประเทศ [พูมิ] น. ลักษณะทางกายภาพและทางธรรมชาติของแผ่นดิน รวมถึงความสูงตํ่าของผิวโลก ทะเลสาบ ถนนหนทาง และเมืองต่าง ๆ. |
ภูมิภาค เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | [พูมมิ, พูมิ] เป็นคำนาม หมายถึง หัวเมือง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในภูมิศาสตร์ หมายถึง อาณาบริเวณที่มีลักษณะบางอย่างเช่นลักษณะทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง คล้ายคลึงกันจนสามารถจัดเข้าพวกกันได้ และแตกต่างกับบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ. | ภูมิภาค [พูมมิ, พูมิ] น. หัวเมือง; (ภูมิ) อาณาบริเวณที่มีลักษณะบางอย่างเช่นลักษณะทางธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง คล้ายคลึงกันจนสามารถจัดเข้าพวกกันได้ และแตกต่างกับบริเวณใกล้เคียงโดยรอบ. |
ภูมิรัฐศาสตร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [พูมิ] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาในหมวดสังคมศาสตร์สาขาหนึ่ง มีลักษณะคล้ายวิชาภูมิศาสตร์การเมือง แต่เน้นหนักไปทางการเมือง. | ภูมิรัฐศาสตร์ [พูมิ] น. วิชาในหมวดสังคมศาสตร์สาขาหนึ่ง มีลักษณะคล้ายวิชาภูมิศาสตร์การเมือง แต่เน้นหนักไปทางการเมือง. |
ภูมิลำเนา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [พูม, พูมิ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ถิ่นที่อยู่อันเป็นแหล่งสําคัญ. | ภูมิลำเนา [พูม, พูมิ] (กฎ) น. ถิ่นที่อยู่อันเป็นแหล่งสําคัญ. |
ภูมิศาสตร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [พูมิ] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในดินแดนต่าง ๆ ของโลก. | ภูมิศาสตร์ [พูมิ] น. วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในดินแดนต่าง ๆ ของโลก. |
ภูมิศาสตร์กายภาพ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่แวดล้อมตัวมนุษย์. | ภูมิศาสตร์กายภาพ น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่แวดล้อมตัวมนุษย์. |
ภูมิศาสตร์การเกษตร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับการกสิกรรม การเลี้ยงสัตว์ การป่าไม้ และการประมง. | ภูมิศาสตร์การเกษตร น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับการกสิกรรม การเลี้ยงสัตว์ การป่าไม้ และการประมง. |
ภูมิศาสตร์การเมือง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับการเมืองของรัฐต่าง ๆ ในโลก. | ภูมิศาสตร์การเมือง น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับการเมืองของรัฐต่าง ๆ ในโลก. |
ภูมิศาสตร์ประชากร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับประชากรในถิ่นต่าง ๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรนั้น ๆ เช่น การกระจาย การย้ายถิ่นฐาน ความหนาแน่น. | ภูมิศาสตร์ประชากร น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาเน้นหนักในเรื่องเกี่ยวกับประชากรในถิ่นต่าง ๆ ของโลก โดยพิจารณาถึงสภาพทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อความเป็นอยู่ของประชากรนั้น ๆ เช่น การกระจาย การย้ายถิ่นฐาน ความหนาแน่น. |
ภูมิศาสตร์ประวัติ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงประวัติการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางภูมิศาสตร์ของดินแดนใดดินแดนหนึ่งตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน, ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ ก็เรียก. | ภูมิศาสตร์ประวัติ น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงประวัติการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทางภูมิศาสตร์ของดินแดนใดดินแดนหนึ่งตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงปัจจุบัน, ภูมิศาสตร์เชิงประวัติ ก็เรียก. |
ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวกับการครองชีพของมนุษย์ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติการผลิต การใช้. | ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ น. วิชาภูมิศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาถึงกิจกรรมทางเศรษฐกิจซึ่งเกี่ยวกับการครองชีพของมนุษย์ ได้แก่ ทรัพยากรธรรมชาติการผลิต การใช้. |
ภูมิอากาศ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง อากาศประจำถิ่น, ลักษณะอากาศเฉลี่ยของภูมิภาคแห่งใดแห่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งอาจเป็นเดือน เป็นปีหรือเป็นศตวรรษก็ได้. | ภูมิอากาศ น. อากาศประจำถิ่น, ลักษณะอากาศเฉลี่ยของภูมิภาคแห่งใดแห่งหนึ่งในช่วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งอาจเป็นเดือน เป็นปีหรือเป็นศตวรรษก็ได้. |
ภูมิ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๒ | [พูม] เป็นคำนาม หมายถึง พื้น, ชั้น, พื้นเพ; ความรู้ เช่น อวดภูมิ อมภูมิ. | ภูมิ ๒ [พูม] น. พื้น, ชั้น, พื้นเพ; ความรู้ เช่น อวดภูมิ อมภูมิ. |
ภูมิธรรม เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [พูมทํา] เป็นคำนาม หมายถึง พื้นจิตใจที่มีคุณธรรม. | ภูมิธรรม [พูมทํา] น. พื้นจิตใจที่มีคุณธรรม. |
ภูมิปัญญา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา | [พูม] เป็นคำนาม หมายถึง พื้นความรู้ความสามารถ. | ภูมิปัญญา [พูม] น. พื้นความรู้ความสามารถ. |
ภูมิรู้ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | [พูม] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้, พื้นความรู้. | ภูมิรู้ [พูม] น. ความรู้, พื้นความรู้. |
ภูมิ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๓ | [พูม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สง่า, โอ่โถง, องอาจ, ผึ่งผาย, เช่น วางภูมิ. | ภูมิ ๓ [พูม] ว. สง่า, โอ่โถง, องอาจ, ผึ่งผาย, เช่น วางภูมิ. |
ภูมิใจ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ. | ภูมิใจ ก. กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ. |
ภูมิฐาน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [พูมถาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สง่าผ่าเผย, โก้หรู, เช่น แต่งตัวภูมิฐาน. | ภูมิฐาน [พูมถาน] ว. สง่าผ่าเผย, โก้หรู, เช่น แต่งตัวภูมิฐาน. |
ภูมิคุ้มกัน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [พูม] เป็นคำนาม หมายถึง สภาพที่ร่างกายมีแรงต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย, ภูมิต้านทาน ก็เรียก. | ภูมิคุ้มกัน [พูม] น. สภาพที่ร่างกายมีแรงต่อต้านเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย, ภูมิต้านทาน ก็เรียก. |
ภูมิธร, ภูมินทร์, ภูมินาถ, ภูมิบดี ภูมิธร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ ภูมินทร์ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด ภูมินาถ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง ภูมิบดี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | ดู ภูมิ ๑, ภูมิ ภูมิ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ ภูมิ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ . | ภูมิธร, ภูมินทร์, ภูมินาถ, ภูมิบดี ดู ภูมิ ๑, ภูมิ. |
ภูมิแพ้ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ไม้-โท | [พูม] เป็นคำนาม หมายถึง สภาพที่ร่างกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติต่อสิ่งที่ตามธรรมดาเมื่อเข้าสู่ร่างกายคนทั่ว ๆ ไปแล้วจะไม่มีอันตรายใด ๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพ้สิ่งนั้นเท่านั้น. | ภูมิแพ้ [พูม] น. สภาพที่ร่างกายมีปฏิกิริยาผิดปรกติต่อสิ่งที่ตามธรรมดาเมื่อเข้าสู่ร่างกายคนทั่ว ๆ ไปแล้วจะไม่มีอันตรายใด ๆ จะมีอันตรายก็เฉพาะในคนบางคนที่แพ้สิ่งนั้นเท่านั้น. |
ภูมี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. | ภูมี น. พระเจ้าแผ่นดิน. |
ภูมีศวร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูมีศวร น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ภูรโลก เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | [พูระโลก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแผ่นดินเมื่อพูดเกี่ยวกับฟ้าและสวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูรโลก [พูระโลก] น. ชื่อแผ่นดินเมื่อพูดเกี่ยวกับฟ้าและสวรรค์. (ส.). |
ภูริ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ภูริ ๑ ว. มาก. (ป., ส.). |
ภูริ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภูริ ๒ น. แผ่นดิน. (ป.). |
ภูริ ๓, ภูรี ภูริ ความหมายที่ ๓ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ ภูรี เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ความฉลาด, ปัญญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภูริ ๓, ภูรี น. ความฉลาด, ปัญญา. (ป.). |
ภูว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน | [พูวะ] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภุว เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน. | ภูว [พูวะ] น. แผ่นดิน. (ส. ภุว). |
ภูวดล เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง พื้นแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ภูวดล น. พื้นแผ่นดิน. (ป.). |
ภูวนาถ, ภูวเนตร, ภูวไนย ภูวนาถ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง ภูวเนตร เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ภูวไนย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. | ภูวนาถ, ภูวเนตร, ภูวไนย น. พระเจ้าแผ่นดิน. |
ภูวน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู | [วะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง โลก, แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภุวน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-นอ-หนู. | ภูวน [วะนะ] น. โลก, แผ่นดิน. (ส., ป. ภุวน). |
ภูวนตรัย, ภูวนัตตรัย ภูวนตรัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ภูวนัตตรัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง โลกสาม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ภูวนตรัย, ภูวนัตตรัย น. โลกสาม. (ส.). |
ภูวนตรัย, ภูวนัตตรัย ภูวนตรัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ภูวนัตตรัย เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | ดู ภูวน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-วอ-แหวน-นอ-หนู. | ภูวนตรัย, ภูวนัตตรัย ดู ภูวน. |
ภูษณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-นอ-เนน | [พูสะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภูสน เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-นอ-หนู. | ภูษณ [พูสะนะ] น. เครื่องประดับ. (ส.; ป. ภูสน). |
ภูษณพาส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องแต่งตัวและเสื้อผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ภูษณวาส เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ. | ภูษณพาส น. เครื่องแต่งตัวและเสื้อผ้า. (ส. ภูษณวาส). |
ภูษา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องนุ่งห่ม, ผ้าทรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภูสา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา ว่า เครื่องประดับ . | ภูษา น. เครื่องนุ่งห่ม, ผ้าทรง. (ส.; ป. ภูสา ว่า เครื่องประดับ). |
ภูษามาลา เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น เรียกว่า เจ้าพนักงานภูษามาลา, โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา. | ภูษามาลา น. ข้าราชการในราชสํานักมีหน้าที่ถวายทรงพระเครื่องใหญ่ ถวายพระกลด ถวายสุกํา ทําสุกํา เปลื้องเครื่องสุกําศพพระบรมศพ พระศพ และเปลื้องเครื่องสุกําศพที่ได้รับพระราชทานโกศ เป็นต้น เรียกว่า เจ้าพนักงานภูษามาลา, โบราณมีหน้าที่ถวายเครื่องต้นด้วย, ในกฎหมายตราสามดวงเรียกแยกเป็น พนักงานพระภูษา พนักงานพระมาลา. |
ภูษาโยง เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แถบผ้าที่โยงจากปากโกศหรือหีบศพสําหรับคลี่ทอดไปยังพระสงฆ์เมื่อทําพิธีกรรม เช่น บังสุกุล หรือโยงจากราชรถประดิษฐานพระโกศไปยังรถนําหน้าพระศพ. | ภูษาโยง น. แถบผ้าที่โยงจากปากโกศหรือหีบศพสําหรับคลี่ทอดไปยังพระสงฆ์เมื่อทําพิธีกรรม เช่น บังสุกุล หรือโยงจากราชรถประดิษฐานพระโกศไปยังรถนําหน้าพระศพ. |
ภูษิต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ประดับ, แต่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ภูสิต เขียนว่า พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า. | ภูษิต ก. ประดับ, แต่ง. (ส.; ป. ภูสิต). |
เภกะ, เภคะ เภกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เภคะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง กบ (สัตว์). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เภกะ, เภคะ น. กบ (สัตว์). (ป., ส.). |
เภตรา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [เพตฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง เรือ, เรือสําเภา. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต วาหิตฺร เขียนว่า วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ เภฏ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ตอ-ปะ-ตัก ว่า เรือ . | เภตรา [เพตฺรา] น. เรือ, เรือสําเภา. (เทียบ ส. วาหิตฺร, เภฏ ว่า เรือ). |
เภท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง การแบ่ง, การแตกแยก, การทำลาย, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส, เช่น สามัคคีเภท สังฆเภท; ส่วน, ภาค; ความแตกต่าง, ความแปลก; ชนิด, อย่าง. เป็นคำกริยา หมายถึง แตก, หัก, ทําลาย, พัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เภท น. การแบ่ง, การแตกแยก, การทำลาย, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส, เช่น สามัคคีเภท สังฆเภท; ส่วน, ภาค; ความแตกต่าง, ความแปลก; ชนิด, อย่าง. ก. แตก, หัก, ทําลาย, พัง. (ป., ส.). |
เภทภัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [เพดไพ] เป็นคำนาม หมายถึง ภัยต่าง ๆ. | เภทภัย [เพดไพ] น. ภัยต่าง ๆ. |
เภทุบาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง อุบายที่ทําให้เขาแตกกัน, เล่ห์เหลี่ยม, กลอุบาย. | เภทุบาย น. อุบายที่ทําให้เขาแตกกัน, เล่ห์เหลี่ยม, กลอุบาย. |
เภทุบาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ดู เภท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน. | เภทุบาย ดู เภท. |
เภรวะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | [ระ] เป็นคำนาม หมายถึง ความขลาด, ความกลัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เภรวะ [ระ] น. ความขลาด, ความกลัว. (ป.). |
เภริ, เภรี เภริ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ เภรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง กลอง เช่น อินทเภรี ชัยเภรี, บางทีใช้เป็น ไภรี หรือ ไภริน ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เภริ, เภรี น. กลอง เช่น อินทเภรี ชัยเภรี, บางทีใช้เป็น ไภรี หรือ ไภริน ก็มี. (ป.). |
เภสัช, เภสัช เภสัช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง เภสัช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง | [เพสัด, เพสัดชะ] เป็นคำนาม หมายถึง ยาแก้โรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เภสชฺช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต ไภษชฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-สำ-เพา-สอ-รือ-สี-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | เภสัช, เภสัช [เพสัด, เพสัดชะ] น. ยาแก้โรค. (ป. เภสชฺช; ส. ไภษชฺย). |
เภสัชกร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [เพสัดชะกอน] เป็นคำนาม หมายถึง แพทย์ปรุงยา, ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเภสัชกรรม. | เภสัชกร [เพสัดชะกอน] น. แพทย์ปรุงยา, ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเภสัชกรรม. |
เภสัชกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [เพสัดชะกํา] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมเครื่องยา ตัวยาจากธรรมชาติหรือการสังเคราะห์ให้เป็นยาสําเร็จรูป. | เภสัชกรรม [เพสัดชะกํา] น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมเครื่องยา ตัวยาจากธรรมชาติหรือการสังเคราะห์ให้เป็นยาสําเร็จรูป. |
เภสัชเคมี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | [เพสัด] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทําสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. | เภสัชเคมี [เพสัด] น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทําสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. |
เภสัชพฤกษศาสตร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-พอ-พาน-รอ-รึ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [เพสัดชะพฺรึกสะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยพืชที่ใช้เป็นยา. | เภสัชพฤกษศาสตร์ [เพสัดชะพฺรึกสะสาด] น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยพืชที่ใช้เป็นยา. |
เภสัชเพลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [เพสัดเพ] เป็นคำนาม หมายถึง หมากพลูบุหรี่ที่ถวายพระ. | เภสัชเพลา [เพสัดเพ] น. หมากพลูบุหรี่ที่ถวายพระ. |
เภสัชวิทยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [เพสัดชะวิดทะยา, เพสัดวิดทะยา] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยฤทธิ์ของยาหรือของสารที่มีต่อสิ่งมีชีวิต. | เภสัชวิทยา [เพสัดชะวิดทะยา, เพสัดวิดทะยา] น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยฤทธิ์ของยาหรือของสารที่มีต่อสิ่งมีชีวิต. |
เภสัชเวท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน | [เพสัดชะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยยาที่ได้จากพืช สัตว์ และแร่ธาตุโดยตรง หรือสารที่เกิดจากสิ่งเหล่านั้น, วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยสมุนไพร. | เภสัชเวท [เพสัดชะเวด] น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยยาที่ได้จากพืช สัตว์ และแร่ธาตุโดยตรง หรือสารที่เกิดจากสิ่งเหล่านั้น, วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยสมุนไพร. |
เภสัชศาสตร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [เพสัดชะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบําบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค. | เภสัชศาสตร์ [เพสัดชะสาด] น. วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่าง ๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบําบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค. |
เภสัชอุตสาหกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [เพสัดอุดสาหะกํา] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมยาระดับอุตสาหกรรม. | เภสัชอุตสาหกรรม [เพสัดอุดสาหะกํา] น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียมยาระดับอุตสาหกรรม. |
โภค, โภค, โภคะ โภค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย โภค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย โภคะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ | [โพก, โพคะ, โพกคะ] เป็นคำนาม หมายถึง สมบัติ เช่น ถึงพร้อมด้วยโภคะ. เป็นคำกริยา หมายถึง กิน, ใช้สอย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โภค, โภค, โภคะ [โพก, โพคะ, โพกคะ] น. สมบัติ เช่น ถึงพร้อมด้วยโภคะ. ก. กิน, ใช้สอย. (ป., ส.). |
โภคทรัพย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [โพกคะ] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สิ่งของที่ใช้อุปโภคบริโภค. | โภคทรัพย์ [โพกคะ] น. ทรัพย์สิ่งของที่ใช้อุปโภคบริโภค. |
โภคภัณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | [โพกคะ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องอุปโภคบริโภค. | โภคภัณฑ์ [โพกคะ] น. เครื่องอุปโภคบริโภค. |
โภคยทรัพย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [โพกคะยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง สังหาริมทรัพย์ซึ่งเมื่อใช้ย่อมเสียภาวะเสื่อมสลายไปในทันใดเพราะการใช้นั้น หรือซึ่งใช้ไปในที่สุดย่อมสิ้นเปลืองหมดไป. | โภคยทรัพย์ [โพกคะยะ] (กฎ; เลิก) น. สังหาริมทรัพย์ซึ่งเมื่อใช้ย่อมเสียภาวะเสื่อมสลายไปในทันใดเพราะการใช้นั้น หรือซึ่งใช้ไปในที่สุดย่อมสิ้นเปลืองหมดไป. |
โภคยทรัพย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู โภค, โภค, โภคะ โภค เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย โภค มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย โภคะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ . | โภคยทรัพย์ ดู โภค, โภค, โภคะ. |
โภคิน, โภคี โภคิน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู โภคี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้บริโภค; งู, นาค; คนมั่งมี, คนมีสมบัติ; นายบ้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โภคิน, โภคี น. ผู้บริโภค; งู, นาค; คนมั่งมี, คนมีสมบัติ; นายบ้าน. (ป., ส.). |
โภไคย, โภไคศวรรย์ โภไคย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-ยอ-ยัก โภไคศวรรย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โภเคยฺย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต โภไคศฺวรฺย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | โภไคย, โภไคศวรรย์ น. ทรัพย์สมบัติ. (ป. โภเคยฺย; ส. โภไคศฺวรฺย). |
โภช, โภชย์ โภช เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง โภชย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [โพด] เป็นคำนาม หมายถึง ของควรบริโภค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โภชฺช เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต โภชฺย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | โภช, โภชย์ [โพด] น. ของควรบริโภค. (ป. โภชฺช; ส. โภชฺย). |
โภชก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่ | [ชก] เป็นคำนาม หมายถึง นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, เช่น คามโภชก ว่า กํานัน, นายอําเภอ. | โภชก [ชก] น. นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน, เช่น คามโภชก ว่า กํานัน, นายอําเภอ. |
โภชน, โภชนะ โภชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู โภชนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [โพชะนะ, โพดชะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง อาหาร; การกิน, การกินข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โภชน, โภชนะ [โพชะนะ, โพดชะนะ] น. อาหาร; การกิน, การกินข้าว. (ป., ส.). |
โภชนะห้า เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | [โพชะนะห้า] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าว ๕ อย่าง คือ ข้าวสุก (ข้าวมัน หรือ ข้าวผัด ก็นับเข้า) ขนมสด (ขนมที่จะบูดเมื่อล่วงเวลาแล้ว เช่น แป้งจี่ ขนมด้วง ขนมครก) ขนมแห้ง (ที่ไม่บูด เช่น จันอับ ขนมปัง) ปลา (รวมทั้งหอย กุ้ง และสัตว์นํ้าเหล่าอื่นที่ใช้เป็นอาหาร) เนื้อ (เนื้อของสัตว์บกและนกที่ใช้เป็นอาหาร). | โภชนะห้า [โพชะนะห้า] น. ข้าว ๕ อย่าง คือ ข้าวสุก (ข้าวมัน หรือ ข้าวผัด ก็นับเข้า) ขนมสด (ขนมที่จะบูดเมื่อล่วงเวลาแล้ว เช่น แป้งจี่ ขนมด้วง ขนมครก) ขนมแห้ง (ที่ไม่บูด เช่น จันอับ ขนมปัง) ปลา (รวมทั้งหอย กุ้ง และสัตว์นํ้าเหล่าอื่นที่ใช้เป็นอาหาร) เนื้อ (เนื้อของสัตว์บกและนกที่ใช้เป็นอาหาร). |
โภชนากร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [โพชะนา, โพดชะนา] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่มีความรู้เรื่องโภชนาการแล้วสามารถให้ความรู้และคําแนะนําในเรื่องอาหารแก่บุคคลอื่นต่อไปได้. | โภชนากร [โพชะนา, โพดชะนา] น. ผู้ที่มีความรู้เรื่องโภชนาการแล้วสามารถให้ความรู้และคําแนะนําในเรื่องอาหารแก่บุคคลอื่นต่อไปได้. |
โภชนาการ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [โพชะนา, โพดชะนา] เป็นคำนาม หมายถึง วิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต. | โภชนาการ [โพชะนา, โพดชะนา] น. วิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต. |
โภชนาหาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [โพชะนา, โพดชะนา] เป็นคำนาม หมายถึง สารองค์ประกอบสําคัญของอาหารที่ทําให้อาหารมีคุณค่าในการบํารุงเลี้ยงร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และนํ้า. | โภชนาหาร [โพชะนา, โพดชะนา] น. สารองค์ประกอบสําคัญของอาหารที่ทําให้อาหารมีคุณค่าในการบํารุงเลี้ยงร่างกาย ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน แร่ธาตุ วิตามิน และนํ้า. |
โภชนียะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อาหารควรบริโภค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โภชนียะ (แบบ) น. อาหารควรบริโภค. (ป., ส.). |
โภชนากร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | ดู โภชน, โภชนะ โภชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู โภชนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | โภชนากร ดู โภชน, โภชนะ. |
โภชนาการ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู โภชน, โภชนะ โภชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู โภชนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | โภชนาการ ดู โภชน, โภชนะ. |
โภชนาหาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู โภชน, โภชนะ โภชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู โภชนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | โภชนาหาร ดู โภชน, โภชนะ. |
โภชนียะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ | ดู โภชน, โภชนะ โภชน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู โภชนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | โภชนียะ ดู โภชน, โภชนะ. |
ไภริน, ไภรี ไภริน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ไภรี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เภรี, กลอง. | ไภริน, ไภรี น. เภรี, กลอง. |
ไภษัชคุรุ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-สำ-เพา-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ | [ไพสัดชะ] เป็นคำนาม หมายถึง พระนามพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน; ชื่อพระกริ่ง. | ไภษัชคุรุ [ไพสัดชะ] น. พระนามพระโพธิสัตว์องค์หนึ่งในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน; ชื่อพระกริ่ง. |
ไภษัชย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-สำ-เพา-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เภสัช, ยาแก้โรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี เภสชฺช เขียนว่า สะ-หระ-เอ-พอ-สำ-เพา-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง. | ไภษัชย์ น. เภสัช, ยาแก้โรค. (ส.; ป. เภสชฺช). |