เทพ ๑, เทพ เทพ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เทพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน | [เทบ, เทบพะ] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน. | เทพ ๑, เทพ [เทบ, เทบพะ] น. เทวดา. (ป., ส. เทว). |
เทพกุสุม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง กานพลู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพกุสุม [เทบ] น. กานพลู. (ส.). |
เทพเจ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่. | เทพเจ้า น. เทวดาผู้เป็นใหญ่. |
เทพชุมนุม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๒; ชื่อภาพเขียนรูปเทวดานั่งประนมมือเรียงกันเป็นแถวตั้งแต่ ๕ ตนขึ้นไปตามฝาผนังในพระอุโบสถหรือหอพระ จะมีหน้าเดียวหรือ ๔ หน้าอย่างหน้าพรหมก็ได้. | เทพชุมนุม [เทบ] น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง. (จารึกวัดโพธิ์); ชื่อภาพเขียนรูปเทวดานั่งประนมมือเรียงกันเป็นแถวตั้งแต่ ๕ ตนขึ้นไปตามฝาผนังในพระอุโบสถหรือหอพระ จะมีหน้าเดียวหรือ ๔ หน้าอย่างหน้าพรหมก็ได้. |
เทพดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | [เทบพะ] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง เทพยดา. | เทพดา [เทบพะ] น. เทวดา, (โบ) เทพยดา. |
เทพดำรู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สวรรค์ (มี ๕ คือ มนทาร ปาริชาตก สันตาน กัลปพฤกษ์ หริจันทน์). | เทพดำรู [เทบ] น. ไม้สวรรค์ (มี ๕ คือ มนทาร ปาริชาตก สันตาน กัลปพฤกษ์ หริจันทน์). |
เทพธิดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง นางฟ้า, เทวดาผู้หญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทวธีตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | เทพธิดา [เทบ] น. นางฟ้า, เทวดาผู้หญิง. (ป. เทวธีตา). |
เทพนม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-นอ-หนู-มอ-ม้า | [เทบพะนม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อรูปหรือลายมีเทวดาประนมมือ; ชื่อท่ามวยท่าหนึ่ง, ชื่อท่ารําท่าหนึ่ง. | เทพนม [เทบพะนม] น. ชื่อรูปหรือลายมีเทวดาประนมมือ; ชื่อท่ามวยท่าหนึ่ง, ชื่อท่ารําท่าหนึ่ง. |
เทพนารี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง นางกษัตริย์, เจ้าหญิง. | เทพนารี [เทบ] น. นางกษัตริย์, เจ้าหญิง. |
เทพนิยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิที่เชื่อว่ามีพระเจ้าจํานวนมากประจําอยู่ในสรรพสิ่ง แต่พระเจ้านั้นไม่มีอํานาจครอบครองโลก. | เทพนิยม [เทบ] น. ลัทธิที่เชื่อว่ามีพระเจ้าจํานวนมากประจําอยู่ในสรรพสิ่ง แต่พระเจ้านั้นไม่มีอํานาจครอบครองโลก. |
เทพนิยาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวหรือตํานานเกี่ยวกับเทวดา. | เทพนิยาย น. เรื่องราวหรือตํานานเกี่ยวกับเทวดา. |
เทพนิยายวิทยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยเทพนิยาย. | เทพนิยายวิทยา น. วิชาว่าด้วยเทพนิยาย. |
เทพนิรมิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมดา, ธรรมชาติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพนิรมิต น. ธรรมดา, ธรรมชาติ. (ส.). |
เทพบดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [เทบบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าแห่งเทวดา, พระอินทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพบดี [เทบบอดี] น. เจ้าแห่งเทวดา, พระอินทร์. (ส.). |
เทพบริษัท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน | [เทบบอริสัด] เป็นคำนาม หมายถึง พวกเทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพบริษัท [เทบบอริสัด] น. พวกเทวดา. (ส.). |
เทพบุตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [เทบพะบุด] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้ชาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพบุตร [เทบพะบุด] น. เทวดาผู้ชาย. (ส.). |
เทพประติมา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง รูปเทวดาที่นับถือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพประติมา น. รูปเทวดาที่นับถือ. (ส.). |
เทพพยากรณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง คําทํานายเหตุการณ์ล่วงหน้าที่มนุษย์ได้รับจากพระเจ้าหรือเทพเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง มักมีนักบวชหรือคนทรงเป็นสื่อกลาง. | เทพพยากรณ์ [เทบ] น. คําทํานายเหตุการณ์ล่วงหน้าที่มนุษย์ได้รับจากพระเจ้าหรือเทพเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง มักมีนักบวชหรือคนทรงเป็นสื่อกลาง. |
เทพสังหรณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [เทบ] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดามาดลใจ. | เทพสังหรณ์ [เทบ] น. เทวดามาดลใจ. |
เทพาดิเทพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทวาติเทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน. | เทพาดิเทพ น. เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดาอื่น. (ป. เทวาติเทว). |
เทพาธิบดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าแห่งเทวดา, พระอิศวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เทพาธิบดี น. เจ้าแห่งเทวดา, พระอิศวร. (ป., ส.). |
เทพารักษ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้ดูแลรักษาที่แห่งใดแห่งหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพารักษ์ น. เทวดาผู้ดูแลรักษาที่แห่งใดแห่งหนึ่ง. (ส.). |
เทพินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง จอมแห่งเทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี เทวินฺท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน. | เทพินทร์ น. จอมแห่งเทวดา. (ส.; ป. เทวินฺท). |
เทเพนทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง จอมแห่งเทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี เทวินฺท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน. | เทเพนทร์ น. จอมแห่งเทวดา. (ส.; ป. เทวินฺท). |
เทพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า เทพ เช่น เทพชาตรี เทพทอง เทพนิมิต เทพบรรทม เทพประทม เทพรัญจวน. | เทพ ๒ น. ชื่อเพลงไทยจำพวกหนึ่ง มีชื่อขึ้นต้นด้วยคำว่า เทพ เช่น เทพชาตรี เทพทอง เทพนิมิต เทพบรรทม เทพประทม เทพรัญจวน. |
เทพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง สมณศักดิ์พระราชาคณะสูงกว่าชั้นราช ตํ่ากว่าชั้นธรรม เรียกว่า ชั้นเทพ เช่น พระเทพโมลี. | เทพ ๓ น. สมณศักดิ์พระราชาคณะสูงกว่าชั้นราช ตํ่ากว่าชั้นธรรม เรียกว่า ชั้นเทพ เช่น พระเทพโมลี. |
เทพทัณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | [เทบพะ] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้มีปลายพันผ้าสําหรับชุบนํ้ามันจุดไฟในพระราชพิธีกัตติเกยา. | เทพทัณฑ์ [เทบพะ] น. ไม้มีปลายพันผ้าสําหรับชุบนํ้ามันจุดไฟในพระราชพิธีกัตติเกยา. |
เทพทารู, เทพทาโร เทพทารู เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู เทพทาโร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ | [เทบพะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Cinnamomum porrectum Kosterm. ในวงศ์ Lauraceae ใบ เปลือก และราก มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร ใช้ปรุงอาหารและทํายาได้, จวง หรือ จวงหอม ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทวทารุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ. | เทพทารู, เทพทาโร [เทบพะ] น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Cinnamomum porrectum Kosterm. ในวงศ์ Lauraceae ใบ เปลือก และราก มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร ใช้ปรุงอาหารและทํายาได้, จวง หรือ จวงหอม ก็เรียก. (ป. เทวทารุ). |
เทพย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ยอ-ยัก | [เทบพะยะ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา. | เทพย [เทบพะยะ] (โบ) น. เทวดา. |
เทพยเจ้า, เทพยดา, เทพยุดา เทพยเจ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เทพยดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา เทพยุดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา. | เทพยเจ้า, เทพยดา, เทพยุดา (โบ) น. เทวดา. |
เทพา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pangasius sanitwongsei ในวงศ์ Schilbeidae ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้ายปลาสวาย เว้นแต่มีครีบหลัง ครีบอก และครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้น ทั้งยังมีจุดสีขาวเด่นอยู่เหนือครีบอกหลังกระพุ้งแก้ม พบอาศัยอยู่ในเขตแม่นํ้าเจ้าพระยาและแม่นํ้าโขง เมื่อโตเต็มที่มีขนาดยาวกว่า ๓ เมตร. | เทพา น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pangasius sanitwongsei ในวงศ์ Schilbeidae ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้ายปลาสวาย เว้นแต่มีครีบหลัง ครีบอก และครีบท้องยื่นยาวเป็นเส้น ทั้งยังมีจุดสีขาวเด่นอยู่เหนือครีบอกหลังกระพุ้งแก้ม พบอาศัยอยู่ในเขตแม่นํ้าเจ้าพระยาและแม่นํ้าโขง เมื่อโตเต็มที่มีขนาดยาวกว่า ๓ เมตร. |
เทพาดิเทพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน | ดู เทพ ๑, เทพ เทพ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เทพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน . | เทพาดิเทพ ดู เทพ ๑, เทพ. |
เทพาธิบดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | ดู เทพ ๑, เทพ เทพ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เทพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน . | เทพาธิบดี ดู เทพ ๑, เทพ. |
เทพารักษ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | ดู เทพ ๑, เทพ เทพ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เทพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน . | เทพารักษ์ ดู เทพ ๑, เทพ. |
เทพิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง นางกษัตริย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทพิน (กลอน) น. นางกษัตริย์. (ส.). |
เทพินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู เทพ ๑, เทพ เทพ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เทพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน . | เทพินทร์ ดู เทพ ๑, เทพ. |
เทพี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เทวี, เรียกหญิงที่ทําหน้าที่โปรยพืชพรรณธัญญาหารในพิธีแรกนาว่า นางเทพี, หญิงที่ชนะประกวดความงาม เช่น เทพีสงกรานต์. | เทพี ๑ น. เทวี, เรียกหญิงที่ทําหน้าที่โปรยพืชพรรณธัญญาหารในพิธีแรกนาว่า นางเทพี, หญิงที่ชนะประกวดความงาม เช่น เทพีสงกรานต์. |
เทพี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Caesalpinia crista L. ในวงศ์ Leguminosae ลําต้นมีหนาม ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อสั้น ๆ. | เทพี ๒ น. ชื่อไม้เถาชนิด Caesalpinia crista L. ในวงศ์ Leguminosae ลําต้นมีหนาม ดอกสีเหลืองออกเป็นช่อสั้น ๆ. |
เทพีปักษี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคซึ่งเกิดแก่เด็ก ตําราแพทย์แผนโบราณว่าทําให้มีอาการท้องขึ้น มือเท้าเย็น ศีรษะร้อน. | เทพีปักษี น. ชื่อโรคซึ่งเกิดแก่เด็ก ตําราแพทย์แผนโบราณว่าทําให้มีอาการท้องขึ้น มือเท้าเย็น ศีรษะร้อน. |
เทเพนทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู เทพ ๑, เทพ เทพ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน เทพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พอ-พาน . | เทเพนทร์ ดู เทพ ๑, เทพ. |
เทโพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pangasius larnaudii ในวงศ์ Schilbeidae ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้ายปลาสวาย แต่มีจุดสีดําเด่นอยู่เหนือต้นครีบอก และพื้นลําตัวสีเรียบไม่มีลายพาดตามยาว พบชุกชุมตามแม่นํ้าในเขตภาคกลางและลุ่มแม่นํ้าโขงขนาดยาวได้ถึง ๑.๓ เมตร. | เทโพ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Pangasius larnaudii ในวงศ์ Schilbeidae ไม่มีเกล็ด รูปร่างคล้ายปลาสวาย แต่มีจุดสีดําเด่นอยู่เหนือต้นครีบอก และพื้นลําตัวสีเรียบไม่มีลายพาดตามยาว พบชุกชุมตามแม่นํ้าในเขตภาคกลางและลุ่มแม่นํ้าโขงขนาดยาวได้ถึง ๑.๓ เมตร. |
เทริด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | [เซิด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับศีรษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า. ในวงเล็บ รูปภาพ เทริด. | เทริด [เซิด] น. เครื่องประดับศีรษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า. (รูปภาพ เทริด). |
เทลลูเรียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๕๒ สัญลักษณ์ Te ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาวคล้ายเงิน มีสมบัติทางเคมีคล้ายธาตุกํามะถัน หลอมละลายที่ ๔๔๙.๕°ซ. มีหลายอัญรูป ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ และใช้ในอุตสาหกรรมทําแก้วสี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tellurium เขียนว่า ที-อี-แอล-แอล-ยู-อา-ไอ-ยู-เอ็ม. | เทลลูเรียม น. ธาตุลําดับที่ ๕๒ สัญลักษณ์ Te ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาวคล้ายเงิน มีสมบัติทางเคมีคล้ายธาตุกํามะถัน หลอมละลายที่ ๔๔๙.๕°ซ. มีหลายอัญรูป ใช้ประโยชน์ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ และใช้ในอุตสาหกรรมทําแก้วสี. (อ. tellurium). |
เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | [เทวะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เทว ๑ [เทวะ] (แบบ) น. เทวดา, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น. (ป., ส.). |
เทวทัณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง อาชญาเทวดา, เทวดาลงโทษ, บางทีประสงค์เอาฟ้าผ่า. | เทวทัณฑ์ น. อาชญาเทวดา, เทวดาลงโทษ, บางทีประสงค์เอาฟ้าผ่า. |
เทวทูต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคติแห่งธรรมดา ๓ ประการ คือ ชรา พยาธิ มรณะ. | เทวทูต น. ชื่อคติแห่งธรรมดา ๓ ประการ คือ ชรา พยาธิ มรณะ. |
เทวธรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมสําหรับเทวดา, ธรรมสําหรับทําบุคคลให้เป็นเทวดา คือ หิริ และ โอตตัปปะ. | เทวธรรม น. ธรรมสําหรับเทวดา, ธรรมสําหรับทําบุคคลให้เป็นเทวดา คือ หิริ และ โอตตัปปะ. |
เทวธิดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง นางฟ้า. | เทวธิดา น. นางฟ้า. |
เทวนาครี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [เทวะนาคะรี] เป็นคำนาม หมายถึง อักษรที่ใช้สําหรับเขียนภาษาสันสกฤต. | เทวนาครี [เทวะนาคะรี] น. อักษรที่ใช้สําหรับเขียนภาษาสันสกฤต. |
เทวนิยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิที่เชื่อว่ามีพระเจ้าผู้ทรงอํานาจยิ่งใหญ่พระองค์เดียว พระเจ้านั้นทรงมีอํานาจครอบครองโลกและสามารถดลบันดาลความเป็นไปในโลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ theism เขียนว่า ที-เอช-อี-ไอ-เอส-เอ็ม. | เทวนิยม น. ลัทธิที่เชื่อว่ามีพระเจ้าผู้ทรงอํานาจยิ่งใหญ่พระองค์เดียว พระเจ้านั้นทรงมีอํานาจครอบครองโลกและสามารถดลบันดาลความเป็นไปในโลก. (อ. theism). |
เทวรูป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง รูปเทพเจ้าหรือเทวดาที่เคารพนับถือ. | เทวรูป น. รูปเทพเจ้าหรือเทวดาที่เคารพนับถือ. |
เทวโลก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ภูมิเป็นที่สถิตของเทวดา. | เทวโลก น. ภูมิเป็นที่สถิตของเทวดา. |
เทววิทยา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับโลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ theology เขียนว่า ที-เอช-อี-โอ-แอล-โอ-จี-วาย. | เทววิทยา น. วิชาว่าด้วยพระเจ้าและความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้ากับโลก. (อ. theology). |
เทวสถาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่ซึ่งถือว่าเป็นที่ประทับหรือสิงสถิตของเทพเจ้าหรือเทวดา, ที่ประดิษฐานเทวรูป. | เทวสถาน น. สถานที่ซึ่งถือว่าเป็นที่ประทับหรือสิงสถิตของเทพเจ้าหรือเทวดา, ที่ประดิษฐานเทวรูป. |
เทวาคาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ศาลพระภูมิ, ศาลเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทวาคาร น. ศาลพระภูมิ, ศาลเจ้า. (ส.). |
เทวารัณย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สวนสวรรค์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทวารัณย์ น. สวนสวรรค์. (ส.). |
เทวาลัย, เทวาวาส เทวาลัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เทวาวาส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งสมมุติว่าเป็นที่อยู่ของเทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทวาลัย, เทวาวาส น. ที่ซึ่งสมมุติว่าเป็นที่อยู่ของเทวดา. (ส.). |
เทวินทร์, เทเวนทร์ เทวินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เทเวนทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้าเทวดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี เทวินฺท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน. | เทวินทร์, เทเวนทร์ น. หัวหน้าเทวดา. (ส.; ป. เทวินฺท). |
เทเวศ, เทเวศร์, เทเวศวร์ เทเวศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา เทเวศร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เทเวศวร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [เวด] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่, หัวหน้าเทวดา; พระราชา, เจ้านาย. | เทเวศ, เทเวศร์, เทเวศวร์ [เวด] น. เทวดาผู้เป็นใหญ่, หัวหน้าเทวดา; พระราชา, เจ้านาย. |
เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | [ทะเว] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอง, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทฺว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน. | เทว ๒ [ทะเว] (แบบ) ว. สอง, มักใช้ประกอบหน้าศัพท์อื่น. (ป. เทฺว). |
เทวภาวะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็น ๒, ความเป็นคู่; พยัญชนะที่ซ้อนกัน ๒ ตัว; ใช้ เทวภาพ ก็ได้. | เทวภาวะ น. ความเป็น ๒, ความเป็นคู่; พยัญชนะที่ซ้อนกัน ๒ ตัว; ใช้ เทวภาพ ก็ได้. |
เทววาจิกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําด้วยกล่าว ๒ หน, ที่กล่าววาจา ๒ หน, ใช้เรียกสรณคมน์ในเวลาแรกตรัสรู้ว่า เทววาจิกสรณคมน์ แปลว่า สรณคมน์ที่เปล่งวาจาถึงรัตนะ ๒ คือ พระพุทธเจ้าและพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก เพราะเวลานั้นยังไม่มีพระสงฆ์. | เทววาจิกะ ว. ที่ทําด้วยกล่าว ๒ หน, ที่กล่าววาจา ๒ หน, ใช้เรียกสรณคมน์ในเวลาแรกตรัสรู้ว่า เทววาจิกสรณคมน์ แปลว่า สรณคมน์ที่เปล่งวาจาถึงรัตนะ ๒ คือ พระพุทธเจ้าและพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก เพราะเวลานั้นยังไม่มีพระสงฆ์. |
เทวสุคนธ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่นหอม ๒ อย่าง คือ กลิ่นที่เกิดจากรากบุนนาคและรากมะซาง. | เทวสุคนธ์ น. กลิ่นหอม ๒ อย่าง คือ กลิ่นที่เกิดจากรากบุนนาคและรากมะซาง. |
เทวดา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | [เทวะ] เป็นคำนาม หมายถึง พวกชาวสวรรค์ที่มีตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เทวตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | เทวดา [เทวะ] น. พวกชาวสวรรค์ที่มีตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์. (ป., ส. เทวตา). |
เทวดาเดินหน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเทวดาที่อยู่ระหว่างสวรรค์กับพื้นดิน. | เทวดาเดินหน น. ชื่อเทวดาที่อยู่ระหว่างสวรรค์กับพื้นดิน. |
เทวดายืนแท่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกรูปเทวดาที่วาดหรือปั้นในท่ายืนอยู่บนแท่นว่า เทวดายืนแท่น. | เทวดายืนแท่น น. เรียกรูปเทวดาที่วาดหรือปั้นในท่ายืนอยู่บนแท่นว่า เทวดายืนแท่น. |
เทวนะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [เทวะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การเล่น, การเล่นสกา, การกรีฑา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เทวนะ [เทวะ] (แบบ) น. การเล่น, การเล่นสกา, การกรีฑา. (ป., ส.). |
เทวระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [เทวะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง พี่ผัว, น้องผัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เทวระ [เทวะ] (แบบ) น. พี่ผัว, น้องผัว. (ป.). |
เทวศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา | [ทะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง เทวษ. | เทวศ [ทะเวด] น. เทวษ. |
เทวษ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สอ-รือ-สี | [ทะเวด] เป็นคำนาม หมายถึง การครํ่าครวญ, ความลําบาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทวษ [ทะเวด] น. การครํ่าครวญ, ความลําบาก. (ส.). |
เทวอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ออ-อ่าง | [ทะเวอ] เป็นคำกริยา หมายถึง ทํา, กระทํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เธฺวอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ออ-อ่าง. | เทวอ [ทะเวอ] ก. ทํา, กระทํา. (ข. เธฺวอ). |
เทวัญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง | เป็นคำนาม หมายถึง พวกชาวสวรรค์ที่มีตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์. | เทวัญ น. พวกชาวสวรรค์ที่มีตาทิพย์ หูทิพย์ และกินอาหารทิพย์. |
เทวัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง พี่เขย, น้องเขย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทวัน น. พี่เขย, น้องเขย. (ส.). |
เทวาคาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เทวาคาร ดู เทว ๑. |
เทวารัณย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เทวารัณย์ ดู เทว ๑. |
เทวาลัย, เทวาวาส เทวาลัย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก เทวาวาส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | ดู เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เทวาลัย, เทวาวาส ดู เทว ๑. |
เทวินทร์, เทเวนทร์ เทวินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เทเวนทร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เทวินทร์, เทเวนทร์ ดู เทว ๑. |
เทวี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดาผู้หญิง, นางพญา, นางกษัตริย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เทวี น. เทวดาผู้หญิง, นางพญา, นางกษัตริย์. (ป.). |
เทเวศ, เทเวศร์, เทเวศวร์ เทเวศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา เทเวศร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เทเวศวร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู เทว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑. | เทเวศ, เทเวศร์, เทเวศวร์ ดู เทว ๑. |
เทศ, เทศ, เทศะ เทศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เทศ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา เทศะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อะ | [เทด, เทดสะ, เทสะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. เป็นคำนาม หมายถึง ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. | เทศ, เทศ, เทศะ [เทด, เทดสะ, เทสะ] ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. |
เทศกาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง คราวสมัยที่กําหนดไว้เป็นประเพณีเพื่อทําบุญและการรื่นเริงในท้องถิ่น เช่น ตรุษ สงกรานต์ เข้าพรรษา สารท; คราว เช่น ชาวนาไม่ได้ทํานาสิ้นสองเทศกาลมาแล้ว. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา. | เทศกาล น. คราวสมัยที่กําหนดไว้เป็นประเพณีเพื่อทําบุญและการรื่นเริงในท้องถิ่น เช่น ตรุษ สงกรานต์ เข้าพรรษา สารท; คราว เช่น ชาวนาไม่ได้ทํานาสิ้นสองเทศกาลมาแล้ว. (พงศ. เลขา). |
เทศบัญญัติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บทกฎหมายที่เทศบาลตราขึ้นเพื่อใช้บังคับภายในเขตเทศบาลนั้น. | เทศบัญญัติ (กฎ) น. บทกฎหมายที่เทศบาลตราขึ้นเพื่อใช้บังคับภายในเขตเทศบาลนั้น. |
เทศบาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแบบหนึ่ง. | เทศบาล (กฎ) น. องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นแบบหนึ่ง. |
เทศมนตรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งผู้บริหารงานเทศบาล ซึ่งเป็นส่วนประกอบของคณะเทศมนตรี. | เทศมนตรี (กฎ) น. ตําแหน่งผู้บริหารงานเทศบาล ซึ่งเป็นส่วนประกอบของคณะเทศมนตรี. |
เทศาจาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมเนียมของบ้านเมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทศาจาร น. ธรรมเนียมของบ้านเมือง. (ส.). |
เทศาภิบาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งผู้สําเร็จราชการมณฑลในสมัยหนึ่ง ต่อมาเปลี่ยนเรียกว่า สมุหเทศาภิบาล. | เทศาภิบาล (เลิก) น. ตําแหน่งผู้สําเร็จราชการมณฑลในสมัยหนึ่ง ต่อมาเปลี่ยนเรียกว่า สมุหเทศาภิบาล. |
เทศก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ | [เทสก] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ชี้แจง, ผู้แสดง, ผู้แสดงธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | เทศก [เทสก] น. ผู้ชี้แจง, ผู้แสดง, ผู้แสดงธรรม. (ส.). |
เทศน์, เทศนา เทศน์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด เทศนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [เทด, เทสะนา, เทดสะหฺนา] เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา. เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงธรรม เช่น พระเทศน์, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว เช่น วันนี้ถูกเทศน์เสียหลายกัณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทสนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. | เทศน์, เทศนา [เทด, เทสะนา, เทดสะหฺนา] น. การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา. ก. แสดงธรรม เช่น พระเทศน์, (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว เช่น วันนี้ถูกเทศน์เสียหลายกัณฑ์. (ป. เทสนา). |
เทศน์แจง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-แอ-จอ-จาน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เทศน์สังคายนา ซึ่งต้องอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการทำสังคายนาพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในการสังคายนาครั้งแรก. | เทศน์แจง น. เทศน์สังคายนา ซึ่งต้องอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการทำสังคายนาพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในการสังคายนาครั้งแรก. |
เทศนาโวหาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการเทศนาของพระ. | เทศนาโวหาร น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการเทศนาของพระ. |
เทศาจาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู เทศ, เทศ, เทศะ. | เทศาจาร ดู เทศ, เทศ, เทศะ. |
เทศาภิบาล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | ดู เทศ, เทศ, เทศะ. | เทศาภิบาล ดู เทศ, เทศ, เทศะ. |
เทห, เทห์, เท่ห์ เทห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ เทห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด เท่ห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | [เทหะ] เป็นคำนาม หมายถึง ตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เทห เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ ว่า ร่างกาย . | เทห, เทห์, เท่ห์ [เทหะ] น. ตัว. (ป., ส. เทห ว่า ร่างกาย). |
เทห์ฟากฟ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เทหวัตถุในท้องฟ้าหรือในอวกาศ เช่น ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ อุกกาบาต, บางทีใช้ เทห์ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ celestial เขียนว่า ซี-อี-แอล-อี-เอส-ที-ไอ-เอ-แอล body เขียนว่า บี-โอ-ดี-วาย heavenly เขียนว่า เอช-อี-เอ-วี-อี-เอ็น-แอล-วาย body เขียนว่า บี-โอ-ดี-วาย . | เทห์ฟากฟ้า (ดารา) น. เทหวัตถุในท้องฟ้าหรือในอวกาศ เช่น ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ อุกกาบาต, บางทีใช้ เทห์ฟ้า. (อ. celestial body, heavenly body). |
เทหวัตถุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ | [เทหะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ก้อนหรือชิ้นหรือส่วนหนึ่งของสสาร อาจเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ก็ได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ body เขียนว่า บี-โอ-ดี-วาย. | เทหวัตถุ [เทหะ] (วิทยา) น. ก้อนหรือชิ้นหรือส่วนหนึ่งของสสาร อาจเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ก็ได้. (อ. body). |
เท่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทื่อ, ไม่ฉลาด, มักใช้พูดว่า ขี้เท่อ; ไม่ส่าย (ใช้แก่ว่าว). | เท่อ ว. ทื่อ, ไม่ฉลาด, มักใช้พูดว่า ขี้เท่อ; ไม่ส่าย (ใช้แก่ว่าว). |
เท้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่นํ้าขึ้นมากเต็มที่แล้วไม่ลดลงชั่วระยะหนึ่ง เรียกว่า นํ้าเท้อ; ไม่อยากอาหารเพราะยังอิ่มอยู่เป็นต้น. | เท้อ ว. อาการที่นํ้าขึ้นมากเต็มที่แล้วไม่ลดลงชั่วระยะหนึ่ง เรียกว่า นํ้าเท้อ; ไม่อยากอาหารเพราะยังอิ่มอยู่เป็นต้น. |
เทอญ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ยอ-หยิง | [เทิน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เถิด (ใช้เป็นคําลงท้ายข้อความที่แสดงความมุ่งหมายให้เป็นดังนั้นดังนี้, มักใช้ในการให้ศีลให้พร). | เทอญ [เทิน] ว. เถิด (ใช้เป็นคําลงท้ายข้อความที่แสดงความมุ่งหมายให้เป็นดังนั้นดังนี้, มักใช้ในการให้ศีลให้พร). |
เทอม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | [เทิม] เป็นคำนาม หมายถึง ระยะเวลาที่กําหนดไว้เป็นตอน ๆ, ภาคเรียน, เรียกค่าเล่าเรียนที่เก็บในภาคเรียนหนึ่ง ๆ ว่า ค่าเทอม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ term เขียนว่า ที-อี-อา-เอ็ม. | เทอม [เทิม] น. ระยะเวลาที่กําหนดไว้เป็นตอน ๆ, ภาคเรียน, เรียกค่าเล่าเรียนที่เก็บในภาคเรียนหนึ่ง ๆ ว่า ค่าเทอม. (อ. term). |
เทอร์เบียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖๕ สัญลักษณ์ Tb เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๓๕๖°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ terbium เขียนว่า ที-อี-อา-บี-ไอ-ยู-เอ็ม. | เทอร์เบียม น. ธาตุลําดับที่ ๖๕ สัญลักษณ์ Tb เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๓๕๖°ซ. (อ. terbium). |
เทอร์โมมิเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิ อาจประกอบด้วยปรอท แอลกอฮอล์ แก๊ส หรือโลหะเป็นต้น แล้วแต่ความมุ่งหมาย ความสะดวกที่จะนําไปใช้ และความละเอียดถูกต้องในการวัด, เทอร์มอมิเตอร์ ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ thermometer เขียนว่า ที-เอช-อี-อา-เอ็ม-โอ-เอ็ม-อี-ที-อี-อา. | เทอร์โมมิเตอร์ น. เครื่องมือที่ใช้วัดอุณหภูมิ อาจประกอบด้วยปรอท แอลกอฮอล์ แก๊ส หรือโลหะเป็นต้น แล้วแต่ความมุ่งหมาย ความสะดวกที่จะนําไปใช้ และความละเอียดถูกต้องในการวัด, เทอร์มอมิเตอร์ ก็เรียก. (อ. thermometer). |
เทอะทะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ได้รูปได้ทรง (มักใช้แก่ลักษณะที่อ้วนหรือหนา) เช่น อ้วนเทอะทะ หนาเทอะทะ. | เทอะทะ ว. ไม่ได้รูปได้ทรง (มักใช้แก่ลักษณะที่อ้วนหรือหนา) เช่น อ้วนเทอะทะ หนาเทอะทะ. |
เทา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไป, ใช้ว่า เต้า ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | เทา ๑ ก. ไป, ใช้ว่า เต้า ก็มี. (ข.). |
เทา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสาหร่ายสีเขียวนํ้าจืดชนิดหนึ่งในสกุล Spirogyra วงศ์ Zygnemataceae เป็นเส้นละเอียดสีเขียว มีเมือกลื่น ลอยอยู่ในนํ้า บางชนิดกินได้, ผักไก ก็เรียก. | เทา ๒ น. ชื่อสาหร่ายสีเขียวนํ้าจืดชนิดหนึ่งในสกุล Spirogyra วงศ์ Zygnemataceae เป็นเส้นละเอียดสีเขียว มีเมือกลื่น ลอยอยู่ในนํ้า บางชนิดกินได้, ผักไก ก็เรียก. |
เทา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๓ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีหม่น ๆ อย่างสีขี้เถ้า เรียกว่า สีเทา. | เทา ๓ ว. สีหม่น ๆ อย่างสีขี้เถ้า เรียกว่า สีเทา. |
เทา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๔ | เป็นคำกริยา หมายถึง ยอบตัวลง, หมอบลง, คุกเข่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการสั่นรัว ๆ อย่างคนเป็นไข้ เรียกว่า สั่นเทา. | เทา ๔ ก. ยอบตัวลง, หมอบลง, คุกเข่า. ว. มีอาการสั่นรัว ๆ อย่างคนเป็นไข้ เรียกว่า สั่นเทา. |
เท่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอกัน เช่น สูงเท่ากัน; ถึง เช่น ตราบเท่า; ทัน เช่น รู้เท่า; แค่, เพียง, เช่น สูงเท่าใด เก่งเท่าไหน ตัวเท่านี้. เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนที่เพิ่มขึ้นตามส่วนของจํานวนเดิม เช่น ๓ เท่า คือจํานวนที่เพิ่มขึ้นเป็น ๓ ส่วนของจํานวนเดิม. | เท่า ๑ ว. เสมอกัน เช่น สูงเท่ากัน; ถึง เช่น ตราบเท่า; ทัน เช่น รู้เท่า; แค่, เพียง, เช่น สูงเท่าใด เก่งเท่าไหน ตัวเท่านี้. น. จํานวนที่เพิ่มขึ้นตามส่วนของจํานวนเดิม เช่น ๓ เท่า คือจํานวนที่เพิ่มขึ้นเป็น ๓ ส่วนของจํานวนเดิม. |
เท่ากับ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ = หมายความว่า มีค่าเสมอกัน. เป็นคำสันธาน หมายถึง คือ. | เท่ากับ น. ชื่อเครื่องหมายรูปดังนี้ = หมายความว่า มีค่าเสมอกัน. สัน. คือ. |
เท่าใด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กี่มากน้อย, เท่าไร ก็ใช้. | เท่าใด ว. กี่มากน้อย, เท่าไร ก็ใช้. |
เท่าตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีขนาดเท่าตัวจริง เช่น หล่อรูปเท่าตัว, มีจํานวนหรือขนาดเพิ่มขึ้นเท่าจํานวนหรือขนาดเดิม เช่น แป้งฟูขึ้นอีกเท่าตัว ราคาสินค้าขึ้นอีกเท่าตัว. | เท่าตัว ว. มีขนาดเท่าตัวจริง เช่น หล่อรูปเท่าตัว, มีจํานวนหรือขนาดเพิ่มขึ้นเท่าจํานวนหรือขนาดเดิม เช่น แป้งฟูขึ้นอีกเท่าตัว ราคาสินค้าขึ้นอีกเท่าตัว. |
เท่าทัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียมถึง, เข้าใจถึง. | เท่าทัน ว. เทียมถึง, เข้าใจถึง. |
เท่าทุน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอตัว, ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ได้กําไรไม่ขาดทุน. | เท่าทุน ว. เสมอตัว, ไม่ได้ไม่เสีย, ไม่ได้กําไรไม่ขาดทุน. |
เท่าเทียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอหน้า, ทัดเทียม. | เท่าเทียม ว. เสมอหน้า, ทัดเทียม. |
เท่านั้น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แค่นั้น, เพียงนั้น, ขนาดนั้น, เป็นคําเน้นความแสดงจํานวนจํากัดจําเพาะ. | เท่านั้น ว. แค่นั้น, เพียงนั้น, ขนาดนั้น, เป็นคําเน้นความแสดงจํานวนจํากัดจําเพาะ. |
เท่าเผ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เท่าเส้นผม, เล็ก. | เท่าเผ้า ว. เท่าเส้นผม, เล็ก. |
เท่าไร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กี่มากน้อย, เท่าใด ก็ใช้. | เท่าไร ว. กี่มากน้อย, เท่าใด ก็ใช้. |
เท่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เถ้า. | เท่า ๒ (โบ) น. เถ้า. |
เท้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ตีน (ใช้ในความสุภาพ), เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้. เป็นคำกริยา หมายถึง ยัน เช่น ยืนเอามือเท้าโต๊ะ เอามือเท้าเอว; อ้างถึง เช่น เท้าความ. | เท้า น. ตีน (ใช้ในความสุภาพ), เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้. ก. ยัน เช่น ยืนเอามือเท้าโต๊ะ เอามือเท้าเอว; อ้างถึง เช่น เท้าความ. |
เท้าแขน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้สําหรับคํ้ายันของหนักเช่นกันสาดให้มีกําลังทรงตัวอยู่ได้; ส่วนของเก้าอี้สําหรับวางแขน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการที่นั่งพับเพียบเอาแขนเท้าพื้นว่า นั่งเท้าแขน. | เท้าแขน น. ตัวไม้สําหรับคํ้ายันของหนักเช่นกันสาดให้มีกําลังทรงตัวอยู่ได้; ส่วนของเก้าอี้สําหรับวางแขน. ว. เรียกอาการที่นั่งพับเพียบเอาแขนเท้าพื้นว่า นั่งเท้าแขน. |
เท้าคู้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้ที่ตอนปลายคู้หรืองอเข้า. | เท้าคู้ น. เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้ที่ตอนปลายคู้หรืองอเข้า. |
เท้าสิงห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้ที่แกะเป็นรูปตีนสิงห์; ชื่อลายสลักทําเป็นรูปตีนสิงห์. | เท้าสิงห์ น. เรียกขาโต๊ะหรือขาตู้ที่แกะเป็นรูปตีนสิงห์; ชื่อลายสลักทําเป็นรูปตีนสิงห์. |
เท้าช้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ทําให้อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งมีอาการหนังหนา หยาบ คล้ายหนังช้าง และมีขนาดโตขึ้น มักพบบ่อยที่เท้าหรือขา สาเหตุเนื่องจากพยาธิตัวกลมฟิลาเรีย (filaria) ซึ่งมีหลายชนิด ทําให้ท่อทางเดินนํ้าเหลืองของอวัยวะนั้น ๆ อุดตัน. | เท้าช้าง น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ทําให้อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งมีอาการหนังหนา หยาบ คล้ายหนังช้าง และมีขนาดโตขึ้น มักพบบ่อยที่เท้าหรือขา สาเหตุเนื่องจากพยาธิตัวกลมฟิลาเรีย (filaria) ซึ่งมีหลายชนิด ทําให้ท่อทางเดินนํ้าเหลืองของอวัยวะนั้น ๆ อุดตัน. |
เท้าแชร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นหัวหน้าวงแชร์ มีหน้าที่จัดการและรับผิดชอบเรื่องเงิน ตามปรกติจะเป็นผู้ได้เงินเป็นคนแรกโดยไม่เสียดอกเบี้ย. | เท้าแชร์ น. ผู้เป็นหัวหน้าวงแชร์ มีหน้าที่จัดการและรับผิดชอบเรื่องเงิน ตามปรกติจะเป็นผู้ได้เงินเป็นคนแรกโดยไม่เสียดอกเบี้ย. |
เท้ายายม่อม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tacca leontopetaloides (L.) Kuntze ในวงศ์ Taccaceae หัวหรือเหง้ามีสัณฐานกลมแบน ใช้ทําแป้งเป็นอาหารได้ เรียกว่า แป้งเท้ายายม่อม. | เท้ายายม่อม น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Tacca leontopetaloides (L.) Kuntze ในวงศ์ Taccaceae หัวหรือเหง้ามีสัณฐานกลมแบน ใช้ทําแป้งเป็นอาหารได้ เรียกว่า แป้งเท้ายายม่อม. |
เท่ารึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เถ้ารึง. | เท่ารึง น. เถ้ารึง. |
เท้าสาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ดู จั๋ง เขียนว่า จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู ความหมายที่ ๒. | เท้าสาน ดู จั๋ง ๒. |
เทาะห์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง เผา เช่น ธานยเทาะห์ ชื่อพิธีเผาข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ทห เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ. | เทาะห์ (แบบ; โบ) ก. เผา เช่น ธานยเทาะห์ ชื่อพิธีเผาข้าว. (ป., ส. ทห). |
เทิก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ถือเอา, พาไป. | เทิก (โบ) ก. ถือเอา, พาไป. |
เทิ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ปรากฏชัดหรือเห็นได้อย่างชัดแจ้ง เช่น เดินเทิ่ง ๆ แบกของมาเทิ่ง ๆ. | เทิ่ง ว. ที่ปรากฏชัดหรือเห็นได้อย่างชัดแจ้ง เช่น เดินเทิ่ง ๆ แบกของมาเทิ่ง ๆ. |
เทิงบอง, เทิ้งบอง เทิงบอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู เทิ้งบอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เสียงเถิดเทิง, กลองยาว. | เทิงบอง, เทิ้งบอง น. เสียงเถิดเทิง, กลองยาว. |
เทิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง เชิดชู. | เทิด ก. เชิดชู. |
เทิดทูน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อู-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ยกย่อง, เชิดชูไว้เป็นที่เคารพ. | เทิดทูน ก. ยกย่อง, เชิดชูไว้เป็นที่เคารพ. |
เทิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เนินดินที่พูนขึ้นไปตามยาว. | เทิน ๑ น. เนินดินที่พูนขึ้นไปตามยาว. |
เทิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทูน เช่น เอาของเทินหัว. | เทิน ๒ ก. ทูน เช่น เอาของเทินหัว. |
เทิบ, เทิบ ๆ, เทิบทาบ เทิบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ เทิบ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก เทิบทาบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่รัดกุม, หย่อนยาน, เช่น สวมเสื้อผ้าเทิบทาบ. | เทิบ, เทิบ ๆ, เทิบทาบ ว. ไม่รัดกุม, หย่อนยาน, เช่น สวมเสื้อผ้าเทิบทาบ. |
เทิ้ม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอาการสั่นไปทั้งตัว. | เทิ้ม ว. มีอาการสั่นไปทั้งตัว. |
เทียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กําแพง เช่น เทียงผา ว่า กําแพงหิน. | เทียง (โบ) น. กําแพง เช่น เทียงผา ว่า กําแพงหิน. |
เที่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรง เช่น นาฬิกาเดินเที่ยง, แน่นอน เช่น สังขารไม่เที่ยง คือ ไม่แน่นอน; ที่สะท้อนตรงกับความเป็นจริง ในคําว่า กระจกเที่ยง; แน่, แม่นยํา, ในคําว่า มือเที่ยง; เรียกเวลากึ่งกลางของกลางวันที่พระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะว่า เที่ยง หรือ เที่ยงวัน ตรงกับ ๑๒ นาฬิกา, เรียกเวลากึ่งกลางของกลางคืนว่า เที่ยงคืน ตรงกับ ๒๔ นาฬิกา. | เที่ยง ว. ตรง เช่น นาฬิกาเดินเที่ยง, แน่นอน เช่น สังขารไม่เที่ยง คือ ไม่แน่นอน; ที่สะท้อนตรงกับความเป็นจริง ในคําว่า กระจกเที่ยง; แน่, แม่นยํา, ในคําว่า มือเที่ยง; เรียกเวลากึ่งกลางของกลางวันที่พระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะว่า เที่ยง หรือ เที่ยงวัน ตรงกับ ๑๒ นาฬิกา, เรียกเวลากึ่งกลางของกลางคืนว่า เที่ยงคืน ตรงกับ ๒๔ นาฬิกา. |
เที่ยง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ราว ๆ เที่ยง. | เที่ยง ๆ ว. ราว ๆ เที่ยง. |
เที่ยงตรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตั้งตรงไม่เอนเอียง, ยุติธรรม. | เที่ยงตรง ว. ตั้งตรงไม่เอนเอียง, ยุติธรรม. |
เที่ยงแท้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่นอน. | เที่ยงแท้ ว. แน่นอน. |
เที่ยงธรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตั้งตรงด้วยความเป็นธรรม. | เที่ยงธรรม ว. ตั้งตรงด้วยความเป็นธรรม. |
เทียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง พ่อหรือแม่ของทวด, เชียด ก็ว่า. | เทียด (ปาก) น. พ่อหรือแม่ของทวด, เชียด ก็ว่า. |
เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องตามไฟที่ฟั่นที่หล่อด้วยขี้ผึ้งหรือไขเป็นต้น มีไส้อยู่ตรงใจกลาง, ลักษณนามว่า เล่ม. | เทียน ๑ น. เครื่องตามไฟที่ฟั่นที่หล่อด้วยขี้ผึ้งหรือไขเป็นต้น มีไส้อยู่ตรงใจกลาง, ลักษณนามว่า เล่ม. |
เทียนชนวน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เทียนที่จุดไว้เพื่อใช้จุดต่อ. | เทียนชนวน น. เทียนที่จุดไว้เพื่อใช้จุดต่อ. |
เทียนพรรษา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เทียนขนาดใหญ่และยาวเป็นพิเศษกว่าเทียนชนิดอื่น สําหรับจุดในโบสถ์บูชาพระตั้งแต่วันเข้าพรรษาจนถึงวันออกพรรษา. | เทียนพรรษา น. เทียนขนาดใหญ่และยาวเป็นพิเศษกว่าเทียนชนิดอื่น สําหรับจุดในโบสถ์บูชาพระตั้งแต่วันเข้าพรรษาจนถึงวันออกพรรษา. |
เทียนรุ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เทียนที่จุดในพระอุโบสถในวันวิสาขบูชาเป็นต้น มีขนาดใหญ่พอจุดอยู่ได้ตลอดคืน. | เทียนรุ่ง น. เทียนที่จุดในพระอุโบสถในวันวิสาขบูชาเป็นต้น มีขนาดใหญ่พอจุดอยู่ได้ตลอดคืน. |
เทียนอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เทียนที่มีส่วนผสมของสิ่งที่มีกลิ่นหอม จุดใช้ควันอบขนมเป็นต้น. | เทียนอบ น. เทียนที่มีส่วนผสมของสิ่งที่มีกลิ่นหอม จุดใช้ควันอบขนมเป็นต้น. |
เทียน ๒, เทียนบ้าน เทียน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เทียนบ้าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Impatiens balsamina L. ในวงศ์ Balsaminaceae ลําต้นอวบ ดอกมีสีต่าง ๆ กัน เช่น ขาว ชมพู ม่วง. | เทียน ๒, เทียนบ้าน น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Impatiens balsamina L. ในวงศ์ Balsaminaceae ลําต้นอวบ ดอกมีสีต่าง ๆ กัน เช่น ขาว ชมพู ม่วง. |
เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องยาสมุนไพรจําพวกหนึ่ง ได้จากผลและเมล็ดแห้งของไม้ล้มลุก มีหลายชนิด คือ เทียนทั้ง ๕ ได้แก่ เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนดํา เทียนแดง เทียนตาตั๊กแตน เทียนทั้ง ๗ เพิ่ม เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย์ เทียนทั้ง ๙ เพิ่ม เทียนตากบ เทียนเกล็ดหอย และยังมีเทียนพิเศษอีกหลายชนิด เช่น เทียนลวด เทียนขม เทียนแกลบ. | เทียน ๓ น. ชื่อเครื่องยาสมุนไพรจําพวกหนึ่ง ได้จากผลและเมล็ดแห้งของไม้ล้มลุก มีหลายชนิด คือ เทียนทั้ง ๕ ได้แก่ เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนดํา เทียนแดง เทียนตาตั๊กแตน เทียนทั้ง ๗ เพิ่ม เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย์ เทียนทั้ง ๙ เพิ่ม เทียนตากบ เทียนเกล็ดหอย และยังมีเทียนพิเศษอีกหลายชนิด เช่น เทียนลวด เทียนขม เทียนแกลบ. |
เทียนเกล็ดหอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Plantago ovata Forssk. ในวงศ์ Plantaginaceae. | เทียนเกล็ดหอย น. ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Plantago ovata Forssk. ในวงศ์ Plantaginaceae. |
เทียนแกลบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Foeniculum vulgare Miller ในวงศ์ Umbelliferae. | เทียนแกลบ น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Foeniculum vulgare Miller ในวงศ์ Umbelliferae. |
เทียนขม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ขอ-ไข่-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Foeniculum piperitum J. Presl ในวงศ์ Umbelliferae. | เทียนขม น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Foeniculum piperitum J. Presl ในวงศ์ Umbelliferae. |
เทียนขาว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Cuminum cyminum L. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้, ยี่หร่า ก็เรียก. | เทียนขาว น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Cuminum cyminum L. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้, ยี่หร่า ก็เรียก. |
เทียนข้าวเปลือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Foeniculum vulgare Miller var. dulce Battend. et Trabut ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้, ยี่หร่าหวาน ก็เรียก. | เทียนข้าวเปลือก น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Foeniculum vulgare Miller var. dulce Battend. et Trabut ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้, ยี่หร่าหวาน ก็เรียก. |
เทียนดำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Nigella sativa L. ในวงศ์ Ranunculaceae. | เทียนดำ น. ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Nigella sativa L. ในวงศ์ Ranunculaceae. |
เทียนแดง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Lepidium sativum L. ในวงศ์ Cruciferae. | เทียนแดง น. ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Lepidium sativum L. ในวงศ์ Cruciferae. |
เทียนตากบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Carum carvi L. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้. | เทียนตากบ น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Carum carvi L. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้. |
เทียนตาตั๊กแตน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-ตรี-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของผักชีลาว (Anethum graveolens L.) และไม้ล้มลุกชนิด A. sowa Roxb. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้. | เทียนตาตั๊กแตน น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของผักชีลาว (Anethum graveolens L.) และไม้ล้มลุกชนิด A. sowa Roxb. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้. |
เทียนเยาวพาณี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Petroselinum crispum (Miller) A.W. Hill ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้. | เทียนเยาวพาณี น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Petroselinum crispum (Miller) A.W. Hill ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศได้. |
เทียนลวด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Centratherum anthelminticum (Willd.) Kuntze ในวงศ์ Compositae. | เทียนลวด น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Centratherum anthelminticum (Willd.) Kuntze ในวงศ์ Compositae. |
เทียนสัตตบุษย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Pimpinella anisum L. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศ. | เทียนสัตตบุษย์ น. ชื่อเรียกผลแก่แห้งของไม้ล้มลุกชนิด Pimpinella anisum L. ในวงศ์ Umbelliferae ใช้เป็นเครื่องเทศ. |
เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๔ | ดู เต่าเหลือง ที่ เต่า ๑. | เทียน ๔ ดู เต่าเหลือง ที่ เต่า ๑. |
เที้ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง เปรียบ, คล้ายคลึง, เหมือน. | เที้ยน ก. เปรียบ, คล้ายคลึง, เหมือน. |
เทียนกิ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดย่อมชนิด Lawsonia inermis L. ในวงศ์ Lythraceae ดอกสีขาวหรือแดง ผลกลม สุกสีนํ้าตาล ใบใช้ย้อมผม ผ้าไหม และผ้าขนสัตว์ ได้สีแดงนํ้าตาล, อีสานเรียก กาว. | เทียนกิ่ง น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดย่อมชนิด Lawsonia inermis L. ในวงศ์ Lythraceae ดอกสีขาวหรือแดง ผลกลม สุกสีนํ้าตาล ใบใช้ย้อมผม ผ้าไหม และผ้าขนสัตว์ ได้สีแดงนํ้าตาล, อีสานเรียก กาว. |
เทียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอามาให้ติด เช่น จอดเรือเทียบท่า เทียบรถ, เอามาให้ใกล้กัน เช่น เอาเรือเล็กเข้าเทียบเรือใหญ่, เปรียบ เช่น เอาผ้า ๒ ชิ้นมาเทียบสีกัน; จัด, แต่ง, เช่น เทียบสํารับ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง ชิมอาหารหรือยาก่อนที่จะถวายพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านายเพื่อป้องกันสิ่งที่เป็นพิษ ในคําว่า เทียบเครื่อง เทียบพระโอสถ; ลักษณนามเรียกยาจีนที่จัดเป็นชุด เช่น ยาเทียบหนึ่ง ยา ๒ เทียบ. | เทียบ ก. เอามาให้ติด เช่น จอดเรือเทียบท่า เทียบรถ, เอามาให้ใกล้กัน เช่น เอาเรือเล็กเข้าเทียบเรือใหญ่, เปรียบ เช่น เอาผ้า ๒ ชิ้นมาเทียบสีกัน; จัด, แต่ง, เช่น เทียบสํารับ; (ราชา) ชิมอาหารหรือยาก่อนที่จะถวายพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านายเพื่อป้องกันสิ่งที่เป็นพิษ ในคําว่า เทียบเครื่อง เทียบพระโอสถ; ลักษณนามเรียกยาจีนที่จัดเป็นชุด เช่น ยาเทียบหนึ่ง ยา ๒ เทียบ. |
เทียบเคียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เปรียบเทียบ. | เทียบเคียง ก. เปรียบเทียบ. |
เทียบเท่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอกัน, เท่ากัน. | เทียบเท่า ว. เสมอกัน, เท่ากัน. |
เทียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสัตว์พาหนะผูกเข้ากับยานหรือคราดไถเป็นต้น เช่น เทียมเกวียน เทียมรถ เทียมแอก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําเอาอย่างให้เหมือนหรือคล้ายของจริงของแท้ เช่น ทําเทียม ของเทียม ฝนเทียม ดาวเทียม; เสมอกัน, เท่ากัน, เช่น สูงเทียมเมฆ. | เทียม ๑ ก. เอาสัตว์พาหนะผูกเข้ากับยานหรือคราดไถเป็นต้น เช่น เทียมเกวียน เทียมรถ เทียมแอก. ว. ทําเอาอย่างให้เหมือนหรือคล้ายของจริงของแท้ เช่น ทําเทียม ของเทียม ฝนเทียม ดาวเทียม; เสมอกัน, เท่ากัน, เช่น สูงเทียมเมฆ. |
เทียมบ่าเทียมไหล่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. | เทียมบ่าเทียมไหล่ ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่กับญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. |
เทียมหน้าเทียมตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมหน้าเทียมตากับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. | เทียมหน้าเทียมตา ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมหน้าเทียมตากับญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. |
เทียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระเทียม. ในวงเล็บ ดู กระเทียม เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า. | เทียม ๒ (ถิ่นปักษ์ใต้) น. ต้นกระเทียม. (ดู กระเทียม). |
เทียร, เที้ยร เทียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เที้ยร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ย่อม, ล้วนแล้วไปด้วย. | เทียร, เที้ยร ก. ย่อม, ล้วนแล้วไปด้วย. |
เทียรฆ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-คอ-ระ-คัง | [เทียนคะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยาว, ไกล, นาน, ยืน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทีรฺฆ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง และมาจากภาษาบาลี ทีฆ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-คอ-ระ-คัง. | เทียรฆ [เทียนคะ] ว. ยาว, ไกล, นาน, ยืน. (ส. ทีรฺฆ; ป. ทีฆ). |
เทียรฆชาติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-คอ-ระ-คัง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [คะชาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง งู. | เทียรฆชาติ [คะชาด] (แบบ) น. งู. |
เทียรฆราตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [คะราด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ราตรียาว, กาลนาน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีราตรียาว, มีกาลนาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ทีรฺฆราตฺร เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี ทีฆรตฺต เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-คอ-ระ-คัง-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | เทียรฆราตร [คะราด] (แบบ) น. ราตรียาว, กาลนาน. ว. มีราตรียาว, มีกาลนาน. (ส. ทีรฺฆราตฺร; ป. ทีฆรตฺต). |
เทียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เวียนไปเวียนมา, ไปหรือมาบ่อย ๆ, ในคําว่า เทียวไปเทียวมา. | เทียว ๑ ก. เวียนไปเวียนมา, ไปหรือมาบ่อย ๆ, ในคําว่า เทียวไปเทียวมา. |
เทียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําที่ใช้ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อบังคับหรือเน้นความให้มีความหมายหนักแน่นยิ่งขึ้น มีความหมายอย่างเดียวกับ ทีเดียว, เชียว, เช่น มาให้ได้เทียวนะ อย่าบอกใครเทียวนะ หมู่นี้เงียบไปเทียวไม่เห็นมาหาบ้างเลย. | เทียว ๒ ว. คําที่ใช้ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ เพื่อบังคับหรือเน้นความให้มีความหมายหนักแน่นยิ่งขึ้น มีความหมายอย่างเดียวกับ ทีเดียว, เชียว, เช่น มาให้ได้เทียวนะ อย่าบอกใครเทียวนะ หมู่นี้เงียบไปเทียวไม่เห็นมาหาบ้างเลย. |
เทียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธงที่มีรูปลักษณะคล้ายกระบอก, ทิว ก็ว่า. | เทียว ๓ น. ชื่อธงที่มีรูปลักษณะคล้ายกระบอก, ทิว ก็ว่า. |
เที่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกการไปยังที่ซึ่งกําหนดไว้ครั้งหนึ่ง ๆ หรือไปกลับรอบหนึ่ง ๆ ว่า เที่ยว เช่น เที่ยวขึ้น เที่ยวล่อง เที่ยวไป เที่ยวกลับ, ลักษณนามบอกอาการเช่นนั้น เช่น ไป ๒ เที่ยว มา ๓ เที่ยว. | เที่ยว ๑ น. เรียกการไปยังที่ซึ่งกําหนดไว้ครั้งหนึ่ง ๆ หรือไปกลับรอบหนึ่ง ๆ ว่า เที่ยว เช่น เที่ยวขึ้น เที่ยวล่อง เที่ยวไป เที่ยวกลับ, ลักษณนามบอกอาการเช่นนั้น เช่น ไป ๒ เที่ยว มา ๓ เที่ยว. |
เที่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ไปที่โน่นที่นี่เรื่อยไป, มักใช้พูดประกอบกับกริยาอื่น เช่น เที่ยวหา เที่ยวพูด เที่ยวกิน เที่ยวนอน; ไปไหน ๆ เพื่อความเพลิดเพลินตามสบาย เช่น ไปเที่ยว เดินเที่ยว ท่องเที่ยว, เตร็ดเตร่ไปเพื่อหาความสนุกเพลิดเพลินตามที่ต่าง ๆ เช่น เที่ยวงานกาชาด. | เที่ยว ๒ ก. กิริยาที่ไปที่โน่นที่นี่เรื่อยไป, มักใช้พูดประกอบกับกริยาอื่น เช่น เที่ยวหา เที่ยวพูด เที่ยวกิน เที่ยวนอน; ไปไหน ๆ เพื่อความเพลิดเพลินตามสบาย เช่น ไปเที่ยว เดินเที่ยว ท่องเที่ยว, เตร็ดเตร่ไปเพื่อหาความสนุกเพลิดเพลินตามที่ต่าง ๆ เช่น เที่ยวงานกาชาด. |
เทือ, เทื่อ, เทื้อ ๑ เทือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง เทื่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เทื้อ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครั้ง, หน, เตื้อ ก็ใช้. | เทือ, เทื่อ, เทื้อ ๑ ว. ครั้ง, หน, เตื้อ ก็ใช้. |
เทื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาวแก่, ทึนทึก; ไม่ว่องไว เช่น จะหนักเนื้อแลเทื้อองค์. ในวงเล็บ มาจาก กฤษณาสอนน้อง แบบเรียนกวีนิพนธ์. | เทื้อ ๒ ว. สาวแก่, ทึนทึก; ไม่ว่องไว เช่น จะหนักเนื้อแลเทื้อองค์. (กฤษณา). |
เทือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ดินที่ไถและคราดแล้วทําให้เป็นโคลนเป็นตมเพื่อตกกล้า เช่น ทําเทือกตกกล้า, ขี้เทือก ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงที่ซึ่งเปรอะเลอะเทอะเพราะยํ่ากันไปมา เช่น ยํ่าเป็นเทือก. | เทือก น. ที่ดินที่ไถและคราดแล้วทําให้เป็นโคลนเป็นตมเพื่อตกกล้า เช่น ทําเทือกตกกล้า, ขี้เทือก ก็ว่า, โดยปริยายหมายถึงที่ซึ่งเปรอะเลอะเทอะเพราะยํ่ากันไปมา เช่น ยํ่าเป็นเทือก. |
เทือกเขา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แนวเขาที่ต่อเนื่องกันไปเป็นพืด. | เทือกเขา น. แนวเขาที่ต่อเนื่องกันไปเป็นพืด. |
เทือกเถาเหล่ากอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง เชื้อสายวงศ์ตระกูลที่สืบเนื่องต่อกันมา. | เทือกเถาเหล่ากอ น. เชื้อสายวงศ์ตระกูลที่สืบเนื่องต่อกันมา. |
เทือน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ที่ไกล. | เทือน (โบ) น. ที่ไกล. |
แท่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อแมงกะพรุนหมักเกลือ ทําเป็นแผ่น ใช้เป็นอาหาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | แท่ น. เนื้อแมงกะพรุนหมักเกลือ ทําเป็นแผ่น ใช้เป็นอาหาร. (จ.). |
แท้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ล้วน ๆ เช่น เทียนขี้ผึ้งแท้, ไม่มีอะไรเจือปน, ไม่ปลอม, เช่น ทองแท้. | แท้ ว. ล้วน ๆ เช่น เทียนขี้ผึ้งแท้, ไม่มีอะไรเจือปน, ไม่ปลอม, เช่น ทองแท้. |
แท้ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จริง ๆ, ยิ่งนัก, จริงทีเดียว, เช่น สวยแท้ ๆ ลูกของตัวแท้ ๆ. | แท้ ๆ ว. จริง ๆ, ยิ่งนัก, จริงทีเดียว, เช่น สวยแท้ ๆ ลูกของตัวแท้ ๆ. |
แท้จริง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จริงแน่นอน. | แท้จริง ว. จริงแน่นอน. |
แท้ที่จริง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร มีความหมายอย่างเดียวกับ ที่จริง อันที่จริง ตามที่จริง. | แท้ที่จริง ว. คําขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร มีความหมายอย่างเดียวกับ ที่จริง อันที่จริง ตามที่จริง. |
แท็กซี่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง รถยนต์รับจ้างสาธารณะ โดยสารได้ไม่เกิน ๗ คน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ taxi เขียนว่า ที-เอ-เอ็กซ์-ไอ. | แท็กซี่ น. รถยนต์รับจ้างสาธารณะ โดยสารได้ไม่เกิน ๗ คน. (อ. taxi). |
แท็กซี่มิเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง แท็กซี่ที่ติดตั้งมิเตอร์คํานวณค่าโดยสารเป็นระยะทางกับเวลาตามอัตราที่ทางการกําหนด. | แท็กซี่มิเตอร์ น. แท็กซี่ที่ติดตั้งมิเตอร์คํานวณค่าโดยสารเป็นระยะทางกับเวลาตามอัตราที่ทางการกําหนด. |
แทง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของแหลมทิ่มหรือปักเข้าไป; ลงบันทึก, ลงหมายเหตุ, เช่น แทงคําสั่ง แทงหนังสือ; เล่นการพนันบางชนิด เช่น แทงหวย แทงลอตเตอรี่ แทงโป, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กระแสนํ้าแทงตลิ่ง ถูกนํ้าแทง แทงศอก. | แทง ก. เอาของแหลมทิ่มหรือปักเข้าไป; ลงบันทึก, ลงหมายเหตุ, เช่น แทงคําสั่ง แทงหนังสือ; เล่นการพนันบางชนิด เช่น แทงหวย แทงลอตเตอรี่ แทงโป, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กระแสนํ้าแทงตลิ่ง ถูกนํ้าแทง แทงศอก. |
แทงใจ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง เก็งใจ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตรงใจ, ตรงกับความคิด. | แทงใจ ก. เก็งใจ. ว. ตรงใจ, ตรงกับความคิด. |
แทงใจดำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง พูดตรงกับความในใจของผู้ฟัง. | แทงใจดำ (สำ) ก. พูดตรงกับความในใจของผู้ฟัง. |
แทงตะไบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาตะไบถูให้เรียบหรือให้คมเป็นต้น. | แทงตะไบ ก. เอาตะไบถูให้เรียบหรือให้คมเป็นต้น. |
แทงบิลเลียด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอาไม้คิวทิ่มลูกบิลเลียดให้กลิ้งไป. | แทงบิลเลียด ก. กิริยาที่เอาไม้คิวทิ่มลูกบิลเลียดให้กลิ้งไป. |
แทงหยวก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-หอ-หีบ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง สลักกาบกล้วยให้เป็นลวดลายประดับเชิงตะกอนในการเผาศพเป็นต้น. | แทงหยวก ก. สลักกาบกล้วยให้เป็นลวดลายประดับเชิงตะกอนในการเผาศพเป็นต้น. |
แท่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของสิ่งที่ตันและกลมยาวหรือแบนหนา เช่น แท่งทอง แท่งเหล็ก แท่งหิน, ลักษณนามเรียกของเช่นนั้น เช่น ชอล์กแท่งหนึ่ง ดินสอ ๒ แท่ง; เรียกชายที่หนุ่มแน่นยังไม่มีภรรยาว่า หนุ่มทั้งแท่ง. | แท่ง น. ลักษณะของสิ่งที่ตันและกลมยาวหรือแบนหนา เช่น แท่งทอง แท่งเหล็ก แท่งหิน, ลักษณนามเรียกของเช่นนั้น เช่น ชอล์กแท่งหนึ่ง ดินสอ ๒ แท่ง; เรียกชายที่หนุ่มแน่นยังไม่มีภรรยาว่า หนุ่มทั้งแท่ง. |
แท้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนกําหนดคลอด โดยที่ลูกในท้องไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้. | แท้ง ก. สิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนกําหนดคลอด โดยที่ลูกในท้องไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้. |
แท็งก์น้ำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-ไต่-คู้-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ถังนํ้าขนาดใหญ่ มักทําด้วยเหล็กชุบสังกะสี. | แท็งก์น้ำ น. ถังนํ้าขนาดใหญ่ มักทําด้วยเหล็กชุบสังกะสี. |
แทงทวย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Mallotus philippensis (Lam.) Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae ผลมีขนสีแดง ใช้ทํายาได้, คําแสด ก็เรียก. | แทงทวย น. ชื่อไม้ต้นชนิด Mallotus philippensis (Lam.) Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae ผลมีขนสีแดง ใช้ทํายาได้, คําแสด ก็เรียก. |
แทงวิสัย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นอย่างหนึ่ง แต่งตัวคล้ายเซี่ยวกางถือหอกแทงกัน; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก เงาะป่า พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับโรงพิมพ์อักษรบริการ พ.ศ. ๒๕๑๑. | แทงวิสัย น. การเล่นอย่างหนึ่ง แต่งตัวคล้ายเซี่ยวกางถือหอกแทงกัน; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. (เงาะป่า). |
แทตย์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ยักษ์, อสูร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไทตฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | แทตย์ น. ยักษ์, อสูร. (ส. ไทตฺย). |
แทน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สนอง เช่น แทนคุณ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่าง เช่น เอาเกลือแทนนํ้าปลา, อาการที่บุคคลหนึ่งทําหน้าที่ในฐานะของอีกบุคคลหนึ่ง เช่น รักษาการแทน ทําแทน ไปแทน. | แทน ก. สนอง เช่น แทนคุณ. ว. ต่าง เช่น เอาเกลือแทนนํ้าปลา, อาการที่บุคคลหนึ่งทําหน้าที่ในฐานะของอีกบุคคลหนึ่ง เช่น รักษาการแทน ทําแทน ไปแทน. |
แทนที่จะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำสันธาน หมายถึง ใช้ในความที่ขัดแย้งกัน เช่น แทนที่จะเขียนอย่างนั้น เขากลับเขียนอย่างนี้. | แทนที่จะ สัน. ใช้ในความที่ขัดแย้งกัน เช่น แทนที่จะเขียนอย่างนั้น เขากลับเขียนอย่างนี้. |
แท่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ที่นั่งที่นอนเป็นต้นคล้ายเตียง แต่ไม่มีขารองรับ, ยกพื้น เช่น แท่นรับความเคารพ, ที่รองซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น แท่นที่บูชา, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง เรียกที่ประทับหรือที่บรรทมของพระเจ้าแผ่นดินว่า พระแท่น เช่น พระแท่นมหาเศวตฉัตร พระแท่นราชบรรจถรณ์; เรียกโต๊ะสําหรับกราบพระหน้าโต๊ะหมู่บูชาว่า พระแท่นทรงกราบ. | แท่น น. ที่นั่งที่นอนเป็นต้นคล้ายเตียง แต่ไม่มีขารองรับ, ยกพื้น เช่น แท่นรับความเคารพ, ที่รองซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น แท่นที่บูชา, (ราชา) เรียกที่ประทับหรือที่บรรทมของพระเจ้าแผ่นดินว่า พระแท่น เช่น พระแท่นมหาเศวตฉัตร พระแท่นราชบรรจถรณ์; เรียกโต๊ะสําหรับกราบพระหน้าโต๊ะหมู่บูชาว่า พระแท่นทรงกราบ. |
แท่นพิมพ์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องพิมพ์หนังสือหรือเอกสาร มีลักษณะเป็นแท่น มีหลายชนิด เช่น แท่นกริ๊ก แท่นนอน. | แท่นพิมพ์ น. เครื่องพิมพ์หนังสือหรือเอกสาร มีลักษณะเป็นแท่น มีหลายชนิด เช่น แท่นกริ๊ก แท่นนอน. |
แท่นมณฑล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-นอ-หนู-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง แท่นยกพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าดาดเพดานด้วยผ้าขาวติดระบายรอบ ใช้ตั้งปูชนียวัตถุและเครื่องใช้เป็นต้นในการเข้าพิธีเฉลิมฉลองตามลัทธิประเพณี. | แท่นมณฑล น. แท่นยกพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าดาดเพดานด้วยผ้าขาวติดระบายรอบ ใช้ตั้งปูชนียวัตถุและเครื่องใช้เป็นต้นในการเข้าพิธีเฉลิมฉลองตามลัทธิประเพณี. |
แท่นลา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง แท่นสี่เหลี่ยมที่ทําขึ้นเพื่อเคลื่อนย้ายไปตั้งในพิธีต่าง ๆ ได้ตามประสงค์ มีขนาดกว้างยาวพอตั้งพระเก้าอี้และโต๊ะเครื่องราชูปโภคเป็นต้น สูงประมาณ ๖๘ นิ้ว. | แท่นลา น. แท่นสี่เหลี่ยมที่ทําขึ้นเพื่อเคลื่อนย้ายไปตั้งในพิธีต่าง ๆ ได้ตามประสงค์ มีขนาดกว้างยาวพอตั้งพระเก้าอี้และโต๊ะเครื่องราชูปโภคเป็นต้น สูงประมาณ ๖๘ นิ้ว. |
แท่นหมึก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-นอ-หนู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ฝนหมึกแท่งของจีน สําหรับใช้พู่กันจุ้มเขียนหนังสือ. | แท่นหมึก น. ที่ฝนหมึกแท่งของจีน สําหรับใช้พู่กันจุ้มเขียนหนังสือ. |
แทนเจนต์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในคณิตศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกอัตราส่วนแห่งไซน์ของมุมหารด้วยโคไซน์ของมุมนั้นว่า แทนเจนต์ของมุม. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tangent เขียนว่า ที-เอ-เอ็น-จี-อี-เอ็น-ที. | แทนเจนต์ (คณิต) น. เรียกอัตราส่วนแห่งไซน์ของมุมหารด้วยโคไซน์ของมุมนั้นว่า แทนเจนต์ของมุม. (อ. tangent). |
แทนทาลัม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๗๓ สัญลักษณ์ Ta เป็นโลหะสีขาวแกมเทา ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๙๙๖°ซ. ใช้ประโยชน์เป็นไส้หลอดไฟฟ้า ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tantalum เขียนว่า ที-เอ-เอ็น-ที-เอ-แอล-ยู-เอ็ม. | แทนทาลัม น. ธาตุลําดับที่ ๗๓ สัญลักษณ์ Ta เป็นโลหะสีขาวแกมเทา ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๙๙๖°ซ. ใช้ประโยชน์เป็นไส้หลอดไฟฟ้า ผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. tantalum). |
แทบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกือบ, จวนเจียน, ใกล้ชิด. | แทบ ว. เกือบ, จวนเจียน, ใกล้ชิด. |
แทรก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | [แซก] เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าไปอยู่ในระหว่างสิ่งอื่นในลักษณะที่เบียดเสียดหรือสอดเป็นต้น เช่น แทรกตัว; เจือเพียงนิดหน่อย เช่น แทรกยาดํา แทรกพิมเสน, เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น โรคแทรก; เติมเข้าไปในระหว่าง เช่น แทรกเนื้อความ; โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พูดแทรก. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่สอดแทรกเข้าไปข้างกระบวนทัพคอยช่วยระวังรักษาทัพ, ช้างแซง ก็เรียก. | แทรก ๑ [แซก] ก. เข้าไปอยู่ในระหว่างสิ่งอื่นในลักษณะที่เบียดเสียดหรือสอดเป็นต้น เช่น แทรกตัว; เจือเพียงนิดหน่อย เช่น แทรกยาดํา แทรกพิมเสน, เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น โรคแทรก; เติมเข้าไปในระหว่าง เช่น แทรกเนื้อความ; โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น พูดแทรก. น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่สอดแทรกเข้าไปข้างกระบวนทัพคอยช่วยระวังรักษาทัพ, ช้างแซง ก็เรียก. |
แทรกซอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง แทรกทั่วไป. | แทรกซอน ก. แทรกทั่วไป. |
แทรกซ้อน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น โรคแทรกซ้อน ปัญหาแทรกซ้อน. | แทรกซ้อน ว. ที่เกิดขึ้นในระหว่าง เช่น โรคแทรกซ้อน ปัญหาแทรกซ้อน. |
แทรกซึม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ค่อย ๆ แทรกเข้าไปโดยไม่ให้รู้ตัว. | แทรกซึม ก. อาการที่ค่อย ๆ แทรกเข้าไปโดยไม่ให้รู้ตัว. |
แทรกแซง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น. | แทรกแซง ก. แทรกเข้าไปเกี่ยวข้องในกิจการของผู้อื่น. |
แทรกแผ่นดิน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หลีกหนีไปให้พ้น ไม่อยากให้ใครพบหน้าเพราะอับอาย. | แทรกแผ่นดิน (สำ) ก. หลีกหนีไปให้พ้น ไม่อยากให้ใครพบหน้าเพราะอับอาย. |
แทรกโพน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง จับช้างกลางแปลง. | แทรกโพน ก. จับช้างกลางแปลง. |
แทรก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | [แซก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก ราชาธิราช ของ เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ฉบับอมรการพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๑๓. | แทรก ๒ [แซก] น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ราชาธิราช). |
แทรกเตอร์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [แทฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง รถทุ่นแรง ใช้ลากหรือขับเคลื่อนอุปกรณ์อย่างอื่นที่ติดเข้าไปกับตัวรถตามลักษณะงานที่ใช้ มี ๒ แบบ คือ แบบตีนตะขาบและแบบล้อ ซึ่งมีล้อหลังใหญ่กว่าล้อหน้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ tractor เขียนว่า ที-อา-เอ-ซี-ที-โอ-อา. | แทรกเตอร์ [แทฺรก] น. รถทุ่นแรง ใช้ลากหรือขับเคลื่อนอุปกรณ์อย่างอื่นที่ติดเข้าไปกับตัวรถตามลักษณะงานที่ใช้ มี ๒ แบบ คือ แบบตีนตะขาบและแบบล้อ ซึ่งมีล้อหลังใหญ่กว่าล้อหน้า. (อ. tractor). |
แทลเลียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๘๑ สัญลักษณ์ Tl เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว หลอมละลายที่ ๓๐๓°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ thallium เขียนว่า ที-เอช-เอ-แอล-แอล-ไอ-ยู-เอ็ม. | แทลเลียม น. ธาตุลําดับที่ ๘๑ สัญลักษณ์ Tl เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว หลอมละลายที่ ๓๐๓°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. thallium). |
แทะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาหน้าฟันกัดให้หลุดออกมาทีละน้อย ๆ, เล็มกินทีละน้อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลูกไม่ทํามาหากินมาคอยแทะเงินพ่อแม่. | แทะ ก. เอาหน้าฟันกัดให้หลุดออกมาทีละน้อย ๆ, เล็มกินทีละน้อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลูกไม่ทํามาหากินมาคอยแทะเงินพ่อแม่. |
แทะโลม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเกี้ยว, พูดเลียบเคียงเกี้ยวพาราสี, แพละโลม หรือ แพะโลม ก็ใช้. | แทะโลม ก. พูดเกี้ยว, พูดเลียบเคียงเกี้ยวพาราสี, แพละโลม หรือ แพะโลม ก็ใช้. |
โท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้นหรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ตํ่ากว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้ ้ ว่า ไม้โท. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ทุ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ ทฺวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต ทฺวิ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ. | โท ว. สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลําดับชั้นหรือขั้นของยศ ตําแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ตํ่ากว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท; เรียกเครื่องหมายวรรณยุกต์รูปดังนี้ ้ ว่า ไม้โท. (ป. ทุ, ทฺวิ; ส. ทฺวิ). |
โทโทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี | เป็นคำนาม หมายถึง คําที่ใช้ไม้เอกโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้โทเสียงเดียวกัน ในบทนิพนธ์ที่บังคับให้ใช้ไม้โท เช่น ง่าย เป็น หง้าย, พลั่ง เป็น ผลั้ง. | โทโทษ น. คําที่ใช้ไม้เอกโดยปรกติ แต่เปลี่ยนใช้ไม้โทเสียงเดียวกัน ในบทนิพนธ์ที่บังคับให้ใช้ไม้โท เช่น ง่าย เป็น หง้าย, พลั่ง เป็น ผลั้ง. |
โทศก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๒ เช่น ปีวอกโทศก จุลศักราช ๑๓๔๒. | โทศก น. เรียกปีจุลศักราชที่ลงท้ายด้วยเลข ๒ เช่น ปีวอกโทศก จุลศักราช ๑๓๔๒. |
โท่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นช่องกว้างใหญ่เห็นได้จะแจ้ง. | โท่ ว. เป็นช่องกว้างใหญ่เห็นได้จะแจ้ง. |
โทกเทก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินโยกเยกไม่ตั้งตัวตรง. | โทกเทก ว. อาการที่เดินโยกเยกไม่ตั้งตัวตรง. |
โทง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เดินหรือวิ่งโย่ง ๆ ไปในที่โล่ง (มักใช้แก่ผู้เปลือยกาย) เช่น เด็กแก้ผ้าวิ่งโทง ๆ. | โทง ๆ ว. อาการที่เดินหรือวิ่งโย่ง ๆ ไปในที่โล่ง (มักใช้แก่ผู้เปลือยกาย) เช่น เด็กแก้ผ้าวิ่งโทง ๆ. |
โทงเทง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Physalis วงศ์ Solanaceae คือ ชนิด P. angulata L. และชนิด P. minima L. ใช้ทํายาได้, ทุงเทง ก็เรียก. | โทงเทง ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุก ๒ ชนิดในสกุล Physalis วงศ์ Solanaceae คือ ชนิด P. angulata L. และชนิด P. minima L. ใช้ทํายาได้, ทุงเทง ก็เรียก. |
โทงเทง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปมีลักษณะโย่งเย่งส่ายไปมา เช่น เดินโทงเทง. | โทงเทง ๒ ว. อาการที่เคลื่อนไปมีลักษณะโย่งเย่งส่ายไปมา เช่น เดินโทงเทง. |
โทณะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ทะนาน, กะละออม, เครื่องตวงอย่างหนึ่ง = ๔ อาฬหก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | โทณะ (แบบ) น. ทะนาน, กะละออม, เครื่องตวงอย่างหนึ่ง = ๔ อาฬหก. (ป.). |
โทธก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-กอ-ไก่ | [ทก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๓ คณะ เป็น ภ คณะล้วน (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. | โทธก [ทก] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๓ คณะ เป็น ภ คณะล้วน (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย. (ชุมนุมตํารากลอน). |
โทน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลองประเภทหนึ่งสําหรับตีขัดจังหวะ ขึงหนังด้านเดียวคล้ายกลองยาว แต่เล็กและสั้นกว่า มี ๒ ชนิด คือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีจําเพาะหนึ่งเท่านั้น, ใช้แก่สิ่งที่ตามปรกติควรจะมีมากกว่าหนึ่ง แต่มีเพียงหนึ่งเท่านั้น เรียกว่า โทน เช่น ลูกโทน มะพร้าวโทน. | โทน ๑ น. ชื่อกลองประเภทหนึ่งสําหรับตีขัดจังหวะ ขึงหนังด้านเดียวคล้ายกลองยาว แต่เล็กและสั้นกว่า มี ๒ ชนิด คือ โทนชาตรี และ โทนมโหรี; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. ว. มีจําเพาะหนึ่งเท่านั้น, ใช้แก่สิ่งที่ตามปรกติควรจะมีมากกว่าหนึ่ง แต่มีเพียงหนึ่งเท่านั้น เรียกว่า โทน เช่น ลูกโทน มะพร้าวโทน. |
โทน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง เรียกว่า ยางโทน. ในวงเล็บ ดู ยาง เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | โทน ๒ น. ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง เรียกว่า ยางโทน. (ดู ยาง ๑). |
โทนโท่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปรากฏชัดแก่ตา, จะแจ้ง, เช่น เห็นอยู่โทนโท่, ทนโท่ ก็ว่า. | โทนโท่ ว. ปรากฏชัดแก่ตา, จะแจ้ง, เช่น เห็นอยู่โทนโท่, ทนโท่ ก็ว่า. |
โทมนัส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | [โทมมะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเสียใจ, ความเป็นทุกข์ใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โทมนสฺส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า-นอ-หนู-สอ-เสือ-พิน-ทุ-สอ-เสือ. | โทมนัส [โทมมะ] น. ความเสียใจ, ความเป็นทุกข์ใจ. (ป. โทมนสฺส). |
โทร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ | [โทระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คํานําหน้าศัพท์ แปลว่า ไกล. | โทร [โทระ] ว. คํานําหน้าศัพท์ แปลว่า ไกล. |
โทรคมนาคม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | [คะมะ, คมมะ] เป็นคำนาม หมายถึง การส่ง การกระจาย หรือการรับภาพ เครื่องหมาย สัญญาณ ข้อเขียน เสียง หรือการทําให้เข้าใจด้วยวิธีใด ๆ โดยอาศัยระบบสายวิทยุสื่อสาร หรือระบบแม่เหล็กไฟฟ้าอื่น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ telecommunication เขียนว่า ที-อี-แอล-อี-ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-ยู-เอ็น-ไอ-ซี-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | โทรคมนาคม [คะมะ, คมมะ] น. การส่ง การกระจาย หรือการรับภาพ เครื่องหมาย สัญญาณ ข้อเขียน เสียง หรือการทําให้เข้าใจด้วยวิธีใด ๆ โดยอาศัยระบบสายวิทยุสื่อสาร หรือระบบแม่เหล็กไฟฟ้าอื่น ๆ. (อ. telecommunication). |
โทรทรรศน์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง กล้องส่องดูสิ่งที่อยู่ไกลให้เห็นใกล้ เรียกว่า กล้องโทรทรรศน์, กล้องส่องทางไกล ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ telescope เขียนว่า ที-อี-แอล-อี-เอส-ซี-โอ-พี-อี. | โทรทรรศน์ น. กล้องส่องดูสิ่งที่อยู่ไกลให้เห็นใกล้ เรียกว่า กล้องโทรทรรศน์, กล้องส่องทางไกล ก็เรียก. (อ. telescope). |
โทรทัศน์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดเสียงและภาพได้พร้อมกันจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยวิธีเปลี่ยนคลื่นเสียงและภาพให้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกสู่อากาศ, เรียกเครื่องที่มีหน้าที่ดังกล่าวว่า เครื่องส่งโทรทัศน์ และเรียกเครื่องที่มีหน้าที่เปลี่ยนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้รับจากเครื่องส่งโทรทัศน์ให้กลับเป็นคลื่นเสียงและภาพตามเดิมว่า เครื่องรับโทรทัศน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ television เขียนว่า ที-อี-แอล-อี-วี-ไอ-เอส-ไอ-โอ-เอ็น. | โทรทัศน์ น. กระบวนการถ่ายทอดเสียงและภาพได้พร้อมกันจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยวิธีเปลี่ยนคลื่นเสียงและภาพให้เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกสู่อากาศ, เรียกเครื่องที่มีหน้าที่ดังกล่าวว่า เครื่องส่งโทรทัศน์ และเรียกเครื่องที่มีหน้าที่เปลี่ยนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้รับจากเครื่องส่งโทรทัศน์ให้กลับเป็นคลื่นเสียงและภาพตามเดิมว่า เครื่องรับโทรทัศน์. (อ. television). |
โทรพิมพ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ระบบโทรคมนาคมที่ใช้เครื่องรับส่งสัญญาณโทรเลข ประกอบด้วยแป้นพิมพ์และแคร่พิมพ์ ลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ดีด สามารถรับส่งสัญญาณโทรเลขเพื่อพิมพ์เป็นตัวอักษรบนกระดาษพิมพ์ และส่งตัวอักษรที่พิมพ์เป็นสัญญาณโทรเลขผ่านวงจรโทรเลขที่ต่ออยู่กับเครื่องโทรพิมพ์นั้นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ teletype เขียนว่า ที-อี-แอล-อี-ที-วาย-พี-อี. | โทรพิมพ์ น. ระบบโทรคมนาคมที่ใช้เครื่องรับส่งสัญญาณโทรเลข ประกอบด้วยแป้นพิมพ์และแคร่พิมพ์ ลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ดีด สามารถรับส่งสัญญาณโทรเลขเพื่อพิมพ์เป็นตัวอักษรบนกระดาษพิมพ์ และส่งตัวอักษรที่พิมพ์เป็นสัญญาณโทรเลขผ่านวงจรโทรเลขที่ต่ออยู่กับเครื่องโทรพิมพ์นั้นได้. (อ. teletype). |
โทรภาพ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำนาม หมายถึง โทรทัศน์; โทรสาร. | โทรภาพ (เลิก) น. โทรทัศน์; โทรสาร. |
โทรเลข เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่ | เป็นคำนาม หมายถึง ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนําที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอํานาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ telegraph เขียนว่า ที-อี-แอล-อี-จี-อา-เอ-พี-เอช. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง ส่งข้อความไปยังอีกบุคคลหนึ่งทางโทรเลข. | โทรเลข น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งรหัสสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยอาศัยสายตัวนําที่โยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอํานาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. (อ. telegraph). (ปาก) ก. ส่งข้อความไปยังอีกบุคคลหนึ่งทางโทรเลข. |
โทรศัพท์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าเป็นเครื่องมือสื่อสารให้ติดต่อพูดถึงกันได้ในระยะไกลโดยใช้สายตัวนําโยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอํานาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสําคัญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ telephone เขียนว่า ที-อี-แอล-อี-พี-เอช-โอ-เอ็น-อี, คำว่าโทรศัพท์ที่อยู่หน้าหมายเลขโทรศัพท์มักเขียนย่อว่า โทร. ออกเสียงว่า [โท]. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดติดต่อกันทางโทรศัพท์. | โทรศัพท์ น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าเป็นเครื่องมือสื่อสารให้ติดต่อพูดถึงกันได้ในระยะไกลโดยใช้สายตัวนําโยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอํานาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสําคัญ. (อ. telephone), คำว่าโทรศัพท์ที่อยู่หน้าหมายเลขโทรศัพท์มักเขียนย่อว่า โทร. ออกเสียงว่า [โท]. (ปาก) ก. พูดติดต่อกันทางโทรศัพท์. |
โทรสาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง กรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารหรือรูปภาพโดยทางคลื่นไฟฟ้า, เดิมใช้ โทรภาพ; เอกสารซึ่งส่งหรือรับด้วยกรรมวิธีดังกล่าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ facsimile เขียนว่า เอฟ-เอ-ซี-เอส-ไอ-เอ็ม-ไอ-แอล-อี. | โทรสาร น. กรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารหรือรูปภาพโดยทางคลื่นไฟฟ้า, เดิมใช้ โทรภาพ; เอกสารซึ่งส่งหรือรับด้วยกรรมวิธีดังกล่าว. (อ. facsimile). |
โทรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [โซม] เป็นคำกริยา หมายถึง เสื่อมสภาพเดิม เช่น เรือนหลังนี้โทรมมาก ปีนี้ดูโทรมลงไปมาก ไฟโทรมแล้ว ผักโทรม; ทําให้ยอบลง เช่น โทรมหญ้า. | โทรม [โซม] ก. เสื่อมสภาพเดิม เช่น เรือนหลังนี้โทรมมาก ปีนี้ดูโทรมลงไปมาก ไฟโทรมแล้ว ผักโทรม; ทําให้ยอบลง เช่น โทรมหญ้า. |
โทรมศัสตราวุธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง | เป็นคำกริยา หมายถึง ระดมฟันแทงพุ่งศัสตราวุธเข้าไป. | โทรมศัสตราวุธ ก. ระดมฟันแทงพุ่งศัสตราวุธเข้าไป. |
โทรมหญิง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมกันข่มขืนกระทําชําเราหญิง. | โทรมหญิง (กฎ) ก. ร่วมกันข่มขืนกระทําชําเราหญิง. |
โทลา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชิงช้า, เปล. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โทลา (แบบ) น. ชิงช้า, เปล. (ป., ส.). |
โทษ, โทษ โทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี โทษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี | [โทด, โทดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น ยาเสพติดให้โทษ. เป็นคำกริยา หมายถึง อ้างเอาความผิดให้ เช่น อย่าโทษเด็กเลย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี โทส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ. | โทษ, โทษ [โทด, โทดสะ] น. ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น ยาเสพติดให้โทษ. ก. อ้างเอาความผิดให้ เช่น อย่าโทษเด็กเลย. (ส.; ป. โทส). |
โทษกรณ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [โทดสะกอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โทษ, อาชญา, เช่น รู้สึกซึ่งโทษกรณ์ ตนผิด. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. | โทษกรณ์ [โทดสะกอน] (กลอน) น. โทษ, อาชญา, เช่น รู้สึกซึ่งโทษกรณ์ ตนผิด. (นิทราชาคริต). |
โทษตรัย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [โทดสะ] เป็นคำนาม หมายถึง ประชุม ๓ แห่งโทษ คือ ดี ลม เสมหะ. | โทษตรัย [โทดสะ] น. ประชุม ๓ แห่งโทษ คือ ดี ลม เสมหะ. |
โทษทางอาญา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง มาตรการที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับลงโทษแก่ผู้กระทําความผิดอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ การประหารชีวิต การจําคุก การกักขัง การปรับและการริบทรัพย์สิน. | โทษทางอาญา (กฎ) น. มาตรการที่กฎหมายกําหนดไว้สําหรับลงโทษแก่ผู้กระทําความผิดอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ การประหารชีวิต การจําคุก การกักขัง การปรับและการริบทรัพย์สิน. |
โทษโพย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-ยอ-ยัก | [โทดโพย] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง โทษ, มักใช้แยกกัน เช่น ขอโทษขอโพย ถือโทษถือโพย. | โทษโพย [โทดโพย] (ปาก) น. โทษ, มักใช้แยกกัน เช่น ขอโทษขอโพย ถือโทษถือโพย. |
โทษา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โทษ. | โทษา ๑ (กลอน) น. โทษ. |
โทษานุโทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี | เป็นคำนาม หมายถึง ความผิดมากและน้อย. | โทษานุโทษ น. ความผิดมากและน้อย. |
โทษา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | ดูใน โทษ, โทษ โทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี โทษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี . | โทษา ๑ ดูใน โทษ, โทษ. |
โทษา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง มืด, คํ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | โทษา ๒ น. มืด, คํ่า. (ส.). |
โทษากร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | โทษากร น. พระจันทร์. (ส.). |
โทษาดิลก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ตะเกียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | โทษาดิลก น. ตะเกียง. (ส.). |
โทษารมณ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พระจันทร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต โทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี + ภาษาบาลี อารมฺมณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-เนน . | โทษารมณ์ น. พระจันทร์. (ส. โทษ + ป. อารมฺมณ). |
โทษา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง แขน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | โทษา ๓ น. แขน. (ส.). |
โทษานุโทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี | ดู โทษ, โทษ โทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี โทษ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี . | โทษานุโทษ ดู โทษ, โทษ. |
โทส, โทสะ, โทโส โทส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ โทสะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ โทโส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ความโกรธ, ความฉุนเฉียว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โทษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี. | โทส, โทสะ, โทโส น. ความโกรธ, ความฉุนเฉียว. (ป.; ส. โทษ). |
โทสาคติ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ความลําเอียงเพราะความโกรธ เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โทส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ + อคติ เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ . | โทสาคติ น. ความลําเอียงเพราะความโกรธ เป็นอคติ ๑ ในอคติ ๔ ได้แก่ ฉันทาคติ โทสาคติ ภยาคติ และโมหาคติ. (ป. โทส + อคติ). |
โทสาคติ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู โทส, โทสะ, โทโส โทส มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ โทสะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ โทโส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ . | โทสาคติ ดู โทส, โทสะ, โทโส. |
โทหฬะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อะ | [หะละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, ความแพ้ท้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โทหล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-ลอ-ลิง โทหท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-ทอ-ทะ-หาน . | โทหฬะ [หะละ] (แบบ) น. ความปรารถนาของหญิงตั้งครรภ์, ความแพ้ท้อง. (ป.; ส. โทหล, โทหท). |
โทหฬินี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-หอ-หีบ-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | [โทหะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หญิงมีครรภ์, หญิงแพ้ท้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เทาหฺฤทินี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-พิน-ทุ-รอ-รึ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี. | โทหฬินี [โทหะ] (แบบ) น. หญิงมีครรภ์, หญิงแพ้ท้อง. (ป.; ส. เทาหฺฤทินี). |
ไท เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ไทย เช่น ปีโถะหนไทกัดเหมา. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗. | ไท ๑ (โบ) น. ไทย เช่น ปีโถะหนไทกัดเหมา. (จารึกสยาม). |
ไท เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่. | ไท ๒ น. ผู้เป็นใหญ่. |
ไท้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่. | ไท้ (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่. |
ไทเทเนียม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๒๒ สัญลักษณ์ Ti เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๖๖๘°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ titanium เขียนว่า ที-ไอ-ที-เอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม. | ไทเทเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๒๒ สัญลักษณ์ Ti เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๖๖๘°ซ. ใช้ประโยชน์นําไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. (อ. titanium). |
ไทเทรต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ตอ-เต่า | [เทฺรด] เป็นคำกริยา หมายถึง หยดสารละลายหนึ่งจากหลอดแก้วที่มีขีดบอกปริมาตรซึ่งเรียกว่าบิวเรตต์ลงในสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้ว เพื่อให้ทําปฏิกิริยาเคมีกันจนกระทั่งปฏิกิริยาสิ้นสุด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ titrate เขียนว่า ที-ไอ-ที-อา-เอ-ที-อี. | ไทเทรต [เทฺรด] ก. หยดสารละลายหนึ่งจากหลอดแก้วที่มีขีดบอกปริมาตรซึ่งเรียกว่าบิวเรตต์ลงในสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้ว เพื่อให้ทําปฏิกิริยาเคมีกันจนกระทั่งปฏิกิริยาสิ้นสุด. (อ. titrate). |
ไทย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | [ไท] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า, ชนเชื้อชาติไทยมีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทยใหญ่ ไทยดํา ไทยขาว; ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส; คน เช่น ไทยบ้านนอก ว่า คนบ้านนอก ไทยใจแทตย์ ว่า คนใจยักษ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์. | ไทย ๑ [ไท] น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดต่อกับลาว เขมร มาเลเซีย และพม่า, ชนเชื้อชาติไทยมีหลายสาขาด้วยกัน เช่น ไทยใหญ่ ไทยดํา ไทยขาว; ความมีอิสระในตัว, ความไม่เป็นทาส; คน เช่น ไทยบ้านนอก ว่า คนบ้านนอก ไทยใจแทตย์ ว่า คนใจยักษ์. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ไทยดำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ซงดํา, โซ่ง หรือ ซ่ง ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู โซ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-งอ-งู. | ไทยดำ น. ซงดํา, โซ่ง หรือ ซ่ง ก็เรียก. (ดู โซ่ง). |
ไทยน้อย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชนชาติไทยสาขาหนึ่ง ซึ่งมาเป็นไทยแห่งประเทศไทย. | ไทยน้อย น. ชนชาติไทยสาขาหนึ่ง ซึ่งมาเป็นไทยแห่งประเทศไทย. |
ไทยนับสาม, ไทยนับห้า ไทยนับสาม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ไทยนับห้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวิธีเขียนหนังสือลับอย่างโบราณ เมื่อจะอ่านต้องนับอ่านตัวที่ ๓ หรือที่ ๕ ฯลฯ ตามชื่อ. | ไทยนับสาม, ไทยนับห้า น. ชื่อวิธีเขียนหนังสือลับอย่างโบราณ เมื่อจะอ่านต้องนับอ่านตัวที่ ๓ หรือที่ ๕ ฯลฯ ตามชื่อ. |
ไทยหลง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วิธีเขียนหนังสือลับของโบราณอย่างหนึ่ง. | ไทยหลง น. วิธีเขียนหนังสือลับของโบราณอย่างหนึ่ง. |
ไทยหลวง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ไทยใหญ่. | ไทยหลวง น. ไทยใหญ่. |
ไทยใหญ่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อรัฐหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศพม่าติดต่อกับทางภาคเหนือของประเทศไทย, ฉาน ก็เรียก, ชนชาติไทยสาขาหนึ่งอยู่ในรัฐฉาน เรียกกันว่า เงี้ยว, ไทยหลวง ก็ว่า. | ไทยใหญ่ น. ชื่อรัฐหนึ่งทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศพม่าติดต่อกับทางภาคเหนือของประเทศไทย, ฉาน ก็เรียก, ชนชาติไทยสาขาหนึ่งอยู่ในรัฐฉาน เรียกกันว่า เงี้ยว, ไทยหลวง ก็ว่า. |
ไทย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | [ไทยะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ควรให้, ใช้ประกอบเป็นคํานําหน้าสมาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทยฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ไทย ๒ [ไทยะ] (แบบ) ว. ควรให้, ใช้ประกอบเป็นคํานําหน้าสมาส. (ป. เทยฺย). |
ไทยทาน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [ไทยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ของสําหรับทําทาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทยฺยทาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | ไทยทาน [ไทยะ] น. ของสําหรับทําทาน. (ป. เทยฺยทาน). |
ไทยธรรม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [ไทยะทํา] เป็นคำนาม หมายถึง ของทําบุญต่าง ๆ, ของถวายพระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เทยฺยธมฺม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | ไทยธรรม [ไทยะทํา] น. ของทําบุญต่าง ๆ, ของถวายพระ. (ป. เทยฺยธมฺม). |
ไทร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ | [ไซ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae มีหลายชนิด เช่น ไทรย้อย (F. benjamina L.) ไทรย้อยใบทู่ หรือ ไฮฮี (F. microcarpa L.f.). | ไทร [ไซ] น. ชื่อไม้ต้นในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae มีหลายชนิด เช่น ไทรย้อย (F. benjamina L.) ไทรย้อยใบทู่ หรือ ไฮฮี (F. microcarpa L.f.). |
ไทรทอง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | ดู กร่าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู. | ไทรทอง ดู กร่าง. |
ไทรเลียบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้ | ดู ไกร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑. | ไทรเลียบ ดู ไกร ๑. |
ไทวะ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า, สวรรค์; วาสนา, เคราะห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ไทวะ (แบบ) น. ฟ้า, สวรรค์; วาสนา, เคราะห์. (ส.). |
ธ เขียนว่า ทอ-ทง ความหมายที่ ๑ | พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เป็นพวกอักษรตํ่า และใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สุเมธ มคธ. | ธ ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เป็นพวกอักษรตํ่า และใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สุเมธ มคธ. |
ธ เขียนว่า ทอ-ทง ความหมายที่ ๒ | [ทะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำสรรพนาม หมายถึง ท่าน, เธอ, เช่น ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. | ธ ๒ [ทะ] (กลอน) ส. ท่าน, เธอ, เช่น ธ ประสงค์ใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. |
ธง เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ผืนผ้าโดยมากเป็นสีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ทําด้วยกระดาษและสิ่งอื่น ๆ ก็มี สําหรับ (๑) ใช้เป็นเครื่องหมายบอกชาติ ตําแหน่งในราชการ โดยมีกําหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ทัพนายกอง. (๒) ใช้เป็นเครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกที่ตั้งกองบรรเทาทุกข์, ธงขาว บอกความจํานนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้, ธงเหลือง บอกเป็นเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย, ธงแดง บอกเหตุการณ์อันเป็นภัย. (๓) ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคารการค้า และอื่น ๆ. (๔) ใช้เป็นอาณัติสัญญาณ. (๕) ใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ในงานรื่นเริงหรือถือเข้ากระบวนแห่เป็นต้น; ชื่อดาวหมู่หนึ่งตามที่กล่าวว่า โน่นดาวธงตรงหน้าอาชาไนย. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗; ชื่อคันเบ็ดที่ปักประจําล่อปลา, กิริยาที่เอาเบ็ดนั้นไปปักเรียกว่า ธง; ข้อความที่อธิบายนําไว้เป็นตัวอย่าง. | ธง น. ผืนผ้าโดยมากเป็นสีและบางอย่างมีลวดลายเป็นรูปต่าง ๆ ที่ทําด้วยกระดาษและสิ่งอื่น ๆ ก็มี สําหรับ (๑) ใช้เป็นเครื่องหมายบอกชาติ ตําแหน่งในราชการ โดยมีกําหนดกฎเกณฑ์เป็นต้น เช่น ธงชาติ ธงแม่ทัพนายกอง. (๒) ใช้เป็นเครื่องหมายตามแบบสากลนิยม เช่น ธงกาชาด บอกที่ตั้งกองบรรเทาทุกข์, ธงขาว บอกความจํานนขอหย่าศึกหรือยอมแพ้, ธงเหลือง บอกเป็นเรือพยาบาลคนป่วยหรือเรือที่มีโรคติดต่ออันตราย, ธงแดง บอกเหตุการณ์อันเป็นภัย. (๓) ใช้เป็นเครื่องหมายเรือเดินทะเล คณะ สมาคม อาคารการค้า และอื่น ๆ. (๔) ใช้เป็นอาณัติสัญญาณ. (๕) ใช้เป็นเครื่องตกแต่งสถานที่ในงานรื่นเริงหรือถือเข้ากระบวนแห่เป็นต้น; ชื่อดาวหมู่หนึ่งตามที่กล่าวว่า โน่นดาวธงตรงหน้าอาชาไนย. (อภัย); ชื่อคันเบ็ดที่ปักประจําล่อปลา, กิริยาที่เอาเบ็ดนั้นไปปักเรียกว่า ธง; ข้อความที่อธิบายนําไว้เป็นตัวอย่าง. |
ธงกระบี่ธุช เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง | ดู กระบี่ธุช เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ที่ กระบี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑. | ธงกระบี่ธุช ดู กระบี่ธุช ที่ กระบี่ ๑. |
ธงครุฑพ่าห์ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | ดู ครุฑพ่าห์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ที่ ครุฑ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท. | ธงครุฑพ่าห์ ดู ครุฑพ่าห์ ที่ ครุฑ. |
ธงจระเข้ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ธงผืนผ้ามีรูปจระเข้ตรงกลาง มักปักไว้ที่ท่านํ้าหน้าวัด แสดงว่าทอดกฐินแล้ว. | ธงจระเข้ น. ธงผืนผ้ามีรูปจระเข้ตรงกลาง มักปักไว้ที่ท่านํ้าหน้าวัด แสดงว่าทอดกฐินแล้ว. |
ธงฉาน เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงที่มีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ แต่ตรงกลางของผืนธงมีรูปจักร ๘ แฉก แฉกของจักรเวียนไปทางซ้ายและมีสมอสอดวงจักรภายใต้พระมหามงกุฎ รูปเหล่านี้เป็นสีเหลือง เป็นธงที่ใช้ในเรือพระที่นั่งและเรือหลวง หรือเป็นธงสําหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ธงนํากระบวนกองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม. | ธงฉาน (กฎ) น. ธงที่มีลักษณะอย่างเดียวกับธงชาติ แต่ตรงกลางของผืนธงมีรูปจักร ๘ แฉก แฉกของจักรเวียนไปทางซ้ายและมีสมอสอดวงจักรภายใต้พระมหามงกุฎ รูปเหล่านี้เป็นสีเหลือง เป็นธงที่ใช้ในเรือพระที่นั่งและเรือหลวง หรือเป็นธงสําหรับหน่วยทหารเรือที่ยกพลขึ้นบก ซึ่งหน่วยทหารนั้นไม่ได้รับพระราชทานธงชัยเฉลิมพล; (โบ) ธงนํากระบวนกองชนะ มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม. |
ธงชัย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ธงซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะ. | ธงชัย ๑ น. ธงซึ่งเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะ. |
ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีเหลืองรูปสี่เหลี่ยม มีภาพครุฑที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพครุฑจับนาคจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงผูกเป็นแพนเสียบที่กาบ, ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และอัญเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เข้าคู่กับ ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย หรือ ธงชัยราชกระบี่ยุทธ โดยธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา และธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยหรือธงชัยราชกระบี่ยุทธอยู่ทางด้านซ้าย. | ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีเหลืองรูปสี่เหลี่ยม มีภาพครุฑที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพครุฑจับนาคจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงผูกเป็นแพนเสียบที่กาบ, ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และอัญเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เข้าคู่กับ ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย หรือ ธงชัยราชกระบี่ยุทธ โดยธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา และธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยหรือธงชัยราชกระบี่ยุทธอยู่ทางด้านซ้าย. |
ธงชัยราชกระบี่ธุช, ธงชัยราชกระบี่ธุชใหญ่ ธงชัยราชกระบี่ธุช เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ธงชัยราชกระบี่ธุชใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ดู กระบี่ธุช เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง ที่ กระบี่ เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑. | ธงชัยราชกระบี่ธุช, ธงชัยราชกระบี่ธุชใหญ่ ดู กระบี่ธุช ที่ กระบี่ ๑. |
ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีแดงรูปสี่เหลี่ยม มีภาพพระกระบี่คือหนุมานที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพหนุมานจำนวน ๔ กาบมีหางนกยูงเป็นแพนเสียบที่แผ่นกาบ มีอีกชื่อหนึ่งว่า ธงชัยราชกระบี่ยุทธ, ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และอัญเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เข้าคู่กับ ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย โดยธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยอยู่ทางด้านซ้าย และธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา. | ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีแดงรูปสี่เหลี่ยม มีภาพพระกระบี่คือหนุมานที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพหนุมานจำนวน ๔ กาบมีหางนกยูงเป็นแพนเสียบที่แผ่นกาบ มีอีกชื่อหนึ่งว่า ธงชัยราชกระบี่ยุทธ, ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และอัญเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เข้าคู่กับ ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย โดยธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยอยู่ทางด้านซ้าย และธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา. |
ธงชัยราชกระบี่ยุทธ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง | ดู ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ที่ ธง เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู. | ธงชัยราชกระบี่ยุทธ ดู ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย ที่ ธง. |
ธงชาติ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ธงที่มีความหมายถึงประเทศและชาติใดชาติหนึ่ง. | ธงชาติ ๑ น. ธงที่มีความหมายถึงประเทศและชาติใดชาติหนึ่ง. |
ธงชาติ ๒, ธงชาติไทย ธงชาติ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ธงชาติไทย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงที่มีความหมายถึงประเทศไทยและชาติไทย มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้านกว้างแบ่งเป็น ๕ แถบตลอดความยาวของผืนธง ตรงกลางเป็นแถบสีนํ้าเงินแก่ กว้าง ๒ ส่วน ต่อจากแถบสีนํ้าเงินแก่ออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีขาวกว้างข้างละ ๑ ส่วน ต่อจากแถบสีขาวออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีแดงกว้างข้างละ ๑ ส่วน ธงชาตินี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์. | ธงชาติ ๒, ธงชาติไทย (กฎ) น. ธงที่มีความหมายถึงประเทศไทยและชาติไทย มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๖ ส่วน ยาว ๙ ส่วน ด้านกว้างแบ่งเป็น ๕ แถบตลอดความยาวของผืนธง ตรงกลางเป็นแถบสีนํ้าเงินแก่ กว้าง ๒ ส่วน ต่อจากแถบสีนํ้าเงินแก่ออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีขาวกว้างข้างละ ๑ ส่วน ต่อจากแถบสีขาวออกไปทั้ง ๒ ข้างเป็นแถบสีแดงกว้างข้างละ ๑ ส่วน ธงชาตินี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์. |
ธงชาย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ธงรูปสามเหลี่ยม ใช้ในกองทัพบก. | ธงชาย น. ธงรูปสามเหลี่ยม ใช้ในกองทัพบก. |
ธงตะขาบ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ธงชนิดหนึ่งทำด้วยแผ่นผ้าเป็นชิ้น ๆ เย็บติดกันไปเป็นพืด มีไม้สอดระหว่างชิ้นทำให้มีลักษณะคล้ายตัวตะขาบ ขนาดกว้างยาวตามต้องการ มักแขวนไว้ยอดเสาหงส์ตามหน้าวัดเป็นพุทธบูชา. ในวงเล็บ รูปภาพ ธงตะขาบ. | ธงตะขาบ น. ธงชนิดหนึ่งทำด้วยแผ่นผ้าเป็นชิ้น ๆ เย็บติดกันไปเป็นพืด มีไม้สอดระหว่างชิ้นทำให้มีลักษณะคล้ายตัวตะขาบ ขนาดกว้างยาวตามต้องการ มักแขวนไว้ยอดเสาหงส์ตามหน้าวัดเป็นพุทธบูชา. (รูปภาพ ธงตะขาบ). |
ธงไตรรงค์ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ธงชาติไทย. | ธงไตรรงค์ น. ธงชาติไทย. |
ธงทิว, ธงเทียว ธงทิว เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน ธงเทียว เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ธงที่มีรูปลักษณะคล้ายกระบอก. | ธงทิว, ธงเทียว น. ธงที่มีรูปลักษณะคล้ายกระบอก. |
ธงนำริ้ว เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ธงรูปสามเหลี่ยม ใช้นําริ้วกระบวนต่าง ๆ; ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง มีตัวอย่างว่า กุ๋ยกุ๋ยหน้าไม่เก้อละเมอหึง ฟังฟังก็เหมือนแกล้งแพร่งความอึง คิดคิดและให้ขึ้งขุ่นเคืองใจ. | ธงนำริ้ว น. ธงรูปสามเหลี่ยม ใช้นําริ้วกระบวนต่าง ๆ; ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง มีตัวอย่างว่า กุ๋ยกุ๋ยหน้าไม่เก้อละเมอหึง ฟังฟังก็เหมือนแกล้งแพร่งความอึง คิดคิดและให้ขึ้งขุ่นเคืองใจ. |
ธงบรมราชวงศ์น้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับตอนต้นของธงบรมราชวงศ์ใหญ่แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีแดงแปลงเป็นรูปธงยาวเรียว โดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของธงตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงบรมราชวงศ์ใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. | ธงบรมราชวงศ์น้อย (กฎ) น. ธงสําหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับตอนต้นของธงบรมราชวงศ์ใหญ่แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีแดงแปลงเป็นรูปธงยาวเรียว โดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของธงตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงบรมราชวงศ์ใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. |
ธงบรมราชวงศ์ใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธง ที่ตรงกลางตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของผืนธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีขาบ มีขนาดกว้างยาวครึ่งหนึ่งของความกว้างของผืนธง ภายในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีขาบมีรูปมงกุฎขัตติยราชนารีประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า ๒ ชั้นเหนือตั่ง และมีตั่งลดตั้งฉัตรกลีบบัว ๕ ชั้น อยู่ ๒ ข้าง รูปเหล่านี้เป็นสีเหลืองเข้ม. | ธงบรมราชวงศ์ใหญ่ (กฎ) น. ธงสําหรับองค์สมเด็จพระบรมราชชนนี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธง ที่ตรงกลางตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของผืนธงเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีขาบ มีขนาดกว้างยาวครึ่งหนึ่งของความกว้างของผืนธง ภายในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีขาบมีรูปมงกุฎขัตติยราชนารีประดิษฐานบนพานแว่นฟ้า ๒ ชั้นเหนือตั่ง และมีตั่งลดตั้งฉัตรกลีบบัว ๕ ชั้น อยู่ ๒ ข้าง รูปเหล่านี้เป็นสีเหลืองเข้ม. |
ธงพระครุฑพ่าห์, ธงชัยพระครุฑพ่าห์, ธงชัยพระครุฑพ่าห์ใหญ่ ธงพระครุฑพ่าห์ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ธงชัยพระครุฑพ่าห์ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ธงชัยพระครุฑพ่าห์ใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ดู ครุฑพ่าห์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ที่ ครุฑ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท. | ธงพระครุฑพ่าห์, ธงชัยพระครุฑพ่าห์, ธงชัยพระครุฑพ่าห์ใหญ่ ดู ครุฑพ่าห์ ที่ ครุฑ. |
ธงมหาราชน้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์พระมหากษัตริย์ แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงมหาราชใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. | ธงมหาราชน้อย (กฎ) น. ธงสําหรับองค์พระมหากษัตริย์ แบ่งตามความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงมหาราชใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. |
ธงมหาราชใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-มอ-ม้า-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์พระมหากษัตริย์ มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงสีเหลือง มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง. | ธงมหาราชใหญ่ (กฎ) น. ธงสําหรับองค์พระมหากษัตริย์ มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงสีเหลือง มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง. |
ธงเยาวราชน้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช แบ่งความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงเยาวราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงเยาวราชใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. | ธงเยาวราชน้อย (กฎ) น. ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช แบ่งความยาวออกเป็น ๒ ตอน ตอนต้นมีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงเยาวราชใหญ่ แต่กว้างไม่เกิน ๖๐ เซนติเมตร ตอนปลายมีลักษณะเป็นชายต่อสีขาวแปลงเป็นรูปธงยาวเรียวโดยให้ปลายสุดกว้างครึ่งหนึ่งของตอนต้น ปลายธงตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๓ ใน ๘ ส่วนของความยาวของผืนธง ความยาวของผืนธงเป็น ๘ เท่าของความกว้างของตอนต้น ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงเยาวราชใหญ่ หมายความว่า โปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. |
ธงเยาวราชใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงมี ๒ สี รอบนอกสีขาบ รอบในสีเหลืองกว้างยาวครึ่งหนึ่งของรอบนอก มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง. | ธงเยาวราชใหญ่ (กฎ) น. ธงสําหรับองค์สมเด็จพระยุพราช มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นธงมี ๒ สี รอบนอกสีขาบ รอบในสีเหลืองกว้างยาวครึ่งหนึ่งของรอบนอก มีรูปพระครุฑพ่าห์สีแดงอยู่ตรงกลาง. |
ธงราชินีน้อย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์สมเด็จพระราชินี มีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชน้อย เว้นแต่ชายต่อเป็นสีแดง ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงราชินีใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. | ธงราชินีน้อย (กฎ) น. ธงสําหรับองค์สมเด็จพระราชินี มีลักษณะและสีอย่างเดียวกับธงมหาราชน้อย เว้นแต่ชายต่อเป็นสีแดง ธงนี้ถ้าชักขึ้นแทนธงราชินีใหญ่ หมายความว่า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้งดการยิงสลุตถวายคํานับ. |
ธงราชินีใหญ่ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธงสําหรับองค์สมเด็จพระราชินี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธงเหมือนธงมหาราชใหญ่ ตอนปลายตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธง. | ธงราชินีใหญ่ (กฎ) น. ธงสําหรับองค์สมเด็จพระราชินี มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง ๒ ส่วน ยาว ๓ ส่วน พื้นธงสีเหลือง ตอนต้น ๒ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธงเหมือนธงมหาราชใหญ่ ตอนปลายตัดเป็นแฉกรูปหางนกแซงแซว ลึก ๑ ใน ๓ ส่วนของความยาวของผืนธง. |
ธงสามชาย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ธงรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ปลายธงมี ๓ แฉก เป็น ๓ ชายลดหลั่นกัน มักใช้นำริ้วกระบวน ถ้าใช้เข้ากระบวนแห่ในพระราชพิธี ผืนธงทำด้วยผ้าสักหลาดสอดสีปักดิ้นหักทองขวางเป็นลวดลาย. | ธงสามชาย น. ธงรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ปลายธงมี ๓ แฉก เป็น ๓ ชายลดหลั่นกัน มักใช้นำริ้วกระบวน ถ้าใช้เข้ากระบวนแห่ในพระราชพิธี ผืนธงทำด้วยผ้าสักหลาดสอดสีปักดิ้นหักทองขวางเป็นลวดลาย. |
ธงสามเหลี่ยม เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์กฤติกา มี ๘ ดวง, ดาวกฤตติกา ดาวกัตติกา หรือ ดาวลูกไก่ ก็เรียก. | ธงสามเหลี่ยม น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์กฤติกา มี ๘ ดวง, ดาวกฤตติกา ดาวกัตติกา หรือ ดาวลูกไก่ ก็เรียก. |
ธงหางแซงแซว เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ซอ-โซ่-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกสิ่งเช่นธงที่มีรูปเป็นแฉกเหมือนหางนกแซงแซว. | ธงหางแซงแซว น. เรียกสิ่งเช่นธงที่มีรูปเป็นแฉกเหมือนหางนกแซงแซว. |
ธงก์ เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-กอ-ไก่-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กา (นก). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธงก์ (แบบ) น. กา (นก). (ป.). |
ธงชัย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | ดูใน ธง เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู. | ธงชัย ๑ ดูใน ธง. |
ธงชัย เขียนว่า ทอ-ทง-งอ-งู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง กาลโยคอย่างหนึ่งในโหราศาสตร์ คือ เวลาประกอบด้วยโชคคราวชนะเข้าไปถึงที่ซึ่งศัตรูจะตั้งอยู่ไม่ได้. | ธงชัย ๒ น. กาลโยคอย่างหนึ่งในโหราศาสตร์ คือ เวลาประกอบด้วยโชคคราวชนะเข้าไปถึงที่ซึ่งศัตรูจะตั้งอยู่ไม่ได้. |
ธชะ เขียนว่า ทอ-ทง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ธง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธชะ (แบบ) น. ธง. (ป.). |
ธชี เขียนว่า ทอ-ทง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี | [ทะ] เป็นคำนาม หมายถึง พราหมณ์, นักบวช. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธฺวชินฺ เขียนว่า ทอ-ทง-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ ว่า ผู้ถือธง, พราหมณ์ . | ธชี [ทะ] น. พราหมณ์, นักบวช. (ป.; ส. ธฺวชินฺ ว่า ผู้ถือธง, พราหมณ์). |
ธตรฐ เขียนว่า ทอ-ทง-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ถอ-ถาน | [ทะตะรด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อท้าวจาตุมหาราชองค์หนึ่ง ประจําทิศบูรพา. | ธตรฐ [ทะตะรด] น. ชื่อท้าวจาตุมหาราชองค์หนึ่ง ประจําทิศบูรพา. |
ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู | [ทน, ทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธน, ธน [ทน, ทะนะ] น. ทรัพย์สิน. (ป., ส.). |
ธนธานี เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | [ทะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่เก็บพัสดุมีค่า, คลัง, ที่เก็บสินค้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธนธานี [ทะนะ] น. สถานที่เก็บพัสดุมีค่า, คลัง, ที่เก็บสินค้า. (ป., ส.). |
ธนบดี เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [ทะนะบอ] เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าของทรัพย์, เศรษฐีผู้มีทรัพย์เป็นทุน, นายทุน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธนปติ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า เจ้าแห่งทรัพย์ คือ พระอินทร์, ท้าวกุเวร . | ธนบดี [ทะนะบอ] น. เจ้าของทรัพย์, เศรษฐีผู้มีทรัพย์เป็นทุน, นายทุน. (ส. ธนปติ ว่า เจ้าแห่งทรัพย์ คือ พระอินทร์, ท้าวกุเวร). |
ธนบัตร เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [ทะนะบัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บัตรที่ออกใช้เป็นเงินตรา ซึ่งใช้ชําระหนี้ได้ตามกฎหมายโดยไม่จํากัดจํานวน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู + ปตฺร เขียนว่า ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | ธนบัตร [ทะนะบัด] (กฎ) น. บัตรที่ออกใช้เป็นเงินตรา ซึ่งใช้ชําระหนี้ได้ตามกฎหมายโดยไม่จํากัดจํานวน. (ส. ธน + ปตฺร). |
ธนบัตรย่อย เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ธนบัตรที่ราคาน้อยกว่าฉบับที่มีราคามากกว่า, แบงก์ย่อย ก็ว่า. | ธนบัตรย่อย น. ธนบัตรที่ราคาน้อยกว่าฉบับที่มีราคามากกว่า, แบงก์ย่อย ก็ว่า. |
ธนสมบัติ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [ทะนะสมบัด] เป็นคำนาม หมายถึง การถึงพร้อมแห่งทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธนสมบัติ [ทะนะสมบัด] น. การถึงพร้อมแห่งทรัพย์, ทรัพย์สมบัติ. (ป.). |
ธนสาร เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [ทะนะสาน] เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สมบัติที่เป็นแก่นสาร, ทรัพย์สมบัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธนสาร [ทะนะสาน] น. ทรัพย์สมบัติที่เป็นแก่นสาร, ทรัพย์สมบัติ. (ป.). |
ธนัง เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ทรัพย์สิน เช่น มันก็ไม่รู้มั่งที่จะให้เกิดทุนธนัง. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก. | ธนัง (แบบ; กลอน) น. ทรัพย์สิน เช่น มันก็ไม่รู้มั่งที่จะให้เกิดทุนธนัง. (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ธนาคาร เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย บริษัทจํากัด หรือ บริษัทมหาชนจํากัด ที่ใช้ชื่อหรือคําแสดงชื่อว่า ธนาคาร ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเงินและธุรกิจหลักทรัพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู + อคาร เขียนว่า ออ-อ่าง-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | ธนาคาร น. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย บริษัทจํากัด หรือ บริษัทมหาชนจํากัด ที่ใช้ชื่อหรือคําแสดงชื่อว่า ธนาคาร ซึ่งประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเงินและธุรกิจหลักทรัพย์. (ป. ธน + อคาร). |
ธนาคารพาณิชย์ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกําหนดไว้ และใช้ประโยชน์เงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น ให้สินเชื่อ ซื้อขายตั๋วแลกเงินหรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด ซื้อขายเงินปริวรรตต่างประเทศ และหมายความรวมถึงสาขาของธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจดังกล่าวด้วย. | ธนาคารพาณิชย์ (กฎ) น. ธนาคารที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันกําหนดไว้ และใช้ประโยชน์เงินนั้นในทางหนึ่งหรือหลายทาง เช่น ให้สินเชื่อ ซื้อขายตั๋วแลกเงินหรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด ซื้อขายเงินปริวรรตต่างประเทศ และหมายความรวมถึงสาขาของธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจดังกล่าวด้วย. |
ธนาคารเลือด เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้ เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย. | ธนาคารเลือด น. สถานที่เก็บรักษาเลือดไว้ เพื่อบริการแก่ผู้ป่วย. |
ธนาคารโลก เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง คําสามัญเรียกธนาคารระหว่างประเทศเพื่อบูรณะและวิวัฒนาการ ซึ่งทําหน้าที่ให้กู้ยืมเงินแก่ประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศของตนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ธนาคารนี้ไม่รับฝากเงิน. | ธนาคารโลก น. คําสามัญเรียกธนาคารระหว่างประเทศเพื่อบูรณะและวิวัฒนาการ ซึ่งทําหน้าที่ให้กู้ยืมเงินแก่ประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศของตนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ธนาคารนี้ไม่รับฝากเงิน. |
ธนาคารออมสิน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง ธนาคารที่ตั้งขึ้นเพื่อรับฝากเงินออมสิน ออกพันธบัตรออมสินและสลากออมสิน รับฝากเงินออมสินเพื่อสงเคราะห์ชีวิตและครอบครัว ทําการรับจ่ายและโอนเงิน ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอนุญาต การออมสินอื่น ๆ หรือกิจการอันเป็นงานธนาคาร ตามที่พระราชกฤษฎีกากําหนดไว้ และให้ประกอบได้ตามข้อกําหนดและเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในกฎกระทรวง. | ธนาคารออมสิน (กฎ) น. ธนาคารที่ตั้งขึ้นเพื่อรับฝากเงินออมสิน ออกพันธบัตรออมสินและสลากออมสิน รับฝากเงินออมสินเพื่อสงเคราะห์ชีวิตและครอบครัว ทําการรับจ่ายและโอนเงิน ซื้อหรือขายพันธบัตรรัฐบาลไทย ลงทุนเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอนุญาต การออมสินอื่น ๆ หรือกิจการอันเป็นงานธนาคาร ตามที่พระราชกฤษฎีกากําหนดไว้ และให้ประกอบได้ตามข้อกําหนดและเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในกฎกระทรวง. |
ธนาณัติ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง การส่งเงินทางไปรษณีย์ โดยวิธีผู้ส่งมอบเงินไว้ยังที่ทําการไปรษณีย์แห่งหนึ่งแล้วเจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ออกตราสารสั่งให้ที่ทําการไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งจ่ายเงินให้แก่ผู้รับ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ตราสารซึ่งที่ทําการไปรษณีย์แห่งหนึ่งสั่งให้ที่ทําการไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งจ่ายเงิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู + อาณตฺติ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ . | ธนาณัติ น. การส่งเงินทางไปรษณีย์ โดยวิธีผู้ส่งมอบเงินไว้ยังที่ทําการไปรษณีย์แห่งหนึ่งแล้วเจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ออกตราสารสั่งให้ที่ทําการไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งจ่ายเงินให้แก่ผู้รับ; (กฎ) ตราสารซึ่งที่ทําการไปรษณีย์แห่งหนึ่งสั่งให้ที่ทําการไปรษณีย์อีกแห่งหนึ่งจ่ายเงิน. (ป. ธน + อาณตฺติ). |
ธเนศ, ธเนศวร ธเนศ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา ธเนศวร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [ทะเนด, ทะเนสวน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าแห่งทรัพย์, คนมั่งมี; ท้าวกุเวร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธเนศ, ธเนศวร [ทะเนด, ทะเนสวน] (แบบ) น. เจ้าแห่งทรัพย์, คนมั่งมี; ท้าวกุเวร. (ส.). |
ธโนปจัย เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [ทะโนปะไจ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การสะสมทรัพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธโนปจัย [ทะโนปะไจ] (แบบ) น. การสะสมทรัพย์. (ส.). |
ธไนศวรรย์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ทะไนสะหฺวัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง อิสรภาพเหนือทรัพย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู + ไอศฺวรฺย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | ธไนศวรรย์ [ทะไนสะหฺวัน] (แบบ) น. อิสรภาพเหนือทรัพย์. (ส. ธน + ไอศฺวรฺย). |
ธนัง เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธนัง ดู ธน, ธน. |
ธนาคม เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง การมาแห่งกําไร, กําไร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธนาคม (แบบ; กลอน) น. การมาแห่งกําไร, กําไร. (ส.). |
ธนาคาร เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธนาคาร ดู ธน, ธน. |
ธนาคารพาณิชย์ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธนาคารพาณิชย์ ดู ธน, ธน. |
ธนาคารโลก เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธนาคารโลก ดู ธน, ธน. |
ธนาคารออมสิน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธนาคารออมสิน ดู ธน, ธน. |
ธนาณัติ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธนาณัติ ดู ธน, ธน. |
ธนิต เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนัก, เสียงพยัญชนะบางประเภทที่เปล่งเสียงพร้อมกับมีกลุ่มลมออกมา ในภาษาไทยได้แก่เสียง พ ท ค ช ฮ, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในไวยากรณ์ หมายถึง เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงหนักว่า พยัญชนะธนิต ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๒ และ ๔ ของวรรค. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธนิต ว. หนัก, เสียงพยัญชนะบางประเภทที่เปล่งเสียงพร้อมกับมีกลุ่มลมออกมา ในภาษาไทยได้แก่เสียง พ ท ค ช ฮ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงหนักว่า พยัญชนะธนิต ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๒ และ ๔ ของวรรค. (ป.). |
ธนิษฐะ, ธนิษฐา ธนิษฐะ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อะ ธนิษฐา เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ดาวฤกษ์ที่ ๒๓ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปกา, ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี หรือ ดาวไซ ก็เรียก. | ธนิษฐะ, ธนิษฐา น. ดาวฤกษ์ที่ ๒๓ มี ๔ ดวง เห็นเป็นรูปกา, ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี หรือ ดาวไซ ก็เรียก. |
ธนุ, ธนุรญ ธนุ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ ธนุรญ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ยอ-หยิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ธนู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธนุ, ธนุรญ (แบบ) น. ธนู. (ป.). |
ธนุรมารค เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย | [ทะนุระมาก] เป็นคำนาม หมายถึง ทางโค้งเหมือนธนู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธนุรมารค [ทะนุระมาก] น. ทางโค้งเหมือนธนู. (ส.). |
ธนุรวิทยา, ธนุรเวท ธนุรวิทยา เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา ธนุรเวท เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน | [ทะนุระ] เป็นคำนาม หมายถึง วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ๆ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . ในวงเล็บ ดู อุปเวท ประกอบ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ . | ธนุรวิทยา, ธนุรเวท [ทะนุระ] น. วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ๆ. (ส.). (ดู อุปเวท ประกอบ). |
ธนู เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาวุธชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันธนูซึ่งมีสายธนูสำหรับน้าวยิง และลูกธนูที่มีปลายแหลม; ชื่อกลุ่มดาวรูปธนู เรียกว่า ราศีธนู เป็นราศีที่ ๘ ในจักรราศี; ชื่อดาวฤกษ์อนุราธา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธนุ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ. | ธนู น. ชื่ออาวุธชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันธนูซึ่งมีสายธนูสำหรับน้าวยิง และลูกธนูที่มีปลายแหลม; ชื่อกลุ่มดาวรูปธนู เรียกว่า ราศีธนู เป็นราศีที่ ๘ ในจักรราศี; ชื่อดาวฤกษ์อนุราธา. (ป. ธนุ). |
ธนูศิลป์ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ฝีมือยิงธนู, การฝึกหัดยิงธนู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธนูศิลป์ น. ฝีมือยิงธนู, การฝึกหัดยิงธนู. (ส.). |
ธเนศ, ธเนศวร ธเนศ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา ธเนศวร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธเนศ, ธเนศวร ดู ธน, ธน. |
ธโนปจัย เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ปอ-ปลา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธโนปจัย ดู ธน, ธน. |
ธไนศวรรย์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-นอ-หนู-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู ธน, ธน ธน เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู ธน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู . | ธไนศวรรย์ ดู ธน, ธน. |
ธม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่, หลวง, เช่น นครธม. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ธม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า. | ธม ว. ใหญ่, หลวง, เช่น นครธม. (ข. ธม). |
ธมกรก เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [ทะมะกะหฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง กระบอกกรองนํ้าของพระสงฆ์ เป็นเครื่องใช้สอย ๑ อย่างในอัฐบริขาร; เครื่องกรองนํ้าด้วยลมเป่า; กระบอกก้นหุ้มผ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธมกรก [ทะมะกะหฺรก] น. กระบอกกรองนํ้าของพระสงฆ์ เป็นเครื่องใช้สอย ๑ อย่างในอัฐบริขาร; เครื่องกรองนํ้าด้วยลมเป่า; กระบอกก้นหุ้มผ้า. (ป.). |
ธร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ | [ทอน] เป็นคำนาม หมายถึง การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธฺฤ เขียนว่า ทอ-ทง-พิน-ทุ-รอ-รึ. | ธร [ทอน] น. การยึดไว้, การถือไว้, การทรงไว้, การมีไว้; ผู้รักษาไว้, ผู้ทรงไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น วิชาธร วินัยธร. (ป.; ส. ธฺฤ). |
ธรง เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-งอ-งู | [ทฺรง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่เลิกใช้แล้ว เป็นคำกริยา หมายถึง ทรง. ในวงเล็บ มาจาก กฎหมายตราสามดวง. | ธรง [ทฺรง] (โบ; เลิก) ก. ทรง. (สามดวง). |
ธรณ, ธรณะ ธรณ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน ธรณะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [ทอน, ทอระนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การถือไว้, การทรงไว้, การยึดไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธรณ, ธรณะ [ทอน, ทอระนะ] (แบบ) น. การถือไว้, การทรงไว้, การยึดไว้. (ป., ส.). |
ธรณิน เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [ทอระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ธรณี, แผ่นดิน, เช่น กึกก้องสะเทือนธรณิน. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | ธรณิน [ทอระ] (กลอน) น. ธรณี, แผ่นดิน, เช่น กึกก้องสะเทือนธรณิน. (ลอ). |
ธรณินทร์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [ทอระนิน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรณินทร์ [ทอระนิน] (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ธรณิศ, ธรณิศร, ธรณิศวร์ ธรณิศ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา ธรณิศร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ ธรณิศวร์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [ทอระนิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรณิศ, ธรณิศร, ธรณิศวร์ [ทอระนิด] (กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ธรณี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | [ทอระนี] เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน เช่น ธรณีสูบ, พื้นแผ่นดิน เช่น ธรณีวิทยา, โลก เช่น นางในธรณีไม่มีเหมือน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธรณี [ทอระนี] น. แผ่นดิน เช่น ธรณีสูบ, พื้นแผ่นดิน เช่น ธรณีวิทยา, โลก เช่น นางในธรณีไม่มีเหมือน. (ป., ส.). |
ธรณีกันแสง เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง, ธรณีร้องไห้ หรือ พสุธากันแสง ก็ว่า. | ธรณีกันแสง น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง, ธรณีร้องไห้ หรือ พสุธากันแสง ก็ว่า. |
ธรณีประตู เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รองรับกรอบล่างของประตู มีรูครกสําหรับรับเดือยบานประตู และมีรูสําหรับลงลิ่มหรือลงกลอน เช่น ธรณีประตูโบสถ์, ปัจจุบันเรียกไม้กรอบล่างประตูว่า ธรณีประตู. | ธรณีประตู น. ไม้รองรับกรอบล่างของประตู มีรูครกสําหรับรับเดือยบานประตู และมีรูสําหรับลงลิ่มหรือลงกลอน เช่น ธรณีประตูโบสถ์, ปัจจุบันเรียกไม้กรอบล่างประตูว่า ธรณีประตู. |
ธรณีมณฑล เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกโลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรณีมณฑล น. ลูกโลก. (ส.). |
ธรณีร้องไห้ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง, ธรณีกันแสง หรือ พสุธากันแสง ก็ว่า. | ธรณีร้องไห้ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง, ธรณีกันแสง หรือ พสุธากันแสง ก็ว่า. |
ธรณีวิทยา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับประวัติ โครงสร้าง และสภาพของโลก. | ธรณีวิทยา น. วิชาว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับประวัติ โครงสร้าง และสภาพของโลก. |
ธรณีศวร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรณี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี + อิศฺวร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-พิน-ทุ-วอ-แหวน-รอ-เรือ . | ธรณีศวร น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส. ธรณี + อิศฺวร). |
ธรณีสงฆ์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด. | ธรณีสงฆ์ น. ที่ซึ่งเป็นสมบัติของวัด. |
ธรณีสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เสนียดจัญไร, เรียกคนที่มีลักษณะซึมเซาง่วงเหงาหาวนอนอยู่เสมอว่า คนต้องธรณีสาร. | ธรณีสาร ๑ น. เสนียดจัญไร, เรียกคนที่มีลักษณะซึมเซาง่วงเหงาหาวนอนอยู่เสมอว่า คนต้องธรณีสาร. |
ธรณีสูบ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่แผ่นดินแยกออกทำให้คนที่ทำบาปกรรมอย่างยิ่งตกลงหายไป แล้วแผ่นดินก็กลับเป็นอย่างเดิม เป็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนาว่า ธรรมชาติจะลงโทษคนที่ทำบาปหนักนั้นเอง โดยผู้อื่นไม่ต้องลงโทษ. | ธรณีสูบ ก. อาการที่แผ่นดินแยกออกทำให้คนที่ทำบาปกรรมอย่างยิ่งตกลงหายไป แล้วแผ่นดินก็กลับเป็นอย่างเดิม เป็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนาว่า ธรรมชาติจะลงโทษคนที่ทำบาปหนักนั้นเอง โดยผู้อื่นไม่ต้องลงโทษ. |
ธรณีสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | ดูใน ธรณี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี. | ธรณีสาร ๑ ดูใน ธรณี. |
ธรณีสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Phyllanthus pulcher Wall. ex Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae ลําต้นตรง ใช้ทํายาได้, ว่านธรณีสาร ก็เรียก. | ธรณีสาร ๒ น. ชื่อไม้พุ่มขนาดเล็กชนิด Phyllanthus pulcher Wall. ex Muell. Arg. ในวงศ์ Euphorbiaceae ลําต้นตรง ใช้ทํายาได้, ว่านธรณีสาร ก็เรียก. |
ธรมาน เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [ทอระมาน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังดํารงชีวิตอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธรมาน [ทอระมาน] (แบบ) ว. ยังดํารงชีวิตอยู่. (ป.). |
ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | [ทํา, ทํามะ] เป็นคำนาม หมายถึง คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาบาลี ธมฺม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม). |
ธรรมกถา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การกล่าวธรรม, ถ้อยคําที่เป็นธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมกถา เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา. | ธรรมกถา น. การกล่าวธรรม, ถ้อยคําที่เป็นธรรม. (ส.; ป. ธมฺมกถา). |
ธรรมกถึก เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกพระที่เป็นนักเทศน์ผู้แสดงธรรมว่า พระธรรมกถึก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมกถิก เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่. | ธรรมกถึก น. เรียกพระที่เป็นนักเทศน์ผู้แสดงธรรมว่า พระธรรมกถึก. (ป. ธมฺมกถิก). |
ธรรมกาม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ใคร่ธรรม, ผู้นิยมในยุติธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมกาม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ธรรมกาม น. ผู้ใคร่ธรรม, ผู้นิยมในยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมกาม). |
ธรรมกาย เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง กายคือธรรม ได้แก่ พระมหากรุณาธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระบริสุทธิคุณ; พระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า ตามคติมหายานเชื่อว่า ได้แก่พระวิญญาณบริสุทธิ์ของพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมกาย เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก. | ธรรมกาย น. กายคือธรรม ได้แก่ พระมหากรุณาธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระบริสุทธิคุณ; พระนามหนึ่งของพระพุทธเจ้า ตามคติมหายานเชื่อว่า ได้แก่พระวิญญาณบริสุทธิ์ของพระพุทธเจ้า. (ส.; ป. ธมฺมกาย). |
ธรรมการ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง กิจการทางศาสนา. | ธรรมการ น. กิจการทางศาสนา. |
ธรรมการย์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง กิจอันเป็นธรรม, การกุศล, หน้าที่อันสมควร. | ธรรมการย์ น. กิจอันเป็นธรรม, การกุศล, หน้าที่อันสมควร. |
ธรรมเกษตร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง แดนธรรม; คนมีใจกรุณา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมเกษตร น. แดนธรรม; คนมีใจกรุณา. (ส.). |
ธรรมขันธ์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง หมวดธรรม, กองธรรม, ข้อธรรม, (กําหนดข้อธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ภาษาบาลี ขนฺธ เขียนว่า ขอ-ไข่-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง . | ธรรมขันธ์ น. หมวดธรรม, กองธรรม, ข้อธรรม, (กําหนดข้อธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์). (ส. ธรฺม + ป. ขนฺธ). |
ธรรมคุณ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อบทแสดงคุณของพระธรรม มีบาลีขึ้นต้นว่า สฺวากฺขาโต และลงท้ายว่า ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมคุณ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน. | ธรรมคุณ น. ชื่อบทแสดงคุณของพระธรรม มีบาลีขึ้นต้นว่า สฺวากฺขาโต และลงท้ายว่า ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ. (ส.; ป. ธมฺมคุณ). |
ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา ธรรมจรณะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ธรรมจรรยา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การประพฤติถูกธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา น. การประพฤติถูกธรรม. (ส.). |
ธรรมจริยา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ภาษาบาลี จริยา เขียนว่า จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา . | ธรรมจริยา น. การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม. (ส. ธรฺม + ป. จริยา). |
ธรรมจักร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปฐมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวัคคีย์ เรียกเต็มว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร; แดนธรรม; เครื่องหมายทางพระพุทธศาสนา เป็นรูปวงล้อมี ๘ ซี่บ้าง ๑๒ ซี่บ้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมจักร น. ชื่อปฐมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวัคคีย์ เรียกเต็มว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร; แดนธรรม; เครื่องหมายทางพระพุทธศาสนา เป็นรูปวงล้อมี ๘ ซี่บ้าง ๑๒ ซี่บ้าง. (ส.). |
ธรรมจักษุ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ดวงตาคือปัญญาที่รู้เห็นธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมจักษุ น. ดวงตาคือปัญญาที่รู้เห็นธรรม. (ส.). |
ธรรมจาคะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง การละธรรม, การละเมิดศาสนา, การทิ้งศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ภาษาบาลี จาค เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย . | ธรรมจาคะ น. การละธรรม, การละเมิดศาสนา, การทิ้งศาสนา. (ส. ธรฺม + ป. จาค). |
ธรรมจารี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ประพฤติธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมจารี เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาสันสกฤต ธรฺมจารินฺ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ. | ธรรมจารี น. ผู้ประพฤติธรรม. (ป. ธมฺมจารี; ส. ธรฺมจารินฺ). |
ธรรมจินดา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การพิจารณาธรรม. | ธรรมจินดา น. การพิจารณาธรรม. |
ธรรมเจดีย์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เจดีย์ที่บรรจุพระธรรมที่มักจารลงบนใบลาน, คัมภีร์ที่จารึกพระธรรม เช่น พระไตรปิฎก. | ธรรมเจดีย์ น. เจดีย์ที่บรรจุพระธรรมที่มักจารลงบนใบลาน, คัมภีร์ที่จารึกพระธรรม เช่น พระไตรปิฎก. |
ธรรมชาติ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เกิดมีและเป็นอยู่ตามธรรมดาของสิ่งนั้น ๆ, ภาพภูมิประเทศ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เป็นไปเองโดยมิได้ปรุงแต่ง เช่น สีธรรมชาติ. | ธรรมชาติ น. สิ่งที่เกิดมีและเป็นอยู่ตามธรรมดาของสิ่งนั้น ๆ, ภาพภูมิประเทศ. ว. ที่เป็นไปเองโดยมิได้ปรุงแต่ง เช่น สีธรรมชาติ. |
ธรรมฐิติ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง การตั้งอยู่แห่งสิ่งที่เป็นเอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมิติ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ธรรมฐิติ น. การตั้งอยู่แห่งสิ่งที่เป็นเอง. (ป. ธมฺมิติ). |
ธรรมดา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ เช่น การกิน การถ่ายเท การสืบพันธุ์ และการเสื่อมสลาย. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สามัญ, พื้น ๆ, ปรกติ, เช่น เป็นเรื่องธรรมดา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรฺมตา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาบาลี ธมฺมตา เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ธรรมดา น. อาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ เช่น การกิน การถ่ายเท การสืบพันธุ์ และการเสื่อมสลาย. ว. สามัญ, พื้น ๆ, ปรกติ, เช่น เป็นเรื่องธรรมดา. (ส. ธรฺมตา; ป. ธมฺมตา). |
ธรรมทรรศนะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ความเห็นชัดเจนในธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมทรรศนะ น. ความเห็นชัดเจนในธรรม. (ส.). |
ธรรมธาดา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์วนปเวสน์. | ธรรมธาดา น. ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์. (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). |
ธรรมธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมารมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ. | ธรรมธาตุ น. ธรรมารมณ์. (ส.; ป. ธมฺมธาตุ). |
ธรรมนาถ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รักษากฎหมาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมนาถ น. ผู้รักษากฎหมาย. (ส.). |
ธรรมนิตย์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เที่ยงธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมนิตย์ น. ผู้เที่ยงธรรม. (ส.). |
ธรรมนิยม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ความประพฤติที่มีธรรมเป็นที่ตั้ง. | ธรรมนิยม น. ความประพฤติที่มีธรรมเป็นที่ตั้ง. |
ธรรมนิยาม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ความแน่นอนแห่งธรรมดา คือ พระไตรลักษณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมนิยาม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ธรรมนิยาม น. ความแน่นอนแห่งธรรมดา คือ พระไตรลักษณ์. (ส.; ป. ธมฺมนิยาม). |
ธรรมนิเวศ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง การเข้าประพฤติธรรม, การเข้าศาสนา. | ธรรมนิเวศ น. การเข้าประพฤติธรรม, การเข้าศาสนา. |
ธรรมนูญ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร เช่น ธรรมนูญศาลทหาร พระธรรมนูญศาลยุติธรรม. | ธรรมนูญ (กฎ) น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร เช่น ธรรมนูญศาลทหาร พระธรรมนูญศาลยุติธรรม. |
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง กฎหมายที่จัดระเบียบการปกครองประเทศในระหว่างที่ยังไม่มีรัฐธรรมนูญ. | ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร (กฎ) น. กฎหมายที่จัดระเบียบการปกครองประเทศในระหว่างที่ยังไม่มีรัฐธรรมนูญ. |
ธรรมเนียม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | [ทํา] เป็นคำนาม หมายถึง ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง. | ธรรมเนียม [ทํา] น. ประเพณี, แบบแผน, แบบอย่าง. |
ธรรมเนียมประเพณี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-นอ-เนน-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญ ถ้าฝ่าฝืนก็ไม่ถือว่าผิดหรือชั่ว. | ธรรมเนียมประเพณี น. ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญ ถ้าฝ่าฝืนก็ไม่ถือว่าผิดหรือชั่ว. |
ธรรมบท เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำนาม หมายถึง ข้อแห่งธรรม, ชื่อคาถาบาลีคัมภีร์หนึ่งในขุทกนิกาย. | ธรรมบท น. ข้อแห่งธรรม, ชื่อคาถาบาลีคัมภีร์หนึ่งในขุทกนิกาย. |
ธรรมบาล เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้รักษาธรรม, ผู้ป้องกันพระศาสนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมปาล เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | ธรรมบาล น. ผู้รักษาธรรม, ผู้ป้องกันพระศาสนา. (ส.; ป. ธมฺมปาล). |
ธรรมบิฐ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ถอ-ถาน | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมาสน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า + ปี เขียนว่า ปอ-ปลา-สะ-หระ-อี-ถอ-ถาน . | ธรรมบิฐ น. ธรรมาสน์. (ป. ธมฺม + ปี). |
ธรรมปฏิรูป, ธรรมประติรูป ธรรมปฏิรูป เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา ธรรมประติรูป เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมเทียม, สิ่งที่ไม่ใช่ธรรมแท้. | ธรรมปฏิรูป, ธรรมประติรูป น. ธรรมเทียม, สิ่งที่ไม่ใช่ธรรมแท้. |
ธรรมปฏิสัมภิทา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธรรมปฏิสัมภิทา น. ปฏิสัมภิทา ๑ ใน ๔ อย่าง คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา หมายถึง ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้. (ป.). |
ธรรมยุต เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระสงฆ์นิกายหนึ่ง, คู่กับมหานิกาย, ธรรมยุติกนิกาย ก็เรียก. | ธรรมยุต น. ชื่อพระสงฆ์นิกายหนึ่ง, คู่กับมหานิกาย, ธรรมยุติกนิกาย ก็เรียก. |
ธรรมยุทธ์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การรบกันในทางธรรม คือ รบกันในทางแข่งขันสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ถ้าใครสร้างได้แล้วก่อนก็ชนะ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมยุทธ์ น. การรบกันในทางธรรม คือ รบกันในทางแข่งขันสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ถ้าใครสร้างได้แล้วก่อนก็ชนะ. (ส.). |
ธรรมรัตน์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง แก้วคือธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมรตน เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-นอ-หนู. | ธรรมรัตน์ น. แก้วคือธรรม. (ส.; ป. ธมฺมรตน). |
ธรรมราชา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง พระราชาแห่งธรรม คือ พระพุทธเจ้า, พระราชาผู้ทรงธรรม, พญายม. | ธรรมราชา น. พระราชาแห่งธรรม คือ พระพุทธเจ้า, พระราชาผู้ทรงธรรม, พญายม. |
ธรรมวัตร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะเทศน์ทํานองธรรมดาอย่างหนึ่งที่แสดงอยู่ทั่วไป ไม่ใช่ทํานองแบบเทศน์มหาชาติ. | ธรรมวัตร น. ลักษณะเทศน์ทํานองธรรมดาอย่างหนึ่งที่แสดงอยู่ทั่วไป ไม่ใช่ทํานองแบบเทศน์มหาชาติ. |
ธรรมศาสตร์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับวิชากฎหมายโดยทั่วไป; คัมภีร์กฎหมายเก่าของอินเดีย, คัมภีร์อันเป็นต้นกําเนิดแห่งกฎหมาย, พระธรรมศาสตร์ ก็เรียก. | ธรรมศาสตร์ (โบ) น. ความรู้เกี่ยวกับวิชากฎหมายโดยทั่วไป; คัมภีร์กฎหมายเก่าของอินเดีย, คัมภีร์อันเป็นต้นกําเนิดแห่งกฎหมาย, พระธรรมศาสตร์ ก็เรียก. |
ธรรมสถิติ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ความตั้งอยู่โดยธรรมดา, ความตั้งอยู่แห่งกฎ, ความตั้งอยู่แห่งยุติธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมิติ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ธรรมสถิติ น. ความตั้งอยู่โดยธรรมดา, ความตั้งอยู่แห่งกฎ, ความตั้งอยู่แห่งยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมิติ). |
ธรรมสภา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ประชุมฟังธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมสภา เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา. | ธรรมสภา น. ที่ประชุมฟังธรรม. (ส.; ป. ธมฺมสภา). |
ธรรมสรีระ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ร่างหรือที่บรรจุธรรม, เจดีย์ศักดิ์สิทธิ์. | ธรรมสรีระ น. ร่างหรือที่บรรจุธรรม, เจดีย์ศักดิ์สิทธิ์. |
ธรรมสังคีติ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง การสังคายนาธรรม, การร้อยกรองธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า + เขียนว่า สํคีติ เขียนว่า สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี ธมฺมสงฺคีติ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ธรรมสังคีติ น. การสังคายนาธรรม, การร้อยกรองธรรม. (ส. ธรฺม + สํคีติ; ป. ธมฺมสงฺคีติ). |
ธรรมสังเวช เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง ความสังเวชโดยธรรม เมื่อเห็นความแตกดับของสังขาร (เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมสํเวค เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-คอ-ควาย. | ธรรมสังเวช น. ความสังเวชโดยธรรม เมื่อเห็นความแตกดับของสังขาร (เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์). (ป. ธมฺมสํเวค). |
ธรรมสากัจฉา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง การสนทนาธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมสากจฺฉา เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา. | ธรรมสากัจฉา น. การสนทนาธรรม. (ป. ธมฺมสากจฺฉา). |
ธรรมสามิสร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-รอ-เรือ | [สามิด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า. | ธรรมสามิสร [สามิด] น. ผู้เป็นใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า. |
ธรรมสามี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นเจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมสามิ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ. | ธรรมสามี น. ผู้เป็นเจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า. (ป. ธมฺมสามิ). |
ธรรมสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง สาระแห่งธรรม, แก่นธรรม. | ธรรมสาร น. สาระแห่งธรรม, แก่นธรรม. |
ธรรมะธัมโม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกคนที่เคร่งครัดในศาสนาว่า คนธรรมะธัมโม. | ธรรมะธัมโม ว. เรียกคนที่เคร่งครัดในศาสนาว่า คนธรรมะธัมโม. |
ธรรมันเตวาสิก เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [ทํามัน] เป็นคำนาม หมายถึง อันเตวาสิก (ศิษย์) ผู้เรียนธรรมวินัย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมนฺเตวาสิก เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-หนู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่. | ธรรมันเตวาสิก [ทํามัน] น. อันเตวาสิก (ศิษย์) ผู้เรียนธรรมวินัย. (ส.; ป. ธมฺมนฺเตวาสิก). |
ธรรมาทิตย์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ทํามา] เป็นคำนาม หมายถึง อาทิตย์แห่งธรรม คือพระพุทธเจ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมาทิตย์ [ทํามา] น. อาทิตย์แห่งธรรม คือพระพุทธเจ้า. (ส.). |
ธรรมาธรรม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [ทํามา] เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมาธมฺม เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | ธรรมาธรรม [ทํามา] น. ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมาธมฺม). |
ธรรมาธิปไตย เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [ทํามาทิปะไต, ทํามาทิบปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง การถือธรรมเป็นใหญ่, การถือความถูกต้องเป็นหลัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมาธิปเตยฺย เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต ธรฺมาธิปตฺย เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ธรรมาธิปไตย [ทํามาทิปะไต, ทํามาทิบปะไต] น. การถือธรรมเป็นใหญ่, การถือความถูกต้องเป็นหลัก. (ป. ธมฺมาธิปเตยฺย; ส. ธรฺมาธิปตฺย). |
ธรรมาธิษฐาน เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [ทํามาทิดถาน, ทำมาทิดสะถาน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีธรรมเป็นที่ตั้ง ที่ยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วน ๆ ขึ้นมาอ้างหรืออธิบาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมาธิฏฺาน เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู. | ธรรมาธิษฐาน [ทํามาทิดถาน, ทำมาทิดสะถาน] ว. มีธรรมเป็นที่ตั้ง ที่ยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วน ๆ ขึ้นมาอ้างหรืออธิบาย. (ส.; ป. ธมฺมาธิฏฺาน). |
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [ทํามา] เป็นคำนาม หมายถึง การประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม, การประพฤติความดีสมควรแก่ฐานะ. | ธรรมานุธรรมปฏิบัติ [ทํามา] น. การประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม, การประพฤติความดีสมควรแก่ฐานะ. |
ธรรมานุสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [ทํามา] เป็นคำนาม หมายถึง ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม, ความระลึกตามธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมานุสาร เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ. | ธรรมานุสาร [ทํามา] น. ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม, ความระลึกตามธรรม. (ส.; ป. ธมฺมานุสาร). |
ธรรมาภิมุข เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ | [ทํามา] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมาภิมุข เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่. | ธรรมาภิมุข [ทํามา] ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมาภิมุข). |
ธรรมาภิสมัย เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | [ทํามา] เป็นคำนาม หมายถึง การตรัสรู้ธรรม, การสําเร็จมรรคผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมาภิสมย เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ยอ-ยัก. | ธรรมาภิสมัย [ทํามา] น. การตรัสรู้ธรรม, การสําเร็จมรรคผล. (ส.; ป. ธมฺมาภิสมย). |
ธรรมายตนะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [ทํามายะตะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง แดนคือธรรมารมณ์, แดนแห่งมนัสคือใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมายตน เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-นอ-หนู. | ธรรมายตนะ [ทํามายะตะนะ] น. แดนคือธรรมารมณ์, แดนแห่งมนัสคือใจ ได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. (ป. ธมฺมายตน). |
ธรรมารมณ์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [ทํามา] เป็นคำนาม หมายถึง อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธมฺมารมฺมณ เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-นอ-เนน. | ธรรมารมณ์ [ทํามา] น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. (ป. ธมฺมารมฺมณ). |
ธรรมาสน์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [ทํามาด] เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธรรมาสน์ [ทํามาด] น. ที่สําหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม. (ส.). |
ธรรมิก, ธรรมิก ธรรมิก เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ธรรมิก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [ทํามิก, ทํามิกกะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประกอบในธรรม, ประพฤติเป็นธรรม, ทรงธรรม, เช่น ธรรมิกราช สหธรรมิก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ธมฺมิก เขียนว่า ทอ-ทง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่. | ธรรมิก, ธรรมิก [ทํามิก, ทํามิกกะ] ว. ประกอบในธรรม, ประพฤติเป็นธรรม, ทรงธรรม, เช่น ธรรมิกราช สหธรรมิก. (ส.; ป. ธมฺมิก). |
ธรรม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม. | ธรรม ๒ คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม. |
ธรรม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์. | ธรรม ๓ น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์. |
ธรรมันเตวาสิก เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมันเตวาสิก ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาทิตย์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาทิตย์ ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาธรรม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาธรรม ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาธิปไตย เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาธิปไตย ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาธิษฐาน เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาธิษฐาน ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมานุธรรมปฏิบัติ ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมานุสาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมานุสาร ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาภิมุข เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่ | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาภิมุข ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาภิสมัย เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาภิสมัย ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมายตนะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมายตนะ ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมารมณ์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมารมณ์ ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมาสน์ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมาสน์ ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรรมิก, ธรรมิก ธรรมิก เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ธรรมิก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ ธรรม ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า ธรรมะ เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ . | ธรรมิก, ธรรมิก ดู ธรรม ๑, ธรรม, ธรรมะ. |
ธรา เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [ทะรา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธรา [ทะรา] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ป., ส.). |
ธราดล เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง พื้นแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธราดล น. พื้นแผ่นดิน. (ป.). |
ธราธร, ธราธาร ธราธร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-รอ-เรือ ธราธาร เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทรงโลกไว้ คือ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธราธร, ธราธาร น. ผู้ทรงโลกไว้ คือ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์. (ส.). |
ธราธิบดี, ธราธิป ธราธิบดี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี ธราธิป เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธราธิบดี, ธราธิป น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ธริษตรี, ธเรษตรี ธริษตรี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ธเรษตรี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [ทะริดตฺรี, ทะเรดตฺรี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โลก, แผ่นดิน, เช่น ผู้ทรงจักรคทาธริษตรี. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธริตฺรี เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี. | ธริษตรี, ธเรษตรี [ทะริดตฺรี, ทะเรดตฺรี] (แบบ; กลอน) น. โลก, แผ่นดิน, เช่น ผู้ทรงจักรคทาธริษตรี. (สมุทรโฆษ). (ส. ธริตฺรี). |
ธเรษตรีศวร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [ทะเรดตฺรีสวน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในโลก เช่น สายัณห์หวั่นสวาทไท้ ธเรศตรี ศวรแฮ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์. | ธเรษตรีศวร [ทะเรดตฺรีสวน] (แบบ; กลอน) น. ผู้เป็นใหญ่ในโลก เช่น สายัณห์หวั่นสวาทไท้ ธเรศตรี ศวรแฮ. (ตะเลงพ่าย). |
ธเรศ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา | [ทะเรด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธเรศ [ทะเรด] น. ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.). |
ธวัช เขียนว่า ทอ-ทง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง | [ทะวัด] เป็นคำนาม หมายถึง ธง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธฺวช เขียนว่า ทอ-ทง-พิน-ทุ-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง. | ธวัช [ทะวัด] น. ธง. (ส. ธฺวช). |
ธังกะ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กา, เหยี่ยว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธังกะ (แบบ) น. กา, เหยี่ยว. (ป.). |
ธัช เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง | [ทัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ธง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธช เขียนว่า ทอ-ทง-ชอ-ช้าง. | ธัช [ทัด] (แบบ) น. ธง. (ป. ธช). |
ธัญ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ความหมายที่ ๑ | [ทัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุ่งเรือง, มั่งมี, มีโชค, ดี, เลิศ, เช่น ธัญลักษณ์ ว่า มีลักษณะดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธญฺ เขียนว่า ทอ-ทง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต ธนฺย เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ธัญ ๑ [ทัน] (แบบ) ว. รุ่งเรือง, มั่งมี, มีโชค, ดี, เลิศ, เช่น ธัญลักษณ์ ว่า มีลักษณะดี. (ป. ธญฺ; ส. ธนฺย). |
ธัญ ๒, ธัญญ ธัญ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ธัญญ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง | [ทัน, ทันยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ข้าวเปลือก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธญฺ เขียนว่า ทอ-ทง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง และมาจากภาษาสันสกฤต ธานฺย เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ธัญ ๒, ธัญญ [ทัน, ทันยะ] น. ข้าวเปลือก. (ป. ธญฺ; ส. ธานฺย). |
ธัญโกศ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา | เป็นคำนาม หมายถึง ฉางข้าว, ยุ้งข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธญฺ เขียนว่า ทอ-ทง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง + ภาษาสันสกฤต โกศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา . | ธัญโกศ น. ฉางข้าว, ยุ้งข้าว. (ป. ธญฺ + ส. โกศ). |
ธัญเขต เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง นา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธฺเขตฺต เขียนว่า ทอ-ทง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต ธานฺยเกฺษตฺร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | ธัญเขต น. นา. (ป. ธฺเขตฺต; ส. ธานฺยเกฺษตฺร). |
ธัญชาติ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง คํารวมเรียกข้าวต่าง ๆ เช่น ข้าวเปลือก ข้าวสาลี, ในคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาว่ามี ๗ อย่าง คือ ๑. ข้าวไม่มีแกลบ ๒. ข้าวเปลือก ๓. หญ้ากับแก้ ๔. ข้าวละมาน ๕. ลูกเดือย ๖. ข้าวแดง ๗. ข้าวฟ่าง. | ธัญชาติ น. คํารวมเรียกข้าวต่าง ๆ เช่น ข้าวเปลือก ข้าวสาลี, ในคัมภีร์อภิธานัปปทีปิกาว่ามี ๗ อย่าง คือ ๑. ข้าวไม่มีแกลบ ๒. ข้าวเปลือก ๓. หญ้ากับแก้ ๔. ข้าวละมาน ๕. ลูกเดือย ๖. ข้าวแดง ๗. ข้าวฟ่าง. |
ธัญญาหาร เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง อาหารคือข้าว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธัญญาหาร น. อาหารคือข้าว. (ป.). |
ธัญดัจ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกข้าว, แกลบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธญฺตจ เขียนว่า ทอ-ทง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-ตอ-เต่า-จอ-จาน และมาจากภาษาสันสกฤต ธานฺยตฺวจ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-วอ-แหวน-จอ-จาน. | ธัญดัจ น. เปลือกข้าว, แกลบ. (ป. ธญฺตจ; ส. ธานฺยตฺวจ). |
ธัญเบญจก เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-หยิง-จอ-จาน-กอ-ไก่ | [ทันยะเบนจก] เป็นคำนาม หมายถึง ธัญชาติทั้ง ๕ ได้แก่ ๑. ศาลิข้าวสาลี ๒. วฺรีหิข้าวเปลือก ๓. ศูกลูกเดือย ๔. ศิมฺพีถั่ว ๕. กฺษุทฺรข้าวกษุทร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ปญฺจก มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า ปอ-ปลา-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-จอ-จาน-กอ-ไก่. | ธัญเบญจก [ทันยะเบนจก] น. ธัญชาติทั้ง ๕ ได้แก่ ๑. ศาลิข้าวสาลี ๒. วฺรีหิข้าวเปลือก ๓. ศูกลูกเดือย ๔. ศิมฺพีถั่ว ๕. กฺษุทฺรข้าวกษุทร. (ป. ปญฺจก). |
ธัญพืช เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง พืชข้าวกล้า; พืชล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ให้เมล็ดเป็นอาหารหลัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธญฺพีช เขียนว่า ทอ-ทง-ยอ-หยิง-พิน-ทุ-ยอ-หยิง-พอ-พาน-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง และมาจากภาษาสันสกฤต ธานฺยวีช เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ชอ-ช้าง. | ธัญพืช น. พืชข้าวกล้า; พืชล้มลุกหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Gramineae เช่น ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ให้เมล็ดเป็นอาหารหลัก. (ป. ธญฺพีช; ส. ธานฺยวีช). |
ธัญมาส เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง มาตราตวง เท่ากับ ๗ อูกา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธัญมาส (โบ) น. มาตราตวง เท่ากับ ๗ อูกา. (ป.). |
ธัญญาหาร เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู ธัญ ๒, ธัญ ธัญ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง ธัญ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง . | ธัญญาหาร ดู ธัญ ๒, ธัญ. |
ธันยา เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [ทันยา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นางพี่เลี้ยง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธันยา [ทันยา] (แบบ) น. นางพี่เลี้ยง. (ส.). |
ธันยาวาท เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | [ทันยาวาด] เป็นคำนาม หมายถึง การทําพิธีบูชาขอบคุณเทพผู้ให้ความสมบูรณ์พูนผล. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธันยาวาท [ทันยาวาด] น. การทําพิธีบูชาขอบคุณเทพผู้ให้ความสมบูรณ์พูนผล. (ส.). |
ธันวาคม เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๑๒ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เลิกใช้แล้ว หมายถึง ชื่อเดือนที่ ๙ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธนุ เขียนว่า ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ + อาคม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีธนู . | ธันวาคม น. ชื่อเดือนที่ ๑๒ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน; (เลิก) ชื่อเดือนที่ ๙ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. (ส. ธนุ + อาคม = เดือนที่อาทิตย์มาสู่ราศีธนู). |
ธัมมะ เขียนว่า ทอ-ทง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ธรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธรฺม เขียนว่า ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-มอ-ม้า. | ธัมมะ (แบบ) น. ธรรม. (ป.; ส. ธรฺม). |
ธาดา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ทรงไว้, พระพรหมผู้สร้างตามหลักศาสนาพราหมณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธาดา น. ผู้สร้าง, ผู้ทรงไว้, พระพรหมผู้สร้างตามหลักศาสนาพราหมณ์. (ป.). |
ธาตรี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [ทาตฺรี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, โลก, ในบทกลอนใช้ว่า ธาษตรี ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธาตรี [ทาตฺรี] (แบบ) น. แผ่นดิน, โลก, ในบทกลอนใช้ว่า ธาษตรี ก็มี. (ส.). |
ธาตวากร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [ทาตะวากอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง บ่อแร่. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธาตวากร [ทาตะวากอน] (แบบ) น. บ่อแร่. (ส.). |
ธาตุ ๑, ธาตุ ธาตุ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ธาตุ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | [ทาด, ทาตุ, ทาดตุ] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสําคัญที่คุมกันเป็นร่างของสิ่งทั้งหลาย โดยทั่ว ๆ ไปเชื่อว่ามี ๔ ธาตุ ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุไฟ ธาตุลม แต่ก็อาจมีธาตุอื่น ๆ อีก เช่น อากาศธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุไม้ ธาตุทอง ธาตุเหล็ก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธาตุ ๑, ธาตุ [ทาด, ทาตุ, ทาดตุ] น. สิ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสําคัญที่คุมกันเป็นร่างของสิ่งทั้งหลาย โดยทั่ว ๆ ไปเชื่อว่ามี ๔ ธาตุ ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุนํ้า ธาตุไฟ ธาตุลม แต่ก็อาจมีธาตุอื่น ๆ อีก เช่น อากาศธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุไม้ ธาตุทอง ธาตุเหล็ก. (ป.). |
ธาตุโขภ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-พอ-สำ-เพา | [ทาตุโขบ] เป็นคำนาม หมายถึง ความกําเริบของธาตุ ได้แก่ธาตุทั้ง ๔ ในร่างกายไม่ปรกติ มีอาหารเสียเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธาตุโขภ [ทาตุโขบ] น. ความกําเริบของธาตุ ได้แก่ธาตุทั้ง ๔ ในร่างกายไม่ปรกติ มีอาหารเสียเป็นต้น. (ป.). |
ธาตุเบา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา | [ทาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่กินยาระบายอ่อน ๆ ก็ถ่าย. | ธาตุเบา [ทาด] ว. ที่กินยาระบายอ่อน ๆ ก็ถ่าย. |
ธาตุหนัก เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | [ทาด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ต้องกินยาถ่ายมาก ๆ จึงจะถ่าย. | ธาตุหนัก [ทาด] ว. ที่ต้องกินยาถ่ายมาก ๆ จึงจะถ่าย. |
ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ๒ | [ทาด, ทาตุ] เป็นคำนาม หมายถึง กระดูกของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ โดยทั่ว ๆ ไปเรียกรวม ๆ ว่า พระธาตุ, ถ้าเป็นกระดูกของพระพุทธเจ้า เรียก พระบรมธาตุ หรือ พระบรมสารีริกธาตุ, ถ้าเป็นกระดูกของพระอรหันต์ เรียกว่า พระธาตุ, ถ้าเป็นกระดูกส่วนใดส่วนหนึ่งของพระพุทธเจ้า ก็เรียกตามความหมายของคํานั้น ๆ เช่น พระอุรังคธาตุ พระทันตธาตุ, ถ้าเป็นผมของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระเกศธาตุ; ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาซึ่งว่าด้วยธาตุ เช่น ธาตุกถา ธาตุปาฐ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง เจดีย์ที่บรรจุกระดูกคนที่เผาแล้ว. | ธาตุ ๒ [ทาด, ทาตุ] น. กระดูกของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันต์ โดยทั่ว ๆ ไปเรียกรวม ๆ ว่า พระธาตุ, ถ้าเป็นกระดูกของพระพุทธเจ้า เรียก พระบรมธาตุ หรือ พระบรมสารีริกธาตุ, ถ้าเป็นกระดูกของพระอรหันต์ เรียกว่า พระธาตุ, ถ้าเป็นกระดูกส่วนใดส่วนหนึ่งของพระพุทธเจ้า ก็เรียกตามความหมายของคํานั้น ๆ เช่น พระอุรังคธาตุ พระทันตธาตุ, ถ้าเป็นผมของพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระเกศธาตุ; ชื่อคัมภีร์ในพระพุทธศาสนาซึ่งว่าด้วยธาตุ เช่น ธาตุกถา ธาตุปาฐ. (ป., ส.); (ถิ่นอีสาน) เจดีย์ที่บรรจุกระดูกคนที่เผาแล้ว. |
ธาตุครรภ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา | [ทาตุคับ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญของพระสถูปหรือพระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ภายใน, ครรภธาตุ หรือ เรือนธาตุ ก็ว่า. | ธาตุครรภ [ทาตุคับ] น. ส่วนสําคัญของพระสถูปหรือพระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ภายใน, ครรภธาตุ หรือ เรือนธาตุ ก็ว่า. |
ธาตุเจดีย์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ทาด] เป็นคำนาม หมายถึง เจดีย์บรรจุพระธาตุ. | ธาตุเจดีย์ [ทาด] น. เจดีย์บรรจุพระธาตุ. |
ธาตุสถูป เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | [ทาดสะถูบ] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุเจดีย์. | ธาตุสถูป [ทาดสะถูบ] น. ธาตุเจดีย์. |
ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ๓ | [ทาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง สารเนื้อเดียวล้วนซึ่งประกอบด้วยบรรดาอะตอมที่มีโปรตอนจํานวนเดียวกันในนิวเคลียส. | ธาตุ ๓ [ทาด] (วิทยา) น. สารเนื้อเดียวล้วนซึ่งประกอบด้วยบรรดาอะตอมที่มีโปรตอนจํานวนเดียวกันในนิวเคลียส. |
ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ๔ | [ทาด] เป็นคำนาม หมายถึง รากศัพท์ของคําบาลีสันสกฤตเป็นต้น เช่น ธาตุ มาจาก ธา ธาตุ สาวก มาจาก สุ ธาตุ กริยา มาจาก กฺฤ ธาตุ. | ธาตุ ๔ [ทาด] น. รากศัพท์ของคําบาลีสันสกฤตเป็นต้น เช่น ธาตุ มาจาก ธา ธาตุ สาวก มาจาก สุ ธาตุ กริยา มาจาก กฺฤ ธาตุ. |
ธาตุมมิสสา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา | [ทาตุมมิดสา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๓ คณะ คือ ม ภ ต คณะ กับลงท้ายเป็นครุอีก ๒ พยางค์ (ตามแบบว่า ธาตุมฺมิสฺสา ยติ สา มฺภา ตคา โค) ตัวอย่างว่า จักสําแดงมิตร สุจริตจิตนามขนาน บัญญัติคือสมาน สุขทุขเสมอประดุจกัน. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ. | ธาตุมมิสสา [ทาตุมมิดสา] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กําหนดด้วย ๓ คณะ คือ ม ภ ต คณะ กับลงท้ายเป็นครุอีก ๒ พยางค์ (ตามแบบว่า ธาตุมฺมิสฺสา ยติ สา มฺภา ตคา โค) ตัวอย่างว่า จักสําแดงมิตร สุจริตจิตนามขนาน บัญญัติคือสมาน สุขทุขเสมอประดุจกัน. (ชุมนุมตํารากลอน). |
ธานิน เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เมือง. | ธานิน (กลอน) น. เมือง. |
ธานินทร์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เมือง, เมืองใหญ่. | ธานินทร์ (กลอน) น. เมือง, เมืองใหญ่. |
ธานี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธานี น. เมือง. (ป., ส.). |
ธาร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | [ทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การทรงไว้, การรับไว้, การหนุน, มักใช้เป็นบทหลังสมาส เช่น จุฑาธาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธาร ๑ [ทาน] น. การทรงไว้, การรับไว้, การหนุน, มักใช้เป็นบทหลังสมาส เช่น จุฑาธาร. (ป., ส.). |
ธารพระกร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [กอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้เท้า. | ธารพระกร [กอน] (ราชา) น. ไม้เท้า. |
ธารยักษ์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคลมอย่างหนึ่ง. | ธารยักษ์ น. ชื่อโรคลมอย่างหนึ่ง. |
ธาร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | [ทาน] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า, ลําธาร, ห้วย, หยาดนํ้า, ท่อนํ้า. (ตัดมาจาก ธารา). | ธาร ๒ [ทาน] น. นํ้า, ลําธาร, ห้วย, หยาดนํ้า, ท่อนํ้า. (ตัดมาจาก ธารา). |
ธารกำนัล, ธารคำนัล ธารกำนัล เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง ธารคำนัล เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง | [ทาระกํานัน, คํานัน] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ชุมนุมชน, คนจํานวนมาก, เช่น ต่อหน้าธารกํานัล, โบราณเขียนเป็น ทารกํานัน ก็มี. | ธารกำนัล, ธารคำนัล [ทาระกํานัน, คํานัน] น. ที่ชุมนุมชน, คนจํานวนมาก, เช่น ต่อหน้าธารกํานัล, โบราณเขียนเป็น ทารกํานัน ก็มี. |
ธารณะ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | [ทาระนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การทรงไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธารณะ ๑ [ทาระนะ] (แบบ) น. การทรงไว้. (ป., ส.). |
ธารณะ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [ทาระนะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่วไป, ไม่เลือกหน้า. เป็นคำนาม หมายถึง การตักบาตรที่ไม่เฉพาะเจาะจง เรียกว่า ธารณะ. (ตัดมาจากคํา สาธารณะ). | ธารณะ ๒ [ทาระนะ] ว. ทั่วไป, ไม่เลือกหน้า. น. การตักบาตรที่ไม่เฉพาะเจาะจง เรียกว่า ธารณะ. (ตัดมาจากคํา สาธารณะ). |
ธารณา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา | [ทาระนา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การทรงไว้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธารณา [ทาระนา] (แบบ) น. การทรงไว้. (ส.). |
ธารณามัย เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซึ่งสําเร็จด้วยความทรงจํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธารณามัย (แบบ) ว. ซึ่งสําเร็จด้วยความทรงจํา. (ส.). |
ธารา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง สายนํ้า, ลําธาร, ห้วย, หยาดนํ้า, ท่อนํ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธารา ๑ น. สายนํ้า, ลําธาร, ห้วย, หยาดนํ้า, ท่อนํ้า. (ป., ส.). |
ธาราเคหะ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-หอ-หีบ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ห้องอาบนํ้าที่มีฝักบัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธาราคฺฤห เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ. | ธาราเคหะ น. ห้องอาบนํ้าที่มีฝักบัว. (ป.; ส. ธาราคฺฤห). |
ธาราธิคุณ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน | เป็นคำนาม หมายถึง เกณฑ์นํ้าฝนซึ่งมากที่สุด (ของแต่ละปี). | ธาราธิคุณ น. เกณฑ์นํ้าฝนซึ่งมากที่สุด (ของแต่ละปี). |
ธารายนต์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าพุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธารายนต์ น. นํ้าพุ. (ป.). |
ธารา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชาย, ขอบ, คม (มีด). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธารา ๒ (แบบ) น. ชาย, ขอบ, คม (มีด). (ส.). |
ธาษตรี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | [ทาดตฺรี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน, โลก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธาตฺรี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี. | ธาษตรี [ทาดตฺรี] (กลอน) น. แผ่นดิน, โลก. (ส. ธาตฺรี). |
ธำมรงค์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [ทํามะรง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง แหวน. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร ทํรง่ เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-นิก-คะ-หิด-รอ-เรือ-งอ-งู-ไม้-เอก. | ธำมรงค์ [ทํามะรง] (ราชา) น. แหวน. (เทียบ ข. ทํรง่). |
ธำรง เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อำ-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทรงไว้, ชูไว้. | ธำรง ก. ทรงไว้, ชูไว้. |
ธิดา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกหญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธีตา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ธิดา น. ลูกหญิง. (ป., ส. ธีตา). |
ธิติ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความทรงไว้, ความมั่นคง, ปัญญา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธิติ (แบบ) น. ความทรงไว้, ความมั่นคง, ปัญญา. (ป.). |
ธีร, ธีระ ธีร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ ธีระ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [ทีระ] เป็นคำนาม หมายถึง นักปราชญ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาด, ไหวพริบ, มีปัญญา, ชํานาญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ; มั่นคง, แข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธีร, ธีระ [ทีระ] น. นักปราชญ์. ว. ฉลาด, ไหวพริบ, มีปัญญา, ชํานาญ. (ป.); มั่นคง, แข็งแรง. (ส.). |
ธีรภาพ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ความมั่นคง, ความแน่นหนา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ธีรภาพ น. ความมั่นคง, ความแน่นหนา. (ส.). |
ธีรราช เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง กษัตริย์ผู้เป็นปราชญ์. | ธีรราช น. กษัตริย์ผู้เป็นปราชญ์. |
ธุช เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ชอ-ช้าง | [ทุด] เป็นคำนาม หมายถึง ธง. (แผลงจาก ธช). | ธุช [ทุด] น. ธง. (แผลงจาก ธช). |
ธุดงคญ, ธุดงค์ ธุดงคญ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-คอ-ควาย-ยอ-หยิง ธุดงค์ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง องค์คุณเครื่องกําจัดกิเลส, ชื่อวัตรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดของภิกษุ มี ๑๓ อย่าง เช่น การอยู่ในป่า การอยู่โคนไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธูตงฺค เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ตอ-เต่า-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย. | ธุดงคญ, ธุดงค์ น. องค์คุณเครื่องกําจัดกิเลส, ชื่อวัตรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดของภิกษุ มี ๑๓ อย่าง เช่น การอยู่ในป่า การอยู่โคนไม้. (ป. ธูตงฺค). |
ธุดงควัตร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [ทุดงคะวัด] เป็นคำนาม หมายถึง กิจอันภิกษุผู้ถือธุดงค์ควรทํา. | ธุดงควัตร [ทุดงคะวัด] น. กิจอันภิกษุผู้ถือธุดงค์ควรทํา. |
ธุดงคสมาทาน เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ดอ-เด็ก-งอ-งู-คอ-ควาย-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [ทุดงคะสะมาทาน] เป็นคำนาม หมายถึง การถือธุดงค์. | ธุดงคสมาทาน [ทุดงคะสะมาทาน] น. การถือธุดงค์. |
ธุต, ธุตตะ ธุต เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า ธุตตะ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | [ทุด, ทุด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นักเลง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธุตฺต เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | ธุต, ธุตตะ [ทุด, ทุด] (แบบ) น. นักเลง. (ป. ธุตฺต). |
ธุม, ธุม ธุม เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ธุม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | [ทุม, ทุมะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ควัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธูม เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า. | ธุม, ธุม [ทุม, ทุมะ] (แบบ) น. ควัน. (ป., ส. ธูม). |
ธุมเกตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | [ทุมะเกด] เป็นคำนาม หมายถึง ไฟ, ดาวหาง, ดาวตก, สิ่งที่เป็นหมอกเป็นควันเกิดขึ้นในอากาศผิดธรรมดามีรูปคล้ายธงเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธูมเกตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ. | ธุมเกตุ [ทุมะเกด] น. ไฟ, ดาวหาง, ดาวตก, สิ่งที่เป็นหมอกเป็นควันเกิดขึ้นในอากาศผิดธรรมดามีรูปคล้ายธงเป็นต้น. (ป., ส. ธูมเกตุ). |
ธุมชาล เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | [ทุมะชาน] เป็นคำนาม หมายถึง ควันพลุ่งขึ้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธูมชาล เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | ธุมชาล [ทุมะชาน] น. ควันพลุ่งขึ้น. (ป., ส. ธูมชาล). |
ธุมเพลิง เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | [ทุมเพฺลิง] เป็นคำนาม หมายถึง แสงสว่างที่เกิดขึ้นในอากาศผิดธรรมดา. | ธุมเพลิง [ทุมเพฺลิง] น. แสงสว่างที่เกิดขึ้นในอากาศผิดธรรมดา. |
ธุมา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ควัน. | ธุมา (กลอน) น. ควัน. |
ธุมา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | ดู ธุม, ธุม ธุม เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ธุม มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า . | ธุมา ดู ธุม, ธุม. |
ธุร, ธุระ ธุร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ ธุระ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [ทุระ] เป็นคำนาม หมายถึง หน้าที่การงานที่พึงกระทํา, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง เรื่องส่วนตัว เช่น ไม่ใช่ธุระของคุณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธุร, ธุระ [ทุระ] น. หน้าที่การงานที่พึงกระทํา, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ; (ปาก) เรื่องส่วนตัว เช่น ไม่ใช่ธุระของคุณ. (ป., ส.). |
ธุรการ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง การจัดกิจการงานโดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานวิชาการ. | ธุรการ น. การจัดกิจการงานโดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานวิชาการ. |
ธุรกิจ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง การงานประจําเกี่ยวกับอาชีพค้าขาย หรือกิจการอย่างอื่นที่สําคัญและที่ไม่ใช่ราชการ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง การประกอบกิจการในทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หัตถกรรม พาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอย่างอื่น เป็นการค้า. | ธุรกิจ น. การงานประจําเกี่ยวกับอาชีพค้าขาย หรือกิจการอย่างอื่นที่สําคัญและที่ไม่ใช่ราชการ; (กฎ) การประกอบกิจการในทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม หัตถกรรม พาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอย่างอื่น เป็นการค้า. |
ธุรำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง สายเครื่องหมายวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ และแพศย์ สวมจากซ้ายไปขวา เรียกว่า สายธุรํา, ธุหรํ่ายัชโญปวีต หรือ สายมงคล ก็เรียก. | ธุรำ น. สายเครื่องหมายวรรณะพราหมณ์ กษัตริย์ และแพศย์ สวมจากซ้ายไปขวา เรียกว่า สายธุรํา, ธุหรํ่ายัชโญปวีต หรือ สายมงคล ก็เรียก. |
ธุลี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ละออง, ฝุ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธูลิ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ. | ธุลี น. ละออง, ฝุ่น. (ป., ส. ธูลิ). |
ธุว มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน | [ทุวะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่น, เที่ยง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ธุว [ทุวะ] (แบบ) ว. มั่น, เที่ยง. (ป.). |
ธุวดารา เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ดาวเหนือ. | ธุวดารา น. ดาวเหนือ. |
ธุวภาค เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย | เป็นคำนาม หมายถึง เส้นแวงอันไม่เปลี่ยนที่แห่งดาวซึ่งประจําที่อยู่. | ธุวภาค น. เส้นแวงอันไม่เปลี่ยนที่แห่งดาวซึ่งประจําที่อยู่. |
ธุวมณฑล เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง แถบขั้วโลก. | ธุวมณฑล น. แถบขั้วโลก. |
ธุวยัษฎี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-รือ-สี-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง เพลา (หรือเส้น) แห่งขั้วโลกทั้ง ๒. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธฺรุวยษฺฏี เขียนว่า ทอ-ทง-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อี. | ธุวยัษฎี น. เพลา (หรือเส้น) แห่งขั้วโลกทั้ง ๒. (ส. ธฺรุวยษฺฏี). |
ธูป, ธูป ธูป เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา ธูป มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | [ทูบ, ทูปะ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหอมชนิดหนึ่งมีแกนทําด้วยก้านไม้ไผ่เล็ก ๆ เป็นต้นย้อมสีแดง พอกด้วยผงไม้หอม, มักใช้จุดคู่กับเทียน, ลักษณนามว่า ดอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | ธูป, ธูป [ทูบ, ทูปะ] น. เครื่องหอมชนิดหนึ่งมีแกนทําด้วยก้านไม้ไผ่เล็ก ๆ เป็นต้นย้อมสีแดง พอกด้วยผงไม้หอม, มักใช้จุดคู่กับเทียน, ลักษณนามว่า ดอก. (ป., ส.). |
ธูปบาตร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [ทูปะบาด] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสําหรับเผาเครื่องหอมบูชา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ธูปปาตฺร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ. | ธูปบาตร [ทูปะบาด] น. ภาชนะสําหรับเผาเครื่องหอมบูชา. (ส. ธูปปาตฺร). |
ธูปแพเทียนแพ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง ธูปไม้ระกํากับเทียน ๔ คู่ วางเรียงกันเป็นแพ แล้วคาดด้วยริบบิ้นสี ใช้เป็นเครื่องแสดงความเคารพอย่างสูง. | ธูปแพเทียนแพ น. ธูปไม้ระกํากับเทียน ๔ คู่ วางเรียงกันเป็นแพ แล้วคาดด้วยริบบิ้นสี ใช้เป็นเครื่องแสดงความเคารพอย่างสูง. |
ธูปไม้ระกำ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ธูปที่ใช้ไม้ระกําเป็นแกน. | ธูปไม้ระกำ น. ธูปที่ใช้ไม้ระกําเป็นแกน. |
ธูปฤๅษี เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-รอ-รึ-สะ-หระ-อา-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี | ดู กกช้าง เขียนว่า กอ-ไก่-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู. | ธูปฤๅษี ดู กกช้าง. |
เธนุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แม่โคนม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | เธนุ (แบบ) น. แม่โคนม. (ป., ส.). |
เธอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-ออ-อ่าง | เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย มักใช้ในระหว่างเพื่อนผู้หญิงด้วยกัน หรือใช้กับผู้มีศักดิ์ตํ่ากว่า เช่นครูพูดกับศิษย์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง ใช้กับผู้มีศักดิ์ตํ่ากว่าด้วยความยกย่องหรือเอ็นดูเป็นต้น, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. | เธอ ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย มักใช้ในระหว่างเพื่อนผู้หญิงด้วยกัน หรือใช้กับผู้มีศักดิ์ตํ่ากว่า เช่นครูพูดกับศิษย์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒, คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง ใช้กับผู้มีศักดิ์ตํ่ากว่าด้วยความยกย่องหรือเอ็นดูเป็นต้น, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓. |
เธียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง นักปราชญ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาด, มั่นคง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ธีร เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ. | เธียร น. นักปราชญ์. ว. ฉลาด, มั่นคง. (ป. ธีร). |
โธ่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทง-ไม้-เอก | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือรําคาญใจเป็นต้น. (ตัดมาจาก พุทโธ่). | โธ่ อ. คําที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือรําคาญใจเป็นต้น. (ตัดมาจาก พุทโธ่). |
โธวนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ทอ-ทง-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [โทวะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การชําระล้าง, การซักฟอก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต ธาวน เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-นอ-หนู. | โธวนะ [โทวะนะ] (แบบ) น. การชําระล้าง, การซักฟอก. (ป.; ส. ธาวน). |