แตน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงประเภทเดียวกับต่อ แต่ขนาดเล็กกว่า โดยปรกติลําตัวยาวไม่เกิน ๑.๕ เซนติเมตร มีหลายชนิด อยู่ในวงศ์เดียวกับต่อ หลายชนิดอยู่เป็นฝูง ทํารังขนาดเล็ก เช่น แตนฝักบัว (Icaria ferruginea) ซึ่งทํารังรูปคล้ายฝักบัว, แตนลิ้นหมา (I. artifex) ซึ่งทํารังห้อยย้อยลงมาคล้ายลิ้นหมา. | แตน น. ชื่อแมลงประเภทเดียวกับต่อ แต่ขนาดเล็กกว่า โดยปรกติลําตัวยาวไม่เกิน ๑.๕ เซนติเมตร มีหลายชนิด อยู่ในวงศ์เดียวกับต่อ หลายชนิดอยู่เป็นฝูง ทํารังขนาดเล็ก เช่น แตนฝักบัว (Icaria ferruginea) ซึ่งทํารังรูปคล้ายฝักบัว, แตนลิ้นหมา (I. artifex) ซึ่งทํารังห้อยย้อยลงมาคล้ายลิ้นหมา. |
แต้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสีหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งแตะ ๆ ให้เป็นจุด เช่น แต้มสี แต้มยา; ปลูก (เฉพาะต้นยา). เป็นคำนาม หมายถึง รอยหรือจุดที่มีลักษณะกลม ๆ ปรากฏที่ผิวพื้น; คะแนน เช่น สอบได้กี่แต้ม; ตาที่เดินอย่างตาหมากรุก; ชั้นเชิง เช่น เขาเดินแต้มสูง. | แต้ม ก. เอาสีหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งแตะ ๆ ให้เป็นจุด เช่น แต้มสี แต้มยา; ปลูก (เฉพาะต้นยา). น. รอยหรือจุดที่มีลักษณะกลม ๆ ปรากฏที่ผิวพื้น; คะแนน เช่น สอบได้กี่แต้ม; ตาที่เดินอย่างตาหมากรุก; ชั้นเชิง เช่น เขาเดินแต้มสูง. |
แต้มคู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ชั้นเชิงอันแยบคาย. | แต้มคู น. ชั้นเชิงอันแยบคาย. |
แต้มต่อ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง แต้มที่ผู้มีฝีมือเหนือกว่าต่อให้แก่ผู้ที่มีฝีมือด้อยกว่า เพื่อให้มีโอกาสชนะในการแข่งขันได้พอ ๆ กัน. | แต้มต่อ น. แต้มที่ผู้มีฝีมือเหนือกว่าต่อให้แก่ผู้ที่มีฝีมือด้อยกว่า เพื่อให้มีโอกาสชนะในการแข่งขันได้พอ ๆ กัน. |
แตร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [แตฺร] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องดนตรีในจําพวกเครื่องเป่า ทําด้วยโลหะ มีปากบาน. | แตร [แตฺร] น. เครื่องดนตรีในจําพวกเครื่องเป่า ทําด้วยโลหะ มีปากบาน. |
แตรงอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง แตรที่มีลักษณะปลายบานและโค้งงอนอย่างเขาควาย ใช้ในงานพระราชพิธี; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตราษาฒ มี ๕ ดวง, ดาวราชสีห์ตัวเมีย ดาวอุตตรอาษาฒ หรือ ดาวอุตตราสาฬหะ ก็เรียก. | แตรงอน น. แตรที่มีลักษณะปลายบานและโค้งงอนอย่างเขาควาย ใช้ในงานพระราชพิธี; ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์อุตราษาฒ มี ๕ ดวง, ดาวราชสีห์ตัวเมีย ดาวอุตตรอาษาฒ หรือ ดาวอุตตราสาฬหะ ก็เรียก. |
แตรเดี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง แตรที่ใช้เป่าเป็นสัญญาณในเวลานอน เวลาปลุก เป็นต้น. | แตรเดี่ยว น. แตรที่ใช้เป่าเป็นสัญญาณในเวลานอน เวลาปลุก เป็นต้น. |
แตรฝรั่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ฝอ-ฝา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แตรที่มีปลายบานอย่างดอกลําโพง เป็นเครื่องดนตรีที่ดัดแปลงมาจากของฝรั่ง, แตรลําโพง ก็เรียก. | แตรฝรั่ง น. แตรที่มีปลายบานอย่างดอกลําโพง เป็นเครื่องดนตรีที่ดัดแปลงมาจากของฝรั่ง, แตรลําโพง ก็เรียก. |
แตรฟันฟา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ฟอ-ฟัน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อา | ร์ น. แตรที่ใช้เป่าในเวลาเริ่มพิธีในการแข่งขันกีฬาเป็นต้น. | แตรฟันฟา ร์ น. แตรที่ใช้เป่าในเวลาเริ่มพิธีในการแข่งขันกีฬาเป็นต้น. |
แตรรถยนต์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องสําหรับบีบหรือกดให้เกิดเสียงเป็นสัญญาณของรถยนต์. | แตรรถยนต์ น. เครื่องสําหรับบีบหรือกดให้เกิดเสียงเป็นสัญญาณของรถยนต์. |
แตรลำโพง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-โอ-พอ-พาน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แตรฝรั่ง. | แตรลำโพง น. แตรฝรั่ง. |
แตรวง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง วงดนตรีซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ทําด้วยทองเหลือง จําพวกแตร และเครื่องตี เช่น กลอง จะจัดเป็นวงใหญ่หรือวงเล็กก็ได้ ใช้ในการบรรเลงเพลงต่าง ๆ. | แตรวง น. วงดนตรีซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ทําด้วยทองเหลือง จําพวกแตร และเครื่องตี เช่น กลอง จะจัดเป็นวงใหญ่หรือวงเล็กก็ได้ ใช้ในการบรรเลงเพลงต่าง ๆ. |
แตรวงโยธวาทิต เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-ทอ-ทง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [โยทะวาทิด] เป็นคำนาม หมายถึง วงดนตรีทหารหรือตํารวจเป็นต้นซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ทําด้วยทองเหลือง จําพวกแตร เครื่องตี เช่น กลองใหญ่เล็ก และเครื่องลมต่าง ๆ มักจัดเป็นวงใหญ่ ใช้ในเวลากองทหารเดินและอื่น ๆ. | แตรวงโยธวาทิต [โยทะวาทิด] น. วงดนตรีทหารหรือตํารวจเป็นต้นซึ่งประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่ทําด้วยทองเหลือง จําพวกแตร เครื่องตี เช่น กลองใหญ่เล็ก และเครื่องลมต่าง ๆ มักจัดเป็นวงใหญ่ ใช้ในเวลากองทหารเดินและอื่น ๆ. |
แตระ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [แตฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง ประดิษฐ์, ตัดกลีบดอกไม้ทําเป็นบุหงา เช่น วันนี้เห็นแตระดอกไม้. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔. | แตระ [แตฺระ] ก. ประดิษฐ์, ตัดกลีบดอกไม้ทําเป็นบุหงา เช่น วันนี้เห็นแตระดอกไม้. (อิเหนา). |
แต้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Cratoxylum maingayi Dyer ในวงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว ยางใช้ฉาบทา. | แต้ว น. ชื่อไม้ต้นชนิด Cratoxylum maingayi Dyer ในวงศ์ Guttiferae ดอกสีขาว ยางใช้ฉาบทา. |
แต้วแร้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Pittidae ตัวอ้วนสั้น มีสีฉูดฉาดสะดุดตาหลายสี เช่น นํ้าเงิน เขียว แดง นํ้าตาล เหลือง รวมอยู่ในตัวเดียวกัน คอและหางสั้น ขายาว มักกระโดดหรือวิ่งบนพื้นดิน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แต้วแร้วปีกสีฟ้า หรือ แต้วแร้วธรรมดา (Pitta moluccensis) แต้วแร้วสีนํ้าเงิน (P. cyanea) แต้วแร้วหูยาว (P. phayrei), เขียนเป็น แต้วแล้ว ก็มี. | แต้วแร้ว น. ชื่อนกในวงศ์ Pittidae ตัวอ้วนสั้น มีสีฉูดฉาดสะดุดตาหลายสี เช่น นํ้าเงิน เขียว แดง นํ้าตาล เหลือง รวมอยู่ในตัวเดียวกัน คอและหางสั้น ขายาว มักกระโดดหรือวิ่งบนพื้นดิน ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แต้วแร้วปีกสีฟ้า หรือ แต้วแร้วธรรมดา (Pitta moluccensis) แต้วแร้วสีนํ้าเงิน (P. cyanea) แต้วแร้วหูยาว (P. phayrei), เขียนเป็น แต้วแล้ว ก็มี. |
แต้วแล้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน | ดู แต้วแร้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ไม้-โท-วอ-แหวน. | แต้วแล้ว ดู แต้วแร้ว. |
แต้แว้ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-ไม้-โท-ดอ-เด็ก | ดู ต้อยตีวิด เขียนว่า ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก. | แต้แว้ด ดู ต้อยตีวิด. |
แตะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกรั้วหรือฝาเรือนที่ใช้ไม้รวกหรือไม้ไผ่ผ่าซีกขัดกันว่า รั้วขัดแตะ ฝาขัดแตะ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเกือกหรือรองเท้าไม่หุ้มส้นชนิดหนึ่งว่า เกือกแตะ รองเท้าแตะ. เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกต้องแต่เบา ๆ หรือเพียงนิดหน่อย. | แตะ น. เรียกรั้วหรือฝาเรือนที่ใช้ไม้รวกหรือไม้ไผ่ผ่าซีกขัดกันว่า รั้วขัดแตะ ฝาขัดแตะ. ว. เรียกเกือกหรือรองเท้าไม่หุ้มส้นชนิดหนึ่งว่า เกือกแตะ รองเท้าแตะ. ก. ถูกต้องแต่เบา ๆ หรือเพียงนิดหน่อย. |
แตะต้อง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกต้องแต่เบา ๆ หรือเพียงนิดหน่อย, โดยปริยายหมายความว่า ยุ่งเกี่ยว, เกี่ยวข้อง. | แตะต้อง ก. ถูกต้องแต่เบา ๆ หรือเพียงนิดหน่อย, โดยปริยายหมายความว่า ยุ่งเกี่ยว, เกี่ยวข้อง. |
โต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง สิงโต. | โต ๑ (โบ) น. สิงโต. |
โตเล่นหาง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | โตเล่นหาง น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง; ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
โต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีขนาดใหญ่กว่าเมื่อเทียบกัน เช่น มะพร้าวโตกว่ามะไฟ มะเขือเทศโตกว่ามะเขือพวง, ใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก, เช่น เขาใส่เสื้อตัวโต, โดยปริยายเมื่อใช้ประกอบกับคําอื่นบางคําหมายความว่า อวดอ้างความเป็นใหญ่เป็นโต เช่น คุยโต อวดโต. เป็นคำกริยา หมายถึง เจริญขึ้น, มักใช้เข้าคู่กับคํา เติบ เป็น เติบโต. | โต ๒ ว. มีขนาดใหญ่กว่าเมื่อเทียบกัน เช่น มะพร้าวโตกว่ามะไฟ มะเขือเทศโตกว่ามะเขือพวง, ใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก, เช่น เขาใส่เสื้อตัวโต, โดยปริยายเมื่อใช้ประกอบกับคําอื่นบางคําหมายความว่า อวดอ้างความเป็นใหญ่เป็นโต เช่น คุยโต อวดโต. ก. เจริญขึ้น, มักใช้เข้าคู่กับคํา เติบ เป็น เติบโต. |
โต้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมีดชนิดหนึ่ง สันหนา หัวโต, อีโต้ ก็เรียก. | โต้ ๑ น. ชื่อมีดชนิดหนึ่ง สันหนา หัวโต, อีโต้ ก็เรียก. |
โต้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง ต้าน เช่น โต้คลื่น โต้ลม, ตอบกลับไป เช่น เขาตีลูกเทนนิสมา ก็ตีโต้กลับไป. | โต้ ๒ ก. ต้าน เช่น โต้คลื่น โต้ลม, ตอบกลับไป เช่น เขาตีลูกเทนนิสมา ก็ตีโต้กลับไป. |
โต้คารม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงคารมตอบกันไปมา. | โต้คารม ก. แสดงคารมตอบกันไปมา. |
โต้ตอบ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ตอ-เต่า-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง มีหนังสือไปมา, ตอบกันไปมาในเรื่องนั้น ๆ. | โต้ตอบ ก. มีหนังสือไปมา, ตอบกันไปมาในเรื่องนั้น ๆ. |
โต้เถียง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เถียงกันไปมา. | โต้เถียง ก. เถียงกันไปมา. |
โต้แย้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงความเห็นแย้งกัน. | โต้แย้ง ก. แสดงความเห็นแย้งกัน. |
โต้รุ่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่ตลอดคืนจนกระทั่งเช้า. | โต้รุ่ง (ปาก) ว. อยู่ตลอดคืนจนกระทั่งเช้า. |
โต้วาที เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงคารมโดยมีฝ่ายเสนอและฝ่ายค้านในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง. | โต้วาที ก. แสดงคารมโดยมีฝ่ายเสนอและฝ่ายค้านในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง. |
โตก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะทําด้วยไม้กลึง ไม้ไผ่สาน หวาย หรืออย่างเครื่องเขิน ส่วนบนลักษณะคล้ายถาด ส่วนล่างเป็นตีนลักษณะเป็นวงแหวนมีขนาดเล็กกว่าถาดส่วนบน โดยมีซี่ไม้ลูกมะหวดประมาณ ๖ ซี่ปักที่ตีนค้ำถาดไว้ ใช้สำหรับใส่อาหารเป็นต้น, ขันโตก หรือ สะโตก ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก; ภาชนะมีเชิงสูงรูปคล้ายพาน มีพื้นตื้นสําหรับวางหรือใส่สิ่งของ มักทําด้วยโลหะ เช่น เงิน ทองคํา ทองเหลือง, โต๊ะ ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก.(รูปภาพ โตก). | โตก (ถิ่นพายัพ) น. ภาชนะทําด้วยไม้กลึง ไม้ไผ่สาน หวาย หรืออย่างเครื่องเขิน ส่วนบนลักษณะคล้ายถาด ส่วนล่างเป็นตีนลักษณะเป็นวงแหวนมีขนาดเล็กกว่าถาดส่วนบน โดยมีซี่ไม้ลูกมะหวดประมาณ ๖ ซี่ปักที่ตีนค้ำถาดไว้ ใช้สำหรับใส่อาหารเป็นต้น, ขันโตก หรือ สะโตก ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก; ภาชนะมีเชิงสูงรูปคล้ายพาน มีพื้นตื้นสําหรับวางหรือใส่สิ่งของ มักทําด้วยโลหะ เช่น เงิน ทองคํา ทองเหลือง, โต๊ะ ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก.(รูปภาพ โตก). |
โต่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ที่สุดของสิ่งที่เป็นแถวเป็นแนว เช่น ปลายโต่ง ท้ายโต่ง สุดโต่ง; ท่อนไม้ที่ผูกติดอยู่บนแพสุดท้าย สำหรับต๋งกับหลักบนริมฝั่งเพื่อยึดแพไม่ให้น้ำพัดลอยไป. | โต่ง น. ที่สุดของสิ่งที่เป็นแถวเป็นแนว เช่น ปลายโต่ง ท้ายโต่ง สุดโต่ง; ท่อนไม้ที่ผูกติดอยู่บนแพสุดท้าย สำหรับต๋งกับหลักบนริมฝั่งเพื่อยึดแพไม่ให้น้ำพัดลอยไป. |
โต้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โตใหญ่ในพวก. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไก่อูไก่ตะเภาตัวผู้ขนาดใหญ่ หรือเอี่ยวพญาของไพ่ตองไทย ว่า อ้ายโต้ง. | โต้ง ว. โตใหญ่ในพวก. น. เรียกไก่อูไก่ตะเภาตัวผู้ขนาดใหญ่ หรือเอี่ยวพญาของไพ่ตองไทย ว่า อ้ายโต้ง. |
โต้ง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างชัด ๆ เช่น เห็นโต้ง ๆ. | โต้ง ๆ ว. อย่างชัด ๆ เช่น เห็นโต้ง ๆ. |
โตงเตง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหูกชนิดหนึ่ง มี ๒ อันผูกแขวนลงมาสําหรับสวมกระดานที่ม้วนด้าย; เรียกเสาไม้ขนาดใหญ่ ๒ เสาที่แขวนห้อยอยู่กลางประตูเพนียดให้ช้างเข้าออกว่า เสาโตงเตง, ประตูเข้ามีเสาโตงเตง ๒ ชั้น ส่วนประตูออกมีเสาโตงเตงชั้นเดียว, เรียกประตูเพนียดที่มีเสาโตงเตงว่า ประตูโตงเตง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการแห่งสิ่งของที่ห้อยแล้วหย่อนยานแกว่งไปมาได้. | โตงเตง ๑ น. เครื่องหูกชนิดหนึ่ง มี ๒ อันผูกแขวนลงมาสําหรับสวมกระดานที่ม้วนด้าย; เรียกเสาไม้ขนาดใหญ่ ๒ เสาที่แขวนห้อยอยู่กลางประตูเพนียดให้ช้างเข้าออกว่า เสาโตงเตง, ประตูเข้ามีเสาโตงเตง ๒ ชั้น ส่วนประตูออกมีเสาโตงเตงชั้นเดียว, เรียกประตูเพนียดที่มีเสาโตงเตงว่า ประตูโตงเตง. ว. อาการแห่งสิ่งของที่ห้อยแล้วหย่อนยานแกว่งไปมาได้. |
โตงเตง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ ค้างคาว ก็เรียก. | โตงเตง ๒ น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ ค้างคาว ก็เรียก. |
โตง ๆ เตง ๆ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-งอ-งู ไม้-ยะ-มก สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กะโตงกะเตง. | โตง ๆ เตง ๆ ว. กะโตงกะเตง. |
โตฎก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่ | [ดก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อฉันท์วรรณพฤติมี ๑๒ พยางค์, ประกอบด้วย ส คณะล้วน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โตฏก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ตอ-ปะ-ตัก-กอ-ไก่. | โตฎก [ดก] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติมี ๑๒ พยางค์, ประกอบด้วย ส คณะล้วน. (ป. โตฏก). |
โต๊ด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง ผู้หรือวิธีรับกินรับใช้ในการพนันแข่งม้าเป็นต้น. | โต๊ด (ปาก) น. ผู้หรือวิธีรับกินรับใช้ในการพนันแข่งม้าเป็นต้น. |
โตน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำกริยา หมายถึง โจน, กระโดด. | โตน ๑ (ถิ่น) ก. โจน, กระโดด. |
โตน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าตก. | โตน ๒ น. นํ้าตก. |
โตนด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | [ตะโหฺนด] เป็นคำนาม หมายถึง ตาลโตนด. ในวงเล็บ ดู ตาล เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง. | โตนด ๑ [ตะโหฺนด] น. ตาลโตนด. (ดู ตาล). |
โตนด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | [ตะโหฺนด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกลูกบัวในสกุล Nymphaea วงศ์ Nymphaeaceae. ในวงเล็บ ดู บัว เขียนว่า บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน. | โตนด ๒ [ตะโหฺนด] น. ชื่อเรียกลูกบัวในสกุล Nymphaea วงศ์ Nymphaeaceae. (ดู บัว). |
โต้โผ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ผอ-ผึ้ง | เป็นคำนาม หมายถึง ตั้วโผ. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | โต้โผ น. ตั้วโผ. (จ.). |
โตมร, โตมร โตมร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-รอ-เรือ โตมร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-รอ-เรือ | [มอน, โตมะระ] เป็นคำนาม หมายถึง อาวุธสําหรับซัด, หอกซัด, สามง่ามที่มีปลอกรูปเป็นใบโพสวมอยู่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โตมร, โตมร [มอน, โตมะระ] น. อาวุธสําหรับซัด, หอกซัด, สามง่ามที่มีปลอกรูปเป็นใบโพสวมอยู่. (ป., ส.). |
โตมรธร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ทอ-ทง-รอ-เรือ | [โตมะระทอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถือหอก; ไฟ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โตมรธร [โตมะระทอน] (แบบ) น. ผู้ถือหอก; ไฟ. (ป., ส.). |
โตย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า เช่น แปรกรรหายหอบโตย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | โตย (แบบ; กลอน) น. นํ้า เช่น แปรกรรหายหอบโตย. (ตะเลงพ่าย). (ป., ส.). |
โตรก, โตรกไตร โตรก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่ โตรกไตร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | [โตฺรก, โตฺรกไตฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ช่องลึกของเขา, โกรก หรือ โกรกไกร ก็ใช้. | โตรก, โตรกไตร [โตฺรก, โตฺรกไตฺร] น. ช่องลึกของเขา, โกรก หรือ โกรกไกร ก็ใช้. |
โตรด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก | [โตฺรด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดดเดี่ยว เช่น เยียยลสุดาเดียวตรอมโตรด. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐; เปลี่ยว, คะนอง เช่น ส่วนสัตว์โตรดดุดัน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์, โกรด ก็ใช้. | โตรด [โตฺรด] (โบ) ว. โดดเดี่ยว เช่น เยียยลสุดาเดียวตรอมโตรด. (ทวาทศมาส); เปลี่ยว, คะนอง เช่น ส่วนสัตว์โตรดดุดัน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), โกรด ก็ใช้. |
โต้หลง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง สงเคราะห์, ช่วย. ในวงเล็บ เทียบ ภาษามลายู ตุลง เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-งอ-งู. | โต้หลง (ปาก) ก. สงเคราะห์, ช่วย. (เทียบมลายู ตุลง). |
โต๊ะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําด้วยไม้เป็นต้น พื้นราบ เป็นรูปต่าง ๆ มีขาสําหรับเป็นที่เขียนหนังสือ ตั้งเครื่องบูชา หรือ วางสิ่งของต่าง ๆ เรียกชื่อต่าง ๆ ตามวัตถุที่ทํา เช่น โต๊ะหิน โต๊ะมุก ตามรูปร่าง เช่น โต๊ะกลม โต๊ะสี่เหลี่ยม ตามวัตถุประสงค์ที่ใช้ เช่น โต๊ะเขียนหนังสือ โต๊ะกินข้าว, ลักษณนามว่า ตัว ถ้าเป็นโต๊ะอาหารจีนเป็นชุด ลักษณนามว่า โต๊ะ. | โต๊ะ ๑ น. สิ่งที่ทําด้วยไม้เป็นต้น พื้นราบ เป็นรูปต่าง ๆ มีขาสําหรับเป็นที่เขียนหนังสือ ตั้งเครื่องบูชา หรือ วางสิ่งของต่าง ๆ เรียกชื่อต่าง ๆ ตามวัตถุที่ทํา เช่น โต๊ะหิน โต๊ะมุก ตามรูปร่าง เช่น โต๊ะกลม โต๊ะสี่เหลี่ยม ตามวัตถุประสงค์ที่ใช้ เช่น โต๊ะเขียนหนังสือ โต๊ะกินข้าว, ลักษณนามว่า ตัว ถ้าเป็นโต๊ะอาหารจีนเป็นชุด ลักษณนามว่า โต๊ะ. |
โต๊ะกลม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดวางโต๊ะล้อมกันเป็นวงกลม. | โต๊ะกลม น. ที่ประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดวางโต๊ะล้อมกันเป็นวงกลม. |
โต๊ะโขก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง แบบการจัดโต๊ะและที่บูชาอย่างจีนแบบหนึ่ง. | โต๊ะโขก น. แบบการจัดโต๊ะและที่บูชาอย่างจีนแบบหนึ่ง. |
โต๊ะแชร์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง การสังสรรค์ของผู้เล่นแชร์เพื่อเปียแชร์โดยการกินโต๊ะ ตามปรกติผู้เปียแชร์ได้จะเป็นผู้จ่ายหรือตามที่ได้ตกลงกัน. | โต๊ะแชร์ น. การสังสรรค์ของผู้เล่นแชร์เพื่อเปียแชร์โดยการกินโต๊ะ ตามปรกติผู้เปียแชร์ได้จะเป็นผู้จ่ายหรือตามที่ได้ตกลงกัน. |
โต๊ะหมู่, โต๊ะหมู่บูชา โต๊ะหมู่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก โต๊ะหมู่บูชา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า ๔ ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ มีหมู่ ๓ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑, เดิมเรียกว่า ม้าหมู่บูชา. | โต๊ะหมู่, โต๊ะหมู่บูชา น. ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า ๔ ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ มีหมู่ ๓ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑, เดิมเรียกว่า ม้าหมู่บูชา. |
โต๊ะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะมีเชิงสูงรูปคล้ายพาน มีพื้นตื้นสําหรับวางหรือใส่สิ่งของ มักทําด้วยโลหะ เช่น เงิน ทองคํา ทองเหลือง, โตก ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก. | โต๊ะ ๒ น. ภาชนะมีเชิงสูงรูปคล้ายพาน มีพื้นตื้นสําหรับวางหรือใส่สิ่งของ มักทําด้วยโลหะ เช่น เงิน ทองคํา ทองเหลือง, โตก ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก. |
โต๊ะเท้าช้าง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะโลหะชนิดหนึ่งคล้ายโตก มีขาใหญ่หนาเทอะทะ ๓ ขา. | โต๊ะเท้าช้าง น. ภาชนะโลหะชนิดหนึ่งคล้ายโตก มีขาใหญ่หนาเทอะทะ ๓ ขา. |
โต๊ะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำนาม หมายถึง บัณฑิต, นักปราชญ์, ผู้รู้คัมภีร์อัลกุรอานซึ่งเป็นพระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม. | โต๊ะ ๓ น. บัณฑิต, นักปราชญ์, ผู้รู้คัมภีร์อัลกุรอานซึ่งเป็นพระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม. |
โต๊ะอิหม่าม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | [หฺม่าม] เป็นคำนาม หมายถึง อิหม่าม, คําเรียกอิหม่ามด้วยความยกย่อง. | โต๊ะอิหม่าม [หฺม่าม] น. อิหม่าม, คําเรียกอิหม่ามด้วยความยกย่อง. |
โต๊ะครึม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง การละเล่นบูชาครูหมอตายายเพื่อให้มาเข้าทรงเมื่อมีคนเจ็บไข้ได้ป่วย เพราะเชื่อว่าการป่วยนั้นเกิดจากตายายที่ล่วงลับไปแล้วมาทำโทษ. | โต๊ะครึม (ถิ่นปักษ์ใต้) น. การละเล่นบูชาครูหมอตายายเพื่อให้มาเข้าทรงเมื่อมีคนเจ็บไข้ได้ป่วย เพราะเชื่อว่าการป่วยนั้นเกิดจากตายายที่ล่วงลับไปแล้วมาทำโทษ. |
ใต้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่อยู่ในที่หรือฐานะตํ่ากว่าสิ่งอื่นเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น รถไฟใต้ดิน อยู่ใต้อํานาจ, ตรงข้ามกับ เหนือ เช่น ใต้ลม, ตํ่ากว่าพื้นผิวระดับหรือเกณฑ์ เช่น ใต้ดิน ใต้นํ้า. เป็นคำนาม หมายถึง ทิศที่อยู่ตรงข้ามกับทิศเหนือ, ทิศที่อยู่ทางขวามือ เมื่อหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เรียกว่า ทิศใต้, ทิศทักษิณ ก็ว่า. เป็นคำบุรพบท หมายถึง ข้างล่าง เช่น อยู่ใต้ต้นไม้. | ใต้ ว. ที่อยู่ในที่หรือฐานะตํ่ากว่าสิ่งอื่นเมื่อมีการเปรียบเทียบกัน เช่น รถไฟใต้ดิน อยู่ใต้อํานาจ, ตรงข้ามกับ เหนือ เช่น ใต้ลม, ตํ่ากว่าพื้นผิวระดับหรือเกณฑ์ เช่น ใต้ดิน ใต้นํ้า. น. ทิศที่อยู่ตรงข้ามกับทิศเหนือ, ทิศที่อยู่ทางขวามือ เมื่อหันหน้าไปทางทิศตะวันออก เรียกว่า ทิศใต้, ทิศทักษิณ ก็ว่า. บ. ข้างล่าง เช่น อยู่ใต้ต้นไม้. |
ใต้ดิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เปิดเผย, ไม่ถูกกฎหมาย, เช่น ขบวนการใต้ดิน กองทัพใต้ดิน. | ใต้ดิน (สำ) ว. ไม่เปิดเผย, ไม่ถูกกฎหมาย, เช่น ขบวนการใต้ดิน กองทัพใต้ดิน. |
ใต้โต๊ะ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า-ไม้-ตรี-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเงินที่แอบให้กันโดยมิชอบ โดยปรกติจะให้กันใต้โต๊ะ. | ใต้โต๊ะ ว. เรียกเงินที่แอบให้กันโดยมิชอบ โดยปรกติจะให้กันใต้โต๊ะ. |
ใต้ถุน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ที่ใต้พื้นเรือนซึ่งยกพื้นสูง. | ใต้ถุน น. ที่ใต้พื้นเรือนซึ่งยกพื้นสูง. |
ใต้เท้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยอย่างเคารพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้เท้า ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยอย่างเคารพ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ใต้เท้ากรุณา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับขุนนางที่มีศักดิ์สูงเช่นเจ้าพระยา, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้เท้ากรุณา (โบ) ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับขุนนางที่มีศักดิ์สูงเช่นเจ้าพระยา, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ใต้เท้ากรุณาเจ้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับขุนนางชั้นสมเด็จเจ้าพระยา, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้เท้ากรุณาเจ้า (โบ) ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับขุนนางชั้นสมเด็จเจ้าพระยา, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ใต้ฝ่าพระบาท เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าและเจ้าฟ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้ฝ่าพระบาท ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับเจ้านายชั้นพระองค์เจ้าและเจ้าฟ้า, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-งอ-งู-ทอ-ทง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับพระเจ้าแผ่นดินและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับพระเจ้าแผ่นดินและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ใต้ฝ่าละอองพระบาท เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-ออ-อ่าง-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับพระอัครมเหสีที่ไม่ได้ดํารงตําแหน่งสมเด็จพระราชินีลงมาจนถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชและสมเด็จพระบรมราชกุมารี, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. | ใต้ฝ่าละอองพระบาท ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้กับพระอัครมเหสีที่ไม่ได้ดํารงตําแหน่งสมเด็จพระราชินีลงมาจนถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชและสมเด็จพระบรมราชกุมารี, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ไต เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในสรีรวิทยา เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะคู่หนึ่งของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้องใกล้กระดูกสันหลัง ทําหน้าที่ขับของเสียออกมากับนํ้าปัสสาวะ; สิ่งซึ่งเป็นก้อนแข็งอยู่ในเนื้อ. | ไต (สรีร) น. อวัยวะคู่หนึ่งของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้องใกล้กระดูกสันหลัง ทําหน้าที่ขับของเสียออกมากับนํ้าปัสสาวะ; สิ่งซึ่งเป็นก้อนแข็งอยู่ในเนื้อ. |
ไตปลา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกรวมของอวัยวะในช่องท้องของปลาบางชนิดเช่นปลาทูที่ควักออกมา รวมทั้งส่วนของเหงือกปลาด้วย แล้วนําไปหมักเกลือ ใช้ประกอบอาหารบางชนิดเช่นแกง เรียกว่า แกงไตปลา; ไตของปลา ซึ่งเป็นอวัยวะติดกับช่องท้องด้านบนติดกระดูกสันหลังของปลา. | ไตปลา น. คําเรียกรวมของอวัยวะในช่องท้องของปลาบางชนิดเช่นปลาทูที่ควักออกมา รวมทั้งส่วนของเหงือกปลาด้วย แล้วนําไปหมักเกลือ ใช้ประกอบอาหารบางชนิดเช่นแกง เรียกว่า แกงไตปลา; ไตของปลา ซึ่งเป็นอวัยวะติดกับช่องท้องด้านบนติดกระดูกสันหลังของปลา. |
ไต่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เคลื่อนไปหรือคืบคลานไปของสัตว์บางจําพวก เช่น กระรอก กระแต มด หนอน; เดินไปด้วยความระมัดระวัง เช่น ไต่กันสาด ไต่ลวด, ขึ้นลงในที่ลําบากด้วยความระมัดระวัง เช่น ไต่เสากระโดง ไต่เขา, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ขี่รถมอเตอร์ไซค์ไต่ถัง. | ไต่ ก. อาการที่เคลื่อนไปหรือคืบคลานไปของสัตว์บางจําพวก เช่น กระรอก กระแต มด หนอน; เดินไปด้วยความระมัดระวัง เช่น ไต่กันสาด ไต่ลวด, ขึ้นลงในที่ลําบากด้วยความระมัดระวัง เช่น ไต่เสากระโดง ไต่เขา, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ขี่รถมอเตอร์ไซค์ไต่ถัง. |
ไต่คู้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปดังนี้ ๘ ทําให้คํานั้น ๆ มีเสียงสั้น เรียกว่า ไม้ไต่คู้. | ไต่คู้ น. เครื่องหมายชนิดหนึ่ง มีรูปดังนี้ ๘ ทําให้คํานั้น ๆ มีเสียงสั้น เรียกว่า ไม้ไต่คู้. |
ไต่เต้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อย ๆ เดินไป, โดยปริยายหมายความว่า ค่อย ๆ เขยิบฐานะขึ้นไปตามลำดับ, ไต่ ก็ว่า. | ไต่เต้า ก. ค่อย ๆ เดินไป, โดยปริยายหมายความว่า ค่อย ๆ เขยิบฐานะขึ้นไปตามลำดับ, ไต่ ก็ว่า. |
ไต่ถาม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ถาม, สอบถาม, ไถ่ถาม หรือ ถามไถ่ ก็ว่า. | ไต่ถาม ก. ถาม, สอบถาม, ไถ่ถาม หรือ ถามไถ่ ก็ว่า. |
ไต่ไม้ลำเดียว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง กระทําการใด ๆ ตามลําพังตัวคนเดียวโดยไม่พึ่งพาอาศัยผู้อื่น อาจพลั้งพลาดได้. | ไต่ไม้ลำเดียว (สำ) ก. กระทําการใด ๆ ตามลําพังตัวคนเดียวโดยไม่พึ่งพาอาศัยผู้อื่น อาจพลั้งพลาดได้. |
ไต่ลวด เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง การแสดงอย่างหนึ่ง เดินไปบนลวด. | ไต่ลวด น. การแสดงอย่างหนึ่ง เดินไปบนลวด. |
ไต่สวน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง สอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือไม่. | ไต่สวน ก. สอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือไม่. |
ไต้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ของใช้สําหรับจุดไฟให้สว่างหรือทําเชื้อเพลิง ทําด้วยไม้ผุหรือเปลือกเสม็ดคลุกกับนํ้ามันยางแล้วห่อด้วยใบไม้เป็นดุ้นยาว ๆ หรือใส่กระบอก, ลักษณนามว่า ลูก, เรียกส่วนของไต้ที่ใช้เป็นเชื้อไฟ หรือส่วนของไต้ที่จุดและเขี่ยให้ร่วงหล่นลงว่า ขี้ไต้. | ไต้ น. ของใช้สําหรับจุดไฟให้สว่างหรือทําเชื้อเพลิง ทําด้วยไม้ผุหรือเปลือกเสม็ดคลุกกับนํ้ามันยางแล้วห่อด้วยใบไม้เป็นดุ้นยาว ๆ หรือใส่กระบอก, ลักษณนามว่า ลูก, เรียกส่วนของไต้ที่ใช้เป็นเชื้อไฟ หรือส่วนของไต้ที่จุดและเขี่ยให้ร่วงหล่นลงว่า ขี้ไต้. |
ไต้ไฟ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวเสือ ดาวต่อมนํ้า หรือ ดาวตาจระเข้ ก็เรียก. | ไต้ไฟ น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์จิตรา มี ๑ ดวง, ดาวเสือ ดาวต่อมนํ้า หรือ ดาวตาจระเข้ ก็เรียก. |
ไต๋ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง กลเม็ด, ทีเด็ด, ความลับ, เจตนาแท้จริงซึ่งซ่อนเร้นไว้; ไพ่ตัวสําคัญซึ่งปิดไว้ไม่ให้คู่แข่งรู้. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ไต๋ (ปาก) น. กลเม็ด, ทีเด็ด, ความลับ, เจตนาแท้จริงซึ่งซ่อนเร้นไว้; ไพ่ตัวสําคัญซึ่งปิดไว้ไม่ให้คู่แข่งรู้. (จ.). |
ไต้ก๋ง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง นายท้ายเรือสําเภาหรือเรือจับปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ไต้ก๋ง น. นายท้ายเรือสําเภาหรือเรือจับปลา. (จ.). |
ไต้ฝุ่น เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพายุหมุนที่มีกําลังแรงจัด ทําให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ไต้ฝุ่น น. ชื่อพายุหมุนที่มีกําลังแรงจัด ทําให้มีฝนตกหนักมาก เกิดขึ้นในบริเวณภาคตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกและในทะเลจีน มีความเร็วลมใกล้บริเวณศูนย์กลางตั้งแต่ ๖๕ นอต หรือ ๑๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป. (จ.). |
ไต่ไม้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกในวงศ์ Sittidae ตัวเล็ก หางสั้น ปากแหลม มักไต่จากยอดไม้ลงมาสู่โคนโดยเอาหัวลง กินหนอนและแมลงในเปลือกไม้ แต่บางครั้งก็กินเมล็ดพืช ทํารังในโพรงไม้ ในประเทศไทยมี ๕ ชนิด เช่น ไต่ไม้ท้องสีเม็ดมะขาม (Sitta castanea) ไต่ไม้หน้าผากกํามะหยี่ (S. frontalis) ไต่ไม้สีสวย (S. formosa). | ไต่ไม้ น. ชื่อนกในวงศ์ Sittidae ตัวเล็ก หางสั้น ปากแหลม มักไต่จากยอดไม้ลงมาสู่โคนโดยเอาหัวลง กินหนอนและแมลงในเปลือกไม้ แต่บางครั้งก็กินเมล็ดพืช ทํารังในโพรงไม้ ในประเทศไทยมี ๕ ชนิด เช่น ไต่ไม้ท้องสีเม็ดมะขาม (Sitta castanea) ไต่ไม้หน้าผากกํามะหยี่ (S. frontalis) ไต่ไม้สีสวย (S. formosa). |
ไตร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | [ไตฺร] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไกร, ยิ่ง, เช่น ตรัสไตร. | ไตร ๑ [ไตฺร] ว. ไกร, ยิ่ง, เช่น ตรัสไตร. |
ไตร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | [ไตฺร] เป็นคำกริยา หมายถึง กําหนด, นับ, ตรวจ. | ไตร ๒ [ไตฺร] ก. กําหนด, นับ, ตรวจ. |
ไตรตรา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ตรวจและหมายไว้; ใคร่ครวญ. | ไตรตรา ก. ตรวจและหมายไว้; ใคร่ครวญ. |
ไตร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๓ | [ไตฺร] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สาม, คําสําหรับนําหน้าสมาสอย่างเดียว (บางทีใช้ว่า ตรี ก็ได้) เช่น ไตรลักษณ์ ไตรทวาร, แม้จะพูดไว้ท้ายคําบ้าง เช่น ผ้าไตร หอไตร ก็เพราะละท้ายสมาสเสีย คือ ผ้าไตรจีวร หอไตรปิฎก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ไตร ๓ [ไตฺร] ว. สาม, คําสําหรับนําหน้าสมาสอย่างเดียว (บางทีใช้ว่า ตรี ก็ได้) เช่น ไตรลักษณ์ ไตรทวาร, แม้จะพูดไว้ท้ายคําบ้าง เช่น ผ้าไตร หอไตร ก็เพราะละท้ายสมาสเสีย คือ ผ้าไตรจีวร หอไตรปิฎก. (ส.). |
ไตรจักร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | [จัก] เป็นคำนาม หมายถึง ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล. | ไตรจักร [จัก] น. ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล. |
ไตรจีวร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [จีวอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้า ๓ ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), เรียกสั้น ๆ ว่า ผ้าไตร หรือ ไตร เช่น ไตรครอง ดอกไม้คลุมไตร. | ไตรจีวร [จีวอน] น. ผ้า ๓ ผืนของภิกษุ คือ อันตรวาสก (สบง) อุตราสงค์ (จีวร) และสังฆาฏิ (ผ้าทาบ), เรียกสั้น ๆ ว่า ผ้าไตร หรือ ไตร เช่น ไตรครอง ดอกไม้คลุมไตร. |
ไตรตรึงษ์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | [ตฺรึง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ดาวดึงส์, ตรัยตรึงศ์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้นฟ้าที่พระอินทร์ครอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺรยสฺตฺรึศตฺ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ ว่า สามสิบสาม . | ไตรตรึงษ์ [ตฺรึง] (โบ) น. ดาวดึงส์, ตรัยตรึงศ์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้นฟ้าที่พระอินทร์ครอง. (ส. ตฺรยสฺตฺรึศตฺ ว่า สามสิบสาม). |
ไตรทวาร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [ทะวาน] เป็นคำนาม หมายถึง ทวารทั้ง ๓ คือ กาย เรียก กายทวาร วาจา เรียก วจีทวาร ใจ เรียก มโนทวาร. | ไตรทวาร [ทะวาน] น. ทวารทั้ง ๓ คือ กาย เรียก กายทวาร วาจา เรียก วจีทวาร ใจ เรียก มโนทวาร. |
ไตรทศ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-สา-ลา | [ทด] เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ไม่แยกว่าใครเป็นใคร หมายถึง พระอินทร์และบริวารพระอินทร์อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า. | ไตรทศ [ทด] น. เทวดา ๓๓ องค์ ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ไม่แยกว่าใครเป็นใคร หมายถึง พระอินทร์และบริวารพระอินทร์อีก ๓๒ องค์, ตรีทศ ก็ว่า. |
ไตรทิพ, ไตรทิพย์ ไตรทิพ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน ไตรทิพย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ทิบ] เป็นคำนาม หมายถึง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ หรือชั้นวิเศษสุด, สวรรค์ทั่วไป, ตรีทิพ ก็ว่า. | ไตรทิพ, ไตรทิพย์ [ทิบ] น. สวรรค์ชั้นดาวดึงส์, สวรรค์ชั้นที่ ๒ หรือชั้นวิเศษสุด, สวรรค์ทั่วไป, ตรีทิพ ก็ว่า. |
ไตรปิฎก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-ชะ-ดา-กอ-ไก่ | [ปิดก] เป็นคำนาม หมายถึง พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก, ตรีปิฎก ก็ว่า. | ไตรปิฎก [ปิดก] น. พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามี ๓ ปิฎก คือ พระวินัย เรียก วินัยปิฎก พระสูตร เรียก สุตตันตปิฎก พระอภิธรรม เรียก อภิธรรมปิฎก, ตรีปิฎก ก็ว่า. |
ไตรเพท เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ทอ-ทะ-หาน | [เพด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพระเวท มี ๓ คัมภีร์ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท. | ไตรเพท [เพด] น. ชื่อคัมภีร์ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพระเวท มี ๓ คัมภีร์ คือ ฤคเวท ยชุรเวท สามเวท. |
ไตรภพ, ไตรภูมิ ไตรภพ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-พอ-พาน ไตรภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | [พบ, พูม] เป็นคำนาม หมายถึง ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล, ตรีภพ ก็ว่า. | ไตรภพ, ไตรภูมิ [พบ, พูม] น. ภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, ตามไสยศาสตร์ว่า สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล, ตรีภพ ก็ว่า. |
ไตรภาคี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง ๓ ฝ่าย; เรียกสนธิสัญญาที่มีคู่สัญญา ๓ ฝ่ายว่า สนธิสัญญาไตรภาคี. | ไตรภาคี น. ๓ ฝ่าย; เรียกสนธิสัญญาที่มีคู่สัญญา ๓ ฝ่ายว่า สนธิสัญญาไตรภาคี. |
ไตรยางศ์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สอ-สา-ลา-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ๓ ส่วน, ใช้เป็นชื่ออักษร ๓ หมู่ คือ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรตํ่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ตฺรยํศ เขียนว่า ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-นิก-คะ-หิด-สอ-สา-ลา. | ไตรยางศ์ น. ๓ ส่วน, ใช้เป็นชื่ออักษร ๓ หมู่ คือ อักษรสูง อักษรกลาง และอักษรตํ่า. (ส. ตฺรยํศ). |
ไตรรงค์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ๓ สี, เรียกธงชาติไทยซึ่งมี ๓ สี ๕ แถบ คือ แดง ขาว นํ้าเงิน ขาว แดง ว่า ธงไตรรงค์. | ไตรรงค์ ๑ น. ๓ สี, เรียกธงชาติไทยซึ่งมี ๓ สี ๕ แถบ คือ แดง ขาว นํ้าเงิน ขาว แดง ว่า ธงไตรรงค์. |
ไตรรัตน์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง แก้ว ๓ ประการ หมายถึง พระพุทธเจ้า เรียกว่า พุทธรัตนะ พระธรรม เรียกว่า ธรรมรัตนะ พระสงฆ์ เรียกว่า สังฆรัตนะ. | ไตรรัตน์ น. แก้ว ๓ ประการ หมายถึง พระพุทธเจ้า เรียกว่า พุทธรัตนะ พระธรรม เรียกว่า ธรรมรัตนะ พระสงฆ์ เรียกว่า สังฆรัตนะ. |
ไตรลักษณ์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | [ลัก] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตน. | ไตรลักษณ์ [ลัก] น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตน. |
ไตรโลก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง โลกทั้ง ๓ ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล, ทางศาสนาหมายถึงภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, หรืออีกนัยหนึ่งหมายถึง มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก, ตรีโลก ก็ว่า. | ไตรโลก น. โลกทั้ง ๓ ทางวรรณคดีหมายความถึง สวรรค์ มนุษยโลก บาดาล, ทางศาสนาหมายถึงภพทั้ง ๓ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ, หรืออีกนัยหนึ่งหมายถึง มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลก, ตรีโลก ก็ว่า. |
ไตรโลกย์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ประชุมโลก ๓ เช่น อันว่าพระไตรโลกย์ครู สวยมภูญาณนายก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์สักบรรพ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | ไตรโลกย์ (โบ) น. ประชุมโลก ๓ เช่น อันว่าพระไตรโลกย์ครู สวยมภูญาณนายก. (ม. คำหลวง สักบรรพ). (ส.). |
ไตรวัฏ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก | เป็นคำนาม หมายถึง วัฏฏะ ๓ คือ กิเลสวัฏ กรรมวัฏ วิปากวัฏ. | ไตรวัฏ น. วัฏฏะ ๓ คือ กิเลสวัฏ กรรมวัฏ วิปากวัฏ. |
ไตรวิชชา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | [วิดชา] เป็นคำนาม หมายถึง วิชชา ๓ คือ วิชชาระลึกชาติหนหลังได้ ๑ วิชชารู้ความตายความเกิดของคนและสัตว์ ๑ วิชชารู้ในทางทําให้สิ้นกิเลส ๑. | ไตรวิชชา [วิดชา] น. วิชชา ๓ คือ วิชชาระลึกชาติหนหลังได้ ๑ วิชชารู้ความตายความเกิดของคนและสัตว์ ๑ วิชชารู้ในทางทําให้สิ้นกิเลส ๑. |
ไตรสรณคมน์, ไตรสรณาคมน์ ไตรสรณคมน์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด ไตรสรณาคมน์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [สะระนะคม, สะระนาคม] เป็นคำนาม หมายถึง การถึงพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก. | ไตรสรณคมน์, ไตรสรณาคมน์ [สะระนะคม, สะระนาคม] น. การถึงพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก. |
ไตรสิกขา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง สิกขา ๓ คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา. | ไตรสิกขา น. สิกขา ๓ คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา. |
ไตรกิศยา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | [ไตฺรกิดสะยา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การเยียวยา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ติกิจฺฉา เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-พิน-ทุ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา และมาจากภาษาสันสกฤต จิกิตฺสา เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา. | ไตรกิศยา [ไตฺรกิดสะยา] (แบบ) น. การเยียวยา. (ป. ติกิจฺฉา; ส. จิกิตฺสา). |
ไตรดายุค เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย | [ไตฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยุค ที่ ๒ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือ ๓ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เตฺรตายุค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย และมาจากภาษาบาลี เตตายุค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย. ในวงเล็บ ดู จตุรยุค เขียนว่า จอ-จาน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย. | ไตรดายุค [ไตฺร] น. ชื่อยุค ที่ ๒ ของจตุรยุคตามคติของพราหมณ์ ในยุคนี้ธรรมะและอายุของมนุษย์ลดลงเหลือ ๓ ใน ๔ ส่วนเมื่อเทียบกับในสมัยกฤดายุค. (ส. เตฺรตายุค; ป. เตตายุค). (ดู จตุรยุค). |
ไตร่ตรอง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | [ไตฺร่ตฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง คิดทบทวน, ตริตรอง. | ไตร่ตรอง [ไตฺร่ตฺรอง] ก. คิดทบทวน, ตริตรอง. |
ไตรย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ยอ-ยัก | [ไตฺร] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไตร เช่น ไตรยตรึงษ์ ไตรยปิฎก ไตรยโลก. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. | ไตรย [ไตฺร] (โบ) ว. ไตร เช่น ไตรยตรึงษ์ ไตรยปิฎก ไตรยโลก. (ยวนพ่าย). |
ไตรรงค์ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-รอ-เรือ-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด ความหมายที่ ๒ | ดู ราชินี เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒. | ไตรรงค์ ๒ ดู ราชินี ๒. |
ไต้หวัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ไม้-โท-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเกาะในทะเลจีนใต้ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลฮกเกี้ยน. | ไต้หวัน น. ชื่อเกาะในทะเลจีนใต้ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของมณฑลฮกเกี้ยน. |
ถ เขียนว่า ถอ-ถุง | พยัญชนะตัวที่ ๒๒ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น รถ ปรารถนา. | ถ พยัญชนะตัวที่ ๒๒ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น รถ ปรารถนา. |
ถก เขียนว่า ถอ-ถุง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ดึงรั้งให้สูงขึ้นอย่างถกผ้านุ่งถกแขนเสื้อ, ดึงให้หลุดลอกออกมาอย่างถกหนังหัว; จั่วไพ่ที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง, ถ้าจั่วไพ่ขึ้นมาเข้าเศียรที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง เรียกว่า ถกเศียร, ถลก ก็ว่า; ทึ้งให้หลุดออก เช่น ถกหญ้า ถกเถาวัลย์; โดยปริยายหมายความว่า ยกเอาขึ้นมาพิจารณากันด้วยเหตุผล เช่น ถกปัญหา. | ถก ก. ดึงรั้งให้สูงขึ้นอย่างถกผ้านุ่งถกแขนเสื้อ, ดึงให้หลุดลอกออกมาอย่างถกหนังหัว; จั่วไพ่ที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง, ถ้าจั่วไพ่ขึ้นมาเข้าเศียรที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง เรียกว่า ถกเศียร, ถลก ก็ว่า; ทึ้งให้หลุดออก เช่น ถกหญ้า ถกเถาวัลย์; โดยปริยายหมายความว่า ยกเอาขึ้นมาพิจารณากันด้วยเหตุผล เช่น ถกปัญหา. |
ถกเขมร เขียนว่า ถอ-ถุง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง นุ่งผ้าโจงกระเบนดึงชายให้สูงร่นขึ้นไปเหนือเข่า, ขัดเขมร ก็ว่า. | ถกเขมร ก. นุ่งผ้าโจงกระเบนดึงชายให้สูงร่นขึ้นไปเหนือเข่า, ขัดเขมร ก็ว่า. |
ถกเถียง เขียนว่า ถอ-ถุง-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ยกเอาขึ้นมาพูดโต้แย้งกัน. | ถกเถียง ก. ยกเอาขึ้นมาพูดโต้แย้งกัน. |
ถกล เขียนว่า ถอ-ถุง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง | [ถะกน] เป็นคำกริยา หมายถึง ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งขึ้น, ตั้งไว้; ในวรรณคดีหมายความว่า งาม, ใช้แผลงเป็น ดํากล ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺกล่ เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก. | ถกล [ถะกน] ก. ก่อสร้าง, ตั้ง, ตั้งขึ้น, ตั้งไว้; ในวรรณคดีหมายความว่า งาม, ใช้แผลงเป็น ดํากล ก็มี. (ข. ถฺกล่). |
ถงัน เขียนว่า ถอ-ถุง-งอ-งู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [ถะหฺงัน] เป็นคำกริยา หมายถึง เผ่นไป. | ถงัน [ถะหฺงัน] ก. เผ่นไป. |
ถงาด เขียนว่า ถอ-ถุง-งอ-งู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | [ถะหฺงาด] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําท่าเผ่น, เยื้องท่า, ชะโงก, เงื้อม, ผ่านไป. | ถงาด [ถะหฺงาด] ก. ทําท่าเผ่น, เยื้องท่า, ชะโงก, เงื้อม, ผ่านไป. |
ถด เขียนว่า ถอ-ถุง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กระถด, เลื่อนไปเล็กน้อย. | ถด ก. กระถด, เลื่อนไปเล็กน้อย. |
ถดถอย, ทดถอย ถดถอย เขียนว่า ถอ-ถุง-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ทดถอย เขียนว่า ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ย่อท้อ, ลดน้อยลง เช่น เรี่ยวแรงถดถอย; กระเถิบถอย, ถอยถด หรือ ถอยทด ก็ใช้. | ถดถอย, ทดถอย ก. ย่อท้อ, ลดน้อยลง เช่น เรี่ยวแรงถดถอย; กระเถิบถอย, ถอยถด หรือ ถอยทด ก็ใช้. |
ถนะ เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ถัน, เต้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถนะ (แบบ; กลอน) น. ถัน, เต้านม. (ป.). |
ถนน เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-นอ-หนู | [ถะหฺนน] เป็นคำนาม หมายถึง หนทางที่ทําขึ้น, ลักษณนามว่า สาย, สนน ก็ว่า, โบราณเขียนเป็น ถนล. ในวงเล็บ มาจาก ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง หนังสือประชุมศิลาจารึก ภาคที่ ๑ ฉบับโรงพิมพ์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๒๑; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ทางเดินรถ ทางเท้า ขอบทาง ไหล่ทาง ทางข้าม ตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก ตรอก ซอย สะพาน หรือ ถนนส่วนบุคคล ซึ่งเจ้าของยินยอมให้ประชาชนใช้เป็นทางสัญจรได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺนล่ เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-นอ-หนู-ลอ-ลิง-ไม้-เอก. | ถนน [ถะหฺนน] น. หนทางที่ทําขึ้น, ลักษณนามว่า สาย, สนน ก็ว่า, โบราณเขียนเป็น ถนล. (จารึกวัดป่ามะม่วง); (กฎ) ทางเดินรถ ทางเท้า ขอบทาง ไหล่ทาง ทางข้าม ตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก ตรอก ซอย สะพาน หรือ ถนนส่วนบุคคล ซึ่งเจ้าของยินยอมให้ประชาชนใช้เป็นทางสัญจรได้. (ข. ถฺนล่). |
ถนนลาดยาง เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ถนนที่ปูผิวจราจรด้วยยางมะตอยผสมกับหินหรือทรายเป็นต้น. | ถนนลาดยาง น. ถนนที่ปูผิวจราจรด้วยยางมะตอยผสมกับหินหรือทรายเป็นต้น. |
ถนป เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ปอ-ปลา | [ถะหฺนบ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เด็ก, เด็กกินนม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถนป [ถะหฺนบ] (แบบ; กลอน) น. เด็ก, เด็กกินนม. (ป.). |
ถนอม เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | [ถะหฺนอม] เป็นคำกริยา หมายถึง คอยระวังประคับประคองไว้ให้ดี เช่น ถนอมนํ้าใจ, ใช้อย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เสียหรือหมดเร็ว เช่น ถนอมของกินของใช้ ถนอมแรง, เก็บไว้อย่างดี เช่น ถนอมเอาไว้ก่อน, สนอม ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺนม เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-นอ-หนู-มอ-ม้า. | ถนอม [ถะหฺนอม] ก. คอยระวังประคับประคองไว้ให้ดี เช่น ถนอมนํ้าใจ, ใช้อย่างระมัดระวังเพื่อไม่ให้เสียหรือหมดเร็ว เช่น ถนอมของกินของใช้ ถนอมแรง, เก็บไว้อย่างดี เช่น ถนอมเอาไว้ก่อน, สนอม ก็ว่า. (ข. ถฺนม). |
ถนอมอาหาร เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง เก็บผัก ผลไม้ หรือเนื้อสัตว์ไว้ให้อยู่ได้นาน ๆ ด้วยกรรมวิธีบางอย่างเพื่อกันเสียหรือเสื่อมคุณภาพ. | ถนอมอาหาร ก. เก็บผัก ผลไม้ หรือเนื้อสัตว์ไว้ให้อยู่ได้นาน ๆ ด้วยกรรมวิธีบางอย่างเพื่อกันเสียหรือเสื่อมคุณภาพ. |
ถนัด เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | [ถะหฺนัด] เป็นคำกริยา หมายถึง สันทัด, ชํานาญ, เช่น ถนัดแต่งกลอน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะดวก เช่น เดินไม่ถนัด; ชัด, แม่นยํา, เช่น เห็นไม่ถนัด; เช่น, ราวกับ, เช่น ถนัดดั่งภูผาหลวง ทุ่มแท้. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์, สนัด ก็ว่า. | ถนัด [ถะหฺนัด] ก. สันทัด, ชํานาญ, เช่น ถนัดแต่งกลอน. ว. สะดวก เช่น เดินไม่ถนัด; ชัด, แม่นยํา, เช่น เห็นไม่ถนัด; เช่น, ราวกับ, เช่น ถนัดดั่งภูผาหลวง ทุ่มแท้. (ตะเลงพ่าย), สนัด ก็ว่า. |
ถนัดขวา เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําได้คล่องแคล่วด้วยมือขวา. | ถนัดขวา ว. ที่ทําได้คล่องแคล่วด้วยมือขวา. |
ถนัดใจ เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะดวกใจ, สะใจ; เต็มที่ เช่น โดนเข้าถนัดใจ, สนัดใจ ก็ว่า. | ถนัดใจ ว. สะดวกใจ, สะใจ; เต็มที่ เช่น โดนเข้าถนัดใจ, สนัดใจ ก็ว่า. |
ถนัดซ้าย เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ซอ-โซ่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ทําได้คล่องแคล่วด้วยมือซ้าย. | ถนัดซ้าย ว. ที่ทําได้คล่องแคล่วด้วยมือซ้าย. |
ถนัดถนี่ เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถนัดชัดเจน เช่น เห็นถนัดถนี่. | ถนัดถนี่ (ปาก) ว. ถนัดชัดเจน เช่น เห็นถนัดถนี่. |
ถนัดปาก เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะดวกปาก, โดยไม่กระดากปาก, (ใช้แก่กริยาพูด). | ถนัดปาก ว. สะดวกปาก, โดยไม่กระดากปาก, (ใช้แก่กริยาพูด). |
ถนัดมือ เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พอเหมาะมือ. | ถนัดมือ ว. พอเหมาะมือ. |
ถนัน เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [ถะหฺนัน] เป็นคำนาม หมายถึง ดินชนิดหนึ่งเชื่อว่าเป็นยารักษาโรค และเป็นยาอายุวัฒนะ เช่น ต่อได้กินดินถนันเมื่อวันไร. ในวงเล็บ มาจาก พระอภัยมณีคำกลอน ของ สุนทรภู่ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗. | ถนัน [ถะหฺนัน] น. ดินชนิดหนึ่งเชื่อว่าเป็นยารักษาโรค และเป็นยาอายุวัฒนะ เช่น ต่อได้กินดินถนันเมื่อวันไร. (อภัย). |
ถนำ เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ | [ถะหฺนํา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดินชนิดหนึ่ง สีเหลืองอ่อน ใช้ทํายาไทย, ยา. | ถนำ [ถะหฺนํา] น. ชื่อดินชนิดหนึ่ง สีเหลืองอ่อน ใช้ทํายาไทย, ยา. |
ถนำทึก เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้ายา. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ถฺนํา เขียนว่า ถอ-ถุง-พิน-ทุ-นอ-หนู-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา ว่า ยา . | ถนำทึก น. นํ้ายา. (ข. ถฺนํา ว่า ยา). |
ถนิม เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า | [ถะหฺนิม] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับ เช่น ถนิมพิมพาภรณ์, ในโลกนี้ถนิมเจ้า เอกแท้นางเดียว. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตนิทราชาคริต พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, ธารถนิมทองถ่องเถือก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์, ใช้ว่า สนิม ก็มี เช่น สร้อยสนิมพิมพาภรณ์. | ถนิม [ถะหฺนิม] น. เครื่องประดับ เช่น ถนิมพิมพาภรณ์, ในโลกนี้ถนิมเจ้า เอกแท้นางเดียว. (นิทราชาคริต), ธารถนิมทองถ่องเถือก. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), ใช้ว่า สนิม ก็มี เช่น สร้อยสนิมพิมพาภรณ์. |
ถนิมกาม เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง น่ารัก เช่น นางนงถ่าวถนิมกาม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร. | ถนิมกาม ว. น่ารัก เช่น นางนงถ่าวถนิมกาม. (ม. คำหลวง ทศพร). |
ถนิมพิมพาภรณ์ เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับร่างกาย. | ถนิมพิมพาภรณ์ น. เครื่องประดับร่างกาย. |
ถนิมสร้อย เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | [ถะหฺนิมส้อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนักไม่เอาเบาไม่สู้, ทำเป็นเหยาะแหยะ, ทำเป็นอ่อนแอ, (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น โดนว่านิดหน่อยก็ร้องไห้ ทำเป็นแม่ถนิมสร้อยไปได้, สนิมสร้อย ก็ว่า. | ถนิมสร้อย [ถะหฺนิมส้อย] ว. หนักไม่เอาเบาไม่สู้, ทำเป็นเหยาะแหยะ, ทำเป็นอ่อนแอ, (ใช้เป็นคำตำหนิ) เช่น โดนว่านิดหน่อยก็ร้องไห้ ทำเป็นแม่ถนิมสร้อยไปได้, สนิมสร้อย ก็ว่า. |
ถบ เขียนว่า ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเป็ดกายสิทธิ์ว่า เป็ดถบ. | ถบ น. เรียกเป็ดกายสิทธิ์ว่า เป็ดถบ. |
ถบดี เขียนว่า ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [ถะบอดี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช่างไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ถปติ เขียนว่า ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาสันสกฤต สฺถปติ เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | ถบดี [ถะบอดี] (แบบ) น. ช่างไม้. (ป. ถปติ; ส. สฺถปติ). |
ถม เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกภาชนะหรือเครื่องประดับที่ทําโดยใช้ผงยาถมผสมนํ้าประสานทองถมลงบนลวดลายที่แกะสลักบนภาชนะหรือเครื่องประดับนั้น แล้วขัดผิวให้เป็นเงางาม ว่า เครื่องถม หรือ ถม เช่น ถมนคร ถมทอง ถมเงิน. เป็นคำกริยา หมายถึง ลงคาถา, ลงเลขยันต์; ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถมดำ ถมยา หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. | ถม ๑ น. เรียกภาชนะหรือเครื่องประดับที่ทําโดยใช้ผงยาถมผสมนํ้าประสานทองถมลงบนลวดลายที่แกะสลักบนภาชนะหรือเครื่องประดับนั้น แล้วขัดผิวให้เป็นเงางาม ว่า เครื่องถม หรือ ถม เช่น ถมนคร ถมทอง ถมเงิน. ก. ลงคาถา, ลงเลขยันต์; ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถมดำ ถมยา หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. |
ถมเงิน เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องถมที่ทําด้วยเงิน. | ถมเงิน น. เครื่องถมที่ทําด้วยเงิน. |
ถมดำ เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมยา หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. | ถมดำ ก. ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมยา หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. |
ถมตะทอง เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องถมที่ทําโดยวิธีเปียกทองทาทับลงบนเส้นเงิน. | ถมตะทอง น. เครื่องถมที่ทําโดยวิธีเปียกทองทาทับลงบนเส้นเงิน. |
ถมทอง เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องถมที่ทําด้วยทองคํา. | ถมทอง น. เครื่องถมที่ทําด้วยทองคํา. |
ถมปรักมาศ เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา | [ปฺรักมาด] เป็นคำนาม หมายถึง ถมเงินและทอง. | ถมปรักมาศ [ปฺรักมาด] น. ถมเงินและทอง. |
ถมปัด เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะทองแดงที่เคลือบนํ้ายาประสมด้วยลูกปัดป่นให้เป็นผงให้เป็นสีและลวดลายต่าง ๆ. | ถมปัด น. ภาชนะทองแดงที่เคลือบนํ้ายาประสมด้วยลูกปัดป่นให้เป็นผงให้เป็นสีและลวดลายต่าง ๆ. |
ถมยา เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมดำ หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. | ถมยา ก. ใช้สารเคมีใส่ลงในพื้นที่เป็นร่องระหว่างลวดลายในเครื่องเงิน แล้วใช้ความร้อนอบให้น้ำยาติดและให้พื้นเป็นสีดำ, ถม ถมดำ หรือ ลงถม ก็ว่า, เรียกเต็มว่า ถมยาดำ. |
ถม เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาดินหรือสิ่งอื่น ๆ ใส่ลงไปในที่ที่เป็นหลุมเป็นบ่อ หรือเป็นแอ่งเพื่อให้เต็ม, กองสุม ๆ ไว้ไม่เป็นระเบียบ. | ถม ๒ ก. เอาดินหรือสิ่งอื่น ๆ ใส่ลงไปในที่ที่เป็นหลุมเป็นบ่อ หรือเป็นแอ่งเพื่อให้เต็ม, กองสุม ๆ ไว้ไม่เป็นระเบียบ. |
ถมถืด, ถมเถ, ถมไป ถมถืด เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก ถมเถ เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง ถมไป เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากมายก่ายกอง. | ถมถืด, ถมเถ, ถมไป ว. มากมายก่ายกอง. |
ถ่ม เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้นํ้าลายหรือสิ่งอื่น ๆ ออกจากปากโดยแรง. | ถ่ม ก. ทําให้นํ้าลายหรือสิ่งอื่น ๆ ออกจากปากโดยแรง. |
ถ่มน้ำลายรดฟ้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ประทุษร้ายต่อสิ่งที่สูงกว่าตน ตัวเองย่อมได้รับผลร้าย. | ถ่มน้ำลายรดฟ้า (สำ) ก. ประทุษร้ายต่อสิ่งที่สูงกว่าตน ตัวเองย่อมได้รับผลร้าย. |
ถ่มร้าย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-มอ-ม้า-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง รอยบุ๋มที่ตะโพกทั้ง ๒ ข้าง ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสําหรับหญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ สีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, มักใช้เข้าคู่กับคำ ยักหล่ม เป็น ยักหล่มถ่มร้าย. | ถ่มร้าย น. รอยบุ๋มที่ตะโพกทั้ง ๒ ข้าง ถือว่าเป็นลักษณะไม่ดีสําหรับหญิง ๑ ใน ๓ อย่าง คือ สีจัก ยักหล่ม ถ่มร้าย, มักใช้เข้าคู่กับคำ ยักหล่ม เป็น ยักหล่มถ่มร้าย. |
ถมอ เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-ออ-อ่าง | [ถะหฺมอ, ถะมอ] เป็นคำนาม หมายถึง หิน เช่น ดาดดําถมอทะมื่น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์จุลพน. | ถมอ [ถะหฺมอ, ถะมอ] น. หิน เช่น ดาดดําถมอทะมื่น. (ม. คำหลวง จุลพน). |
ถมึงทึง เขียนว่า ถอ-ถุง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | [ถะหฺมึง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะหน้าตาที่บูดบึ้งไม่ยิ้มแย้ม, หน้าตาน่ากลัว, ขมึงทึง ก็ว่า. | ถมึงทึง [ถะหฺมึง] ว. ลักษณะหน้าตาที่บูดบึ้งไม่ยิ้มแย้ม, หน้าตาน่ากลัว, ขมึงทึง ก็ว่า. |
ถเมิน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [ถะเมิน] เป็นคำนาม หมายถึง พวก, ทหาร, เหล่า, พรานป่า. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาเขมร เถมิร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ ว่า ผู้เดิน . | ถเมิน [ถะเมิน] น. พวก, ทหาร, เหล่า, พรานป่า. (เทียบ ข. เถมิร ว่า ผู้เดิน). |
ถเมินเชิง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง พลเดินเท้า. | ถเมินเชิง น. พลเดินเท้า. |
ถเมินไพร เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง พรานป่า. | ถเมินไพร น. พรานป่า. |
ถล, ถละ ถล เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง ถละ เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [ถน, ถะละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ที่บก, ที่ดอน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถล, ถละ [ถน, ถะละ] (แบบ) น. ที่บก, ที่ดอน. (ป.). |
ถลก เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | [ถะหฺลก] เป็นคำกริยา หมายถึง ดึงรั้งให้สูงขึ้นอย่างถลกผ้านุ่งถลกแขนเสื้อ, ดึงให้หลุดลอกออกมาอย่างถลกหนังหัว; จั่วไพ่ที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง, ถ้าจั่วไพ่ขึ้นมาเข้าเศียรที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง เรียกว่า ถลกเศียร, ถก ก็ว่า. | ถลก [ถะหฺลก] ก. ดึงรั้งให้สูงขึ้นอย่างถลกผ้านุ่งถลกแขนเสื้อ, ดึงให้หลุดลอกออกมาอย่างถลกหนังหัว; จั่วไพ่ที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง, ถ้าจั่วไพ่ขึ้นมาเข้าเศียรที่กําลังรอกินด้วยตัวเอง เรียกว่า ถลกเศียร, ถก ก็ว่า. |
ถลกบาตร เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๑ | [ถะหฺลกบาด] เป็นคำนาม หมายถึง ถุงบาตรที่มีสายคล้องบ่า (สายโยก), ตลกบาตร ก็ว่า. | ถลกบาตร ๑ [ถะหฺลกบาด] น. ถุงบาตรที่มีสายคล้องบ่า (สายโยก), ตลกบาตร ก็ว่า. |
ถลกบาตร เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ ความหมายที่ ๒ | [ถะหฺลกบาด]ดู กะทกรก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ (๒). | ถลกบาตร ๒ [ถะหฺลกบาด] ดู กะทกรก (๒). |
ถลน เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-นอ-หนู | [ถะหฺลน] เป็นคำกริยา หมายถึง ทะเล้นออก, ปลิ้นออก, (ใช้แก่ตา). | ถลน [ถะหฺลน] ก. ทะเล้นออก, ปลิ้นออก, (ใช้แก่ตา). |
ถลม เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-มอ-ม้า | [ถะหฺลม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เป็นบ่อ. ในวงเล็บ มาจาก อักขราภิธานศรับท์ ของ หมอปรัดเล. | ถลม [ถะหฺลม] ว. เป็นบ่อ. (ปรัดเล). |
ถล่ม เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-มอ-ม้า | [ถะหฺล่ม] เป็นคำกริยา หมายถึง ยุบหรือทําให้ยุบทลายลง เช่น แผ่นดินถล่ม, ทําให้พังทลายหรือล่มจม เช่น ถล่มด้วยปืนใหญ่. | ถล่ม [ถะหฺล่ม] ก. ยุบหรือทําให้ยุบทลายลง เช่น แผ่นดินถล่ม, ทําให้พังทลายหรือล่มจม เช่น ถล่มด้วยปืนใหญ่. |
ถลอก เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | [ถะหฺลอก] เป็นคำกริยา หมายถึง ลอกออกไป, ปอกออกไป, เปิดออกไป, (มักใช้แก่สิ่งที่มีผิว) เช่น หนังถลอก สีถลอก. | ถลอก [ถะหฺลอก] ก. ลอกออกไป, ปอกออกไป, เปิดออกไป, (มักใช้แก่สิ่งที่มีผิว) เช่น หนังถลอก สีถลอก. |
ถลัน เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [ถะหฺลัน] เป็นคำกริยา หมายถึง พรวดพราดเข้าไปหรือออกมาโดยไม่รั้งรอ. | ถลัน [ถะหฺลัน] ก. พรวดพราดเข้าไปหรือออกมาโดยไม่รั้งรอ. |
ถลา เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [ถะหฺลา] เป็นคำกริยา หมายถึง โผผวา เช่น นกถลาลง เด็กวิ่งถลาเข้าหา, เสียหลักซวนไป เช่น เครื่องบินถลาลง. | ถลา [ถะหฺลา] ก. โผผวา เช่น นกถลาลง เด็กวิ่งถลาเข้าหา, เสียหลักซวนไป เช่น เครื่องบินถลาลง. |
ถลาก เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | [ถะหฺลาก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถากไปถูกเพียงผิว ๆ เช่น ฟันถลากไป ยิงถลากไป. | ถลาก [ถะหฺลาก] ว. ถากไปถูกเพียงผิว ๆ เช่น ฟันถลากไป ยิงถลากไป. |
ถลากถลำ เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลําถลาก ก็ว่า. | ถลากถลำ ว. พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลําถลาก ก็ว่า. |
ถลากไถล เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตรงไปตรงมา, ไม่อยู่กับร่องกับรอย, (ใช้แก่กริยาพูด). | ถลากไถล ว. ไม่ตรงไปตรงมา, ไม่อยู่กับร่องกับรอย, (ใช้แก่กริยาพูด). |
ถลาย เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [ถะหฺลาย] เป็นคำกริยา หมายถึง แตก, มีคําที่ใช้คล้ายกันอีก คือ ฉลาย สลาย. | ถลาย [ถะหฺลาย] ก. แตก, มีคําที่ใช้คล้ายกันอีก คือ ฉลาย สลาย. |
ถลำ เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ | [ถะหฺลํา] เป็นคำกริยา หมายถึง ลํ้าล่วง เช่น ถลําเข้าไป, พลั้งพลาดตกลงไป เช่น ถลําลงคู. | ถลำ [ถะหฺลํา] ก. ลํ้าล่วง เช่น ถลําเข้าไป, พลั้งพลาดตกลงไป เช่น ถลําลงคู. |
ถลำใจ เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ปล่อยใจให้ตกอยู่ในข้อผูกพัน. | ถลำใจ ก. ปล่อยใจให้ตกอยู่ในข้อผูกพัน. |
ถลำตัว เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง หลวมตัว. | ถลำตัว ก. หลวมตัว. |
ถลำถลาก เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลากถลํา ก็ว่า. | ถลำถลาก ว. พลั้ง ๆ พลาด ๆ (ใช้แก่กริยาพูด), ถลากถลํา ก็ว่า. |
ถลีถลำ เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ | [ถะหฺลีถะหฺลํา] เป็นคำกริยา หมายถึง เถลือกถลน. | ถลีถลำ [ถะหฺลีถะหฺลํา] ก. เถลือกถลน. |
ถลึงตา เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | [ถะหฺลึง] เป็นคำกริยา หมายถึง ขึงตา. | ถลึงตา [ถะหฺลึง] ก. ขึงตา. |
ถลุง เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู | [ถะหฺลุง] เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ความร้อนสุมสินแร่เพื่อไล่ขี้แร่ออกเอาไว้แต่เนื้อโลหะ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายใช้ในความหมายต่าง ๆ กันแล้วแต่ข้อความแวดล้อม เช่น ถลุงเงินเสียเรียบ หมายถึง ผลาญเงิน นักมวยถูกถลุงเสียยํ่าแย่ หมายถึง ถูกเตะต่อยเสียยํ่าแย่ เอารถยนต์ไปถลุงเสียยับเยิน หมายถึง เอาไปใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย. | ถลุง [ถะหฺลุง] ก. ใช้ความร้อนสุมสินแร่เพื่อไล่ขี้แร่ออกเอาไว้แต่เนื้อโลหะ; (ปาก) โดยปริยายใช้ในความหมายต่าง ๆ กันแล้วแต่ข้อความแวดล้อม เช่น ถลุงเงินเสียเรียบ หมายถึง ผลาญเงิน นักมวยถูกถลุงเสียยํ่าแย่ หมายถึง ถูกเตะต่อยเสียยํ่าแย่ เอารถยนต์ไปถลุงเสียยับเยิน หมายถึง เอาไปใช้อย่างไม่ปรานีปราศรัย. |
ถลุน เขียนว่า ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | [ถะหฺลุน] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาปอหรือป่านมาบิดให้เป็นเส้นเขม็งเพื่อฟั่นเข้าเป็นเกลียวเส้นเชือกใหญ่. | ถลุน [ถะหฺลุน] ก. เอาปอหรือป่านมาบิดให้เป็นเส้นเขม็งเพื่อฟั่นเข้าเป็นเกลียวเส้นเชือกใหญ่. |
ถ่วง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หนัก เช่น ถ่วงนํ้าหนัก, ทําให้ช้า เช่น ถ่วงเวลา ถ่วงความเจริญ, ทําให้จม เช่น ถ่วงนํ้า. | ถ่วง ก. ทําให้หนัก เช่น ถ่วงนํ้าหนัก, ทําให้ช้า เช่น ถ่วงเวลา ถ่วงความเจริญ, ทําให้จม เช่น ถ่วงนํ้า. |
ถ่วงดุล เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้หนักเท่ากัน เช่น ถ่วงดุลแห่งอํานาจ. | ถ่วงดุล ก. ทําให้หนักเท่ากัน เช่น ถ่วงดุลแห่งอํานาจ. |
ถ่วงล้อ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้จุดศูนย์ถ่วงของล้อเท่ากัน. | ถ่วงล้อ ก. ทําให้จุดศูนย์ถ่วงของล้อเท่ากัน. |
ถ้วน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครบ, เต็มจํานวนที่กําหนดไว้; ไม่มีเศษ เช่น ร้อยบาทถ้วน. | ถ้วน ว. ครบ, เต็มจํานวนที่กําหนดไว้; ไม่มีเศษ เช่น ร้อยบาทถ้วน. |
ถ้วนถี่ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ละเอียดลออ, รอบคอบ, โดยปริยายหมายความว่า เหนียวแน่น, ถี่ถ้วน ก็ว่า. | ถ้วนถี่ ว. ละเอียดลออ, รอบคอบ, โดยปริยายหมายความว่า เหนียวแน่น, ถี่ถ้วน ก็ว่า. |
ถ้วย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะก้นลึก มีรูปต่าง ๆ สําหรับใส่นํ้าหรือของบริโภคเป็นต้น เช่น ถ้วยนํ้าร้อน ถ้วยนํ้าพริก ถ้วยตะไล โดยมากเป็นเครื่องเคลือบดินเผา ที่ทําด้วยแก้วหรือสิ่งอื่น ๆ ก็มี; ลักษณนามเรียกถ้วยที่ไม่มีอะไรบรรจุว่า ใบ เช่น ถ้วยใบหนึ่ง ถ้วย ๒ ใบ, เรียกถ้วยที่มีสิ่งของบรรจุว่า ถ้วย เช่น แกงถ้วยหนึ่ง แกง ๒ ถ้วย; เรียกสิ่งที่เป็นเครื่องเคลือบดินเผา เช่น กระเบื้องถ้วย ช้อนถ้วย; เรียกสิ่งของหรือสัตว์ที่มีรูปอย่างถ้วย เช่น มะเขือถ้วย แมงดาถ้วย. | ถ้วย ๑ น. ภาชนะก้นลึก มีรูปต่าง ๆ สําหรับใส่นํ้าหรือของบริโภคเป็นต้น เช่น ถ้วยนํ้าร้อน ถ้วยนํ้าพริก ถ้วยตะไล โดยมากเป็นเครื่องเคลือบดินเผา ที่ทําด้วยแก้วหรือสิ่งอื่น ๆ ก็มี; ลักษณนามเรียกถ้วยที่ไม่มีอะไรบรรจุว่า ใบ เช่น ถ้วยใบหนึ่ง ถ้วย ๒ ใบ, เรียกถ้วยที่มีสิ่งของบรรจุว่า ถ้วย เช่น แกงถ้วยหนึ่ง แกง ๒ ถ้วย; เรียกสิ่งที่เป็นเครื่องเคลือบดินเผา เช่น กระเบื้องถ้วย ช้อนถ้วย; เรียกสิ่งของหรือสัตว์ที่มีรูปอย่างถ้วย เช่น มะเขือถ้วย แมงดาถ้วย. |
ถ้วยตวง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้วยสําหรับตวงสิ่งของ มีขนาดต่าง ๆ บอกปริมาตรในตัวหรือมีขีดบอกปริมาตร. | ถ้วยตวง น. ถ้วยสําหรับตวงสิ่งของ มีขนาดต่าง ๆ บอกปริมาตรในตัวหรือมีขีดบอกปริมาตร. |
ถ้วยรางวัล เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ทําด้วยโลหะมีรูปร่างคล้ายถ้วย มีเชิง สําหรับให้เป็นรางวัลในการแข่งขันกีฬาเป็นต้น. | ถ้วยรางวัล น. สิ่งที่ทําด้วยโลหะมีรูปร่างคล้ายถ้วย มีเชิง สําหรับให้เป็นรางวัลในการแข่งขันกีฬาเป็นต้น. |
ถ้วย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ นํ้าตาลปีบ เป็นต้น ใส่ถ้วยนึ่ง. | ถ้วย ๒ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ นํ้าตาลปีบ เป็นต้น ใส่ถ้วยนึ่ง. |
ถ้วยตะไล เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลปีบ เป็นต้น ใส่ถ้วยตะไลนึ่ง. | ถ้วยตะไล น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลปีบ เป็นต้น ใส่ถ้วยตะไลนึ่ง. |
ถ้วยฟู เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลทราย ผสมด้วยผงฟู นวดให้เข้ากันแล้วทิ้งไว้จนแป้งขึ้นดี ใส่ถ้วยเล็ก ๆ นึ่ง. | ถ้วยฟู น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเจ้า กะทิ น้ำตาลทราย ผสมด้วยผงฟู นวดให้เข้ากันแล้วทิ้งไว้จนแป้งขึ้นดี ใส่ถ้วยเล็ก ๆ นึ่ง. |
ถ้วยโถง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง จัดกระบวนกลางแปลง, ทวยโถง หรือ ท่วยโถง ก็ใช้. | ถ้วยโถง (โบ; กลอน) ก. จัดกระบวนกลางแปลง, ทวยโถง หรือ ท่วยโถง ก็ใช้. |
ถวัด เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | [ถะหฺวัด] เป็นคำกริยา หมายถึง ตวัด เช่น หมีแรดถวัดแสนงขนาย. ในวงเล็บ มาจาก ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไว, คล่อง, เช่น ลางหมู่เอาดินก็ได้ถวัด. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช. | ถวัด [ถะหฺวัด] ก. ตวัด เช่น หมีแรดถวัดแสนงขนาย. (แช่งนํ้า). ว. ไว, คล่อง, เช่น ลางหมู่เอาดินก็ได้ถวัด. (ม. คำหลวง มหาราช). |
ถวัดถวัน เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [ถะหฺวัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว่องไว, คล่องแคล่ว. | ถวัดถวัน [ถะหฺวัน] (กลอน) ว. ว่องไว, คล่องแคล่ว. |
ถวัล เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง | [ถะหฺวัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ้วน, หยาบ, เช่น ถวัลพัสตร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ถูล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต สฺถูล เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง. | ถวัล [ถะหฺวัน] ว. อ้วน, หยาบ, เช่น ถวัลพัสตร์. (ป. ถูล; ส. สฺถูล). |
ถวัลย์ เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [ถะหฺวัน] เป็นคำกริยา หมายถึง ทรง, ครอง; เจริญ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่. | ถวัลย์ [ถะหฺวัน] ก. ทรง, ครอง; เจริญ. ว. ใหญ่. |
ถวาย เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [ถะหฺวาย] เป็นคำกริยา หมายถึง ให้, มอบให้, เช่น ถวายของ (ใช้แก่พระสงฆ์หรือเจ้านาย); ให้ดู, ให้ชม, เช่น รําถวายมือ เล่นถวายตัว, แผลงเป็น ดงวาย หรือ ตังวาย ก็ได้. | ถวาย [ถะหฺวาย] ก. ให้, มอบให้, เช่น ถวายของ (ใช้แก่พระสงฆ์หรือเจ้านาย); ให้ดู, ให้ชม, เช่น รําถวายมือ เล่นถวายตัว, แผลงเป็น ดงวาย หรือ ตังวาย ก็ได้. |
ถวายกร เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไหว้เจ้านาย, รําให้เจ้านายชม. | ถวายกร ก. ไหว้เจ้านาย, รําให้เจ้านายชม. |
ถวายข้าวพระ เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ทำพิธีอย่างหนึ่ง เมื่อนำสำรับไปถวายพระพุทธโดยยกมือประนม กล่าวคำว่า อุกาส สูปพฺยฺชนสมฺปนฺนํ สาลีนํ โภชนํ สอุทกํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ. | ถวายข้าวพระ ก. ทำพิธีอย่างหนึ่ง เมื่อนำสำรับไปถวายพระพุทธโดยยกมือประนม กล่าวคำว่า อุกาส สูปพฺยฺชนสมฺปนฺนํ สาลีนํ โภชนํ สอุทกํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ. |
ถวายตัว เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง มอบตัวแก่เจ้านาย. | ถวายตัว ก. มอบตัวแก่เจ้านาย. |
ถวายเนตร เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืนพระหัตถ์ขวาประกบพระหัตถ์ซ้ายอยู่หน้าพระเพลา ลืมพระเนตรทั้ง ๒ ดูมหาโพธิพฤกษ์ อยู่ในพระอาการสํารวม. | ถวายเนตร น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืนพระหัตถ์ขวาประกบพระหัตถ์ซ้ายอยู่หน้าพระเพลา ลืมพระเนตรทั้ง ๒ ดูมหาโพธิพฤกษ์ อยู่ในพระอาการสํารวม. |
ถวายพระพร เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-รอ-เรือ | คําเริ่มที่พระสงฆ์พูดกับเจ้านายและเป็นคํารับ. | ถวายพระพร คําเริ่มที่พระสงฆ์พูดกับเจ้านายและเป็นคํารับ. |
ถวายหัว เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ยอมเสี่ยงชีวิตเพื่อชาติ, เอาชีวิตเป็นประกัน, ทําจนสุดความสามารถ, ยอมสู้ตาย. | ถวายหัว (สำ) ก. ยอมเสี่ยงชีวิตเพื่อชาติ, เอาชีวิตเป็นประกัน, ทําจนสุดความสามารถ, ยอมสู้ตาย. |
ถวิน เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | [ถะหฺวิน] เป็นคำนาม หมายถึง ห่วงร้อยสายรัดประคด เรียกว่า ลูกถวิน, กระวิน ก็ว่า. | ถวิน [ถะหฺวิน] น. ห่วงร้อยสายรัดประคด เรียกว่า ลูกถวิน, กระวิน ก็ว่า. |
ถวิล เขียนว่า ถอ-ถุง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง | [ถะหฺวิน] เป็นคำกริยา หมายถึง คิด, คิดถึง. | ถวิล [ถะหฺวิน] ก. คิด, คิดถึง. |
ถ่อ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้สําหรับยันแล้วดันให้เรือเดิน มักเป็นไม้ไผ่. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เรือเดินด้วยใช้ไม้นั้นยันแล้วดันไป, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง โดยปริยายหมายความว่า ไปหรือมาด้วยความลําบาก เช่น ถ่อกายมาถึงนี่. | ถ่อ ๑ น. ไม้สําหรับยันแล้วดันให้เรือเดิน มักเป็นไม้ไผ่. ก. ทําให้เรือเดินด้วยใช้ไม้นั้นยันแล้วดันไป, (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ไปหรือมาด้วยความลําบาก เช่น ถ่อกายมาถึงนี่. |
ถ่อ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง โดยลูกค้าแทงประตูตรงข้ามกันได้ ๒ ประตู คือ หน่วย กับ ๓ หรือ ๒ กับ ครบโปออกประตูใดประตูหนึ่งที่ลูกค้าแทง เจ้ามือจ่าย ๑ ต่อ ถ้าออกประตูอื่น เจ้ามือกิน. | ถ่อ ๒ น. วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง โดยลูกค้าแทงประตูตรงข้ามกันได้ ๒ ประตู คือ หน่วย กับ ๓ หรือ ๒ กับ ครบโปออกประตูใดประตูหนึ่งที่ลูกค้าแทง เจ้ามือจ่าย ๑ ต่อ ถ้าออกประตูอื่น เจ้ามือกิน. |
ถ้อ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง โต้ตอบ เช่น ร้องเพลงถ้อกันไปมา. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา, ใช้ ท่อ ก็มี. | ถ้อ ก. โต้ตอบ เช่น ร้องเพลงถ้อกันไปมา. (พงศ. เลขา), ใช้ ท่อ ก็มี. |
ถ้อถ้อย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง คําโต้. เป็นคำกริยา หมายถึง กล่าวโต้, กล่าวประชัน, บางแห่งใช้ ท่อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี. | ถ้อถ้อย (กลอน) น. คําโต้. ก. กล่าวโต้, กล่าวประชัน, บางแห่งใช้ ท่อถ้อย หรือ ท้อถ้อย ก็มี. |
ถอก เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง รั้น, ร่นเข้าไป. | ถอก ๑ ก. รั้น, ร่นเข้าไป. |
ถอก เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำกริยา หมายถึง เทออก. | ถอก ๒ (ถิ่น) ก. เทออก. |
ถอง เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กระทุ้งด้วยศอก. | ถอง ก. กระทุ้งด้วยศอก. |
ถ่อง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, อร่าม, แจ่มใส, รุ่งเรือง; ชัด, แน่, แท้, เที่ยง, จะแจ้ง, เช่น เร่งหาผู้รู้รอบ ทุกการ เฉลียวฉลาดโวหาร ถ่องถ้อย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | ถ่อง (โบ) ว. งาม, อร่าม, แจ่มใส, รุ่งเรือง; ชัด, แน่, แท้, เที่ยง, จะแจ้ง, เช่น เร่งหาผู้รู้รอบ ทุกการ เฉลียวฉลาดโวหาร ถ่องถ้อย. (ลอ). |
ถ่องแถว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง แนวอันจะจะกันเป็นระเบียบ. | ถ่องแถว น. แนวอันจะจะกันเป็นระเบียบ. |
ถ่องแท้ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชัดเจนแจ่มแจ้ง, ถูกแน่, แน่นอน. | ถ่องแท้ ว. ชัดเจนแจ่มแจ้ง, ถูกแน่, แน่นอน. |
ถ้อง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ทาง เช่น พฤกษาในเถื่อนถ้อง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน. | ถ้อง (กลอน) น. ทาง เช่น พฤกษาในเถื่อนถ้อง. (ม. คำหลวง มหาพน). |
ถอด เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาออก เช่น ถอดเสื้อ ถอดรองเท้า ถอดยศ; ถ่าย เช่น ถอดแบบมาจากพ่อจากแม่; หลุดออก เช่น เล็บถอด. | ถอด ก. เอาออก เช่น ถอดเสื้อ ถอดรองเท้า ถอดยศ; ถ่าย เช่น ถอดแบบมาจากพ่อจากแม่; หลุดออก เช่น เล็บถอด. |
ถอดเขี้ยวถอดเล็บ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ละพยศ, ละความดุหรือร้ายกาจ, เลิกแสดงฤทธิ์แสดงอํานาจอีกต่อไป. | ถอดเขี้ยวถอดเล็บ (สำ) ก. ละพยศ, ละความดุหรือร้ายกาจ, เลิกแสดงฤทธิ์แสดงอํานาจอีกต่อไป. |
ถอดความ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง แปลให้เข้าใจความได้ง่ายขึ้น. | ถอดความ ก. แปลให้เข้าใจความได้ง่ายขึ้น. |
ถอดถอน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ถอดออกจากตําแหน่ง. | ถอดถอน ก. ถอดออกจากตําแหน่ง. |
ถอดไพ่ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-พอ-พาน-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง จัดเรียงไพ่ให้เข้าชุดโดยใช้หลักเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง (มักใช้ในการเสี่ยงทาย). | ถอดไพ่ ก. จัดเรียงไพ่ให้เข้าชุดโดยใช้หลักเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง (มักใช้ในการเสี่ยงทาย). |
ถอดรหัส เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถอดสารลับออกเป็นภาษาสามัญ. | ถอดรหัส ก. ถอดสารลับออกเป็นภาษาสามัญ. |
ถอดรูป เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำกริยา หมายถึง เอารูปที่ปกคลุมออกให้เห็นรูปเดิม เช่น เงาะถอดรูป. | ถอดรูป ก. เอารูปที่ปกคลุมออกให้เห็นรูปเดิม เช่น เงาะถอดรูป. |
ถอดสี เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการหวาดหวั่นครั่นคร้ามให้เห็น (มาจากปลากัด ตัวที่แพ้จะถอดสี) เช่น กลัวจนหน้าถอดสี. | ถอดสี ก. แสดงอาการหวาดหวั่นครั่นคร้ามให้เห็น (มาจากปลากัด ตัวที่แพ้จะถอดสี) เช่น กลัวจนหน้าถอดสี. |
ถอดหัวโขน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พ้นจากตําแหน่งหน้าที่หรือยศถาบรรดาศักดิ์. | ถอดหัวโขน ก. พ้นจากตําแหน่งหน้าที่หรือยศถาบรรดาศักดิ์. |
ถอน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ฉุดขึ้น, ดึงขึ้น, เช่น ถอนฟัน ถอนเสา ถอนหญ้า; บอกเลิก เช่น ถอนประกัน ถอนฟ้อง ถอนหมั้น; เอาตัวออกจากพันธะ เช่น ถอนตัว; ค่อนข้าง, เกือบ, เริ่ม, เช่น ถอนฉุน. | ถอน ก. ฉุดขึ้น, ดึงขึ้น, เช่น ถอนฟัน ถอนเสา ถอนหญ้า; บอกเลิก เช่น ถอนประกัน ถอนฟ้อง ถอนหมั้น; เอาตัวออกจากพันธะ เช่น ถอนตัว; ค่อนข้าง, เกือบ, เริ่ม, เช่น ถอนฉุน. |
ถอนคำฟ้อง, ถอนฟ้อง ถอนคำฟ้อง เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ถอนฟ้อง เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นคำร้องหรือคำบอกกล่าวต่อศาลแสดงความประสงค์ว่าจะไม่ดำเนินคดีที่ยื่นฟ้องไว้อีกต่อไป ในคดีแพ่งเรียกว่า ถอนคำฟ้อง ในคดีอาญาเรียกว่า ถอนฟ้อง. | ถอนคำฟ้อง, ถอนฟ้อง (กฎ) ก. ยื่นคำร้องหรือคำบอกกล่าวต่อศาลแสดงความประสงค์ว่าจะไม่ดำเนินคดีที่ยื่นฟ้องไว้อีกต่อไป ในคดีแพ่งเรียกว่า ถอนคำฟ้อง ในคดีอาญาเรียกว่า ถอนฟ้อง. |
ถอนเงิน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง เบิกเงินที่ฝากไว้ในธนาคารออกมา. | ถอนเงิน ก. เบิกเงินที่ฝากไว้ในธนาคารออกมา. |
ถอนใจใหญ่ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง หายใจแรงและยาวในขณะที่รู้สึกกลุ้มอกกลุ้มใจหรือโล่งอกโล่งใจเป็นต้น, โบราณใช้ว่า ถอยใจใหญ่ ก็มี. | ถอนใจใหญ่ ก. หายใจแรงและยาวในขณะที่รู้สึกกลุ้มอกกลุ้มใจหรือโล่งอกโล่งใจเป็นต้น, โบราณใช้ว่า ถอยใจใหญ่ ก็มี. |
ถอนต้นก่นราก, ถอนรากถอนโคน ถอนต้นก่นราก เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ถอนรากถอนโคน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําลายให้ถึงต้นตอ, ทําลายให้สิ้นเสี้ยนหนาม. | ถอนต้นก่นราก, ถอนรากถอนโคน (สำ) ก. ทําลายให้ถึงต้นตอ, ทําลายให้สิ้นเสี้ยนหนาม. |
ถอนทุน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ได้ทุนคืน, ทําอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเอาทุนคืน. | ถอนทุน ก. ได้ทุนคืน, ทําอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเอาทุนคืน. |
ถอนพิษ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-สอ-รือ-สี | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้พิษหมด. | ถอนพิษ ก. ทําให้พิษหมด. |
ถอนยวง เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําลายให้สิ้นซาก. | ถอนยวง ก. ทําลายให้สิ้นซาก. |
ถอนรากถอนโคน เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทำลายให้ถึงต้นตอ, ทำลายให้สิ้นเสี้ยนหนาม, ถอนต้นก่นราก ก็ว่า. | ถอนรากถอนโคน (สำ) ก. ทำลายให้ถึงต้นตอ, ทำลายให้สิ้นเสี้ยนหนาม, ถอนต้นก่นราก ก็ว่า. |
ถอนสมอ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง ตัดมาจากตับเพลงฝรั่งถอนสมอ. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเพลง ของ พระยาพิศาลสารเกษตร ฉบับโรงพิมพ์ยิ้มศรี พ.ศ. ๒๔๘๒. | ถอนสมอ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง ตัดมาจากตับเพลงฝรั่งถอนสมอ. (บัญชีเพลง). |
ถอนสายบัว เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ถวายคํานับแบบผู้หญิง โดยยืนตรงแล้วชักขาข้างใดข้างหนึ่งไปข้างหลังพร้อมกับย่อเข่าและก้มศีรษะเล็กน้อย เป็นการแสดงความเคารพของสตรีต่อเจ้านายชั้นสูง. | ถอนสายบัว ก. ถวายคํานับแบบผู้หญิง โดยยืนตรงแล้วชักขาข้างใดข้างหนึ่งไปข้างหลังพร้อมกับย่อเข่าและก้มศีรษะเล็กน้อย เป็นการแสดงความเคารพของสตรีต่อเจ้านายชั้นสูง. |
ถอนหงอก เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-หอ-หีบ-งอ-งู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่นับถือความเป็นผู้ใหญ่, พูดว่าให้เสียผู้ใหญ่. | ถอนหงอก (สำ) ก. ไม่นับถือความเป็นผู้ใหญ่, พูดว่าให้เสียผู้ใหญ่. |
ถอบ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง เห็ดถอบ. ในวงเล็บ ดู เผาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒. | ถอบ น. เห็ดถอบ. (ดู เผาะ ๒). |
ถอบแถบ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Connarus วงศ์ Connaraceae ฝักพองกลม เมล็ดในแบน ๆ ใช้ทํายาได้. | ถอบแถบ น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดในสกุล Connarus วงศ์ Connaraceae ฝักพองกลม เมล็ดในแบน ๆ ใช้ทํายาได้. |
ถ่อม เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ตํ่าลง. | ถ่อม ก. ทําให้ตํ่าลง. |
ถ่อมตัว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงฐานะหรือความรู้ความสามารถตํ่ากว่าที่เป็นจริง. | ถ่อมตัว ก. แสดงฐานะหรือความรู้ความสามารถตํ่ากว่าที่เป็นจริง. |
ถ่อมไส้ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวรรณกรรม เป็นคำกริยา หมายถึง กินอาหารน้อย ๆ เช่น อาหารถือถ่อมไส้ รัดบรัศไว้ด้วยผ้า. (ม. คำหลวง). | ถ่อมไส้ (วรรณ) ก. กินอาหารน้อย ๆ เช่น อาหารถือถ่อมไส้ รัดบรัศไว้ด้วยผ้า. (ม. คำหลวง). |
ถอย เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนหรือทําให้เคลื่อนไปข้างหลัง เช่น ถอยเรือ ถอยรถ, ขยับออกจากที่, เลื่อนที่, เช่น ถอยรถให้พ้นประตู ถอยหน้าถอยหลัง; ลดลง เช่น พิษถอย กําลังถอย; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ซื้อ (มักใช้กับรถใหม่). | ถอย ก. เคลื่อนหรือทําให้เคลื่อนไปข้างหลัง เช่น ถอยเรือ ถอยรถ, ขยับออกจากที่, เลื่อนที่, เช่น ถอยรถให้พ้นประตู ถอยหน้าถอยหลัง; ลดลง เช่น พิษถอย กําลังถอย; (ปาก) ซื้อ (มักใช้กับรถใหม่). |
ถอยกรูด เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง ถอยอย่างรวดเร็วไม่มีระเบียบ, ถอยอย่างตั้งตัวไม่ติด. | ถอยกรูด ก. ถอยอย่างรวดเร็วไม่มีระเบียบ, ถอยอย่างตั้งตัวไม่ติด. |
ถอยใจใหญ่ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ถอนใจใหญ่, หายใจแรงและยาวในขณะที่รู้สึกกลุ้มอกกลุ้มใจหรือโล่งอกโล่งใจเป็นต้น เช่น ท้าวธก็ถอยใจใหญ่ไปมา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร. | ถอยใจใหญ่ (โบ) ก. ถอนใจใหญ่, หายใจแรงและยาวในขณะที่รู้สึกกลุ้มอกกลุ้มใจหรือโล่งอกโล่งใจเป็นต้น เช่น ท้าวธก็ถอยใจใหญ่ไปมา. (ม. คำหลวง กุมาร). |
ถอยฉะ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง สู้พลางถอยพลาง, ถอยอย่างมีชั้นเชิง. | ถอยฉะ ก. สู้พลางถอยพลาง, ถอยอย่างมีชั้นเชิง. |
ถอยฉาก เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถอยหลังพร้อมกับเบี่ยงตัวหลบทันที, หลบอย่างมีชั้นเชิง. | ถอยฉาก ก. ถอยหลังพร้อมกับเบี่ยงตัวหลบทันที, หลบอย่างมีชั้นเชิง. |
ถอยถด, ถอยทด ถอยถด เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ถอ-ถุง-ดอ-เด็ก ถอยทด เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง ย่อท้อ, ลดน้อยลง เช่น เรี่ยวแรงถอยถด; กระเถิบถอย, ถดถอย หรือ ทดถอย ก็ใช้. | ถอยถด, ถอยทด ก. ย่อท้อ, ลดน้อยลง เช่น เรี่ยวแรงถอยถด; กระเถิบถอย, ถดถอย หรือ ทดถอย ก็ใช้. |
ถอยทัพ เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ถอนทัพกลับ. | ถอยทัพ ก. ถอนทัพกลับ. |
ถอยหลัง เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนไปข้างหลัง, โดยปริยายหมายความว่า ไม่เจริญก้าวหน้า. | ถอยหลัง ก. เคลื่อนไปข้างหลัง, โดยปริยายหมายความว่า ไม่เจริญก้าวหน้า. |
ถอยหลังเข้าคลอง เขียนว่า ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง หวนกลับไปหาแบบเดิม. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลอักษร; ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ดึกดําบรรพ์; บทแผ่นเสียง). | ถอยหลังเข้าคลอง (สำ) ก. หวนกลับไปหาแบบเดิม. น. ชื่อกลอักษร; ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. (ดึกดําบรรพ์; บทแผ่นเสียง). |
ถ่อย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชั่ว, เลว, ทราม. | ถ่อย ว. ชั่ว, เลว, ทราม. |
ถ้อย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง คําพูด, มักใช้ประกอบกับคําอื่น เช่น ถ้อยคำ เจ้าถ้อยหมอความ เป็นถ้อยร้อยความ. | ถ้อย น. คําพูด, มักใช้ประกอบกับคําอื่น เช่น ถ้อยคำ เจ้าถ้อยหมอความ เป็นถ้อยร้อยความ. |
ถ้อยความ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวที่เขียนหรือเรียบเรียง, เรื่องราวที่ฟ้องร้องกัน, มักใช้ในสํานวนว่า เป็นถ้อยเป็นความ. | ถ้อยความ น. เรื่องราวที่เขียนหรือเรียบเรียง, เรื่องราวที่ฟ้องร้องกัน, มักใช้ในสํานวนว่า เป็นถ้อยเป็นความ. |
ถ้อยคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง คําที่กล่าว. | ถ้อยคำ น. คําที่กล่าว. |
ถ้อยคำสำนวน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-นอ-หนู-วอ-แหวน-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง หนังสือใด ๆ ที่ศาลจดเป็นหลักฐานแห่งรายละเอียดทั้งหลายในการดำเนินคดีอาญาในศาลนั้น. | ถ้อยคำสำนวน (กฎ) น. หนังสือใด ๆ ที่ศาลจดเป็นหลักฐานแห่งรายละเอียดทั้งหลายในการดำเนินคดีอาญาในศาลนั้น. |
ถ้อยแถลง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู | [ถะแหฺลง] เป็นคำนาม หมายถึง คําชี้แจง, คําประกาศ, คําอธิบายเป็นทางการ. | ถ้อยแถลง [ถะแหฺลง] น. คําชี้แจง, คําประกาศ, คําอธิบายเป็นทางการ. |
ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างฝ่ายต่างปฏิบัติดีต่อกันในเรื่องเดียวกันหรือในทํานองเดียวกัน. | ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน ว. ต่างฝ่ายต่างปฏิบัติดีต่อกันในเรื่องเดียวกันหรือในทํานองเดียวกัน. |
ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน. | ถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน ว. ต่างฝ่ายต่างพึ่งพาอาศัยกัน. |
ถะ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง พระเจดีย์แบบจีน. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .(รูปภาพ ถะ). | ถะ น. พระเจดีย์แบบจีน. (จ.).(รูปภาพ ถะ). |
ถะกัด เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตระกัด, ยินดี. | ถะกัด (กลอน) ก. ตระกัด, ยินดี. |
ถะเกิน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูง, ชู, คํ้า. | ถะเกิน (กลอน) ว. สูง, ชู, คํ้า. |
ถะโกน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ตะโกน. | ถะโกน (โบ; กลอน) ก. ตะโกน. |
ถะถั่น เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เร็ว ๆ, พลัน ๆ; เป็นหลั่น ๆ. | ถะถั่น (กลอน) ว. เร็ว ๆ, พลัน ๆ; เป็นหลั่น ๆ. |
ถะถับ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดีดนิ้วมือ. | ถะถับ (กลอน) ว. เสียงดีดนิ้วมือ. |
ถะถุนถะถัน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หยาบช้า เช่น คําถะถุนถะถันว่า คําหยาบช้า. | ถะถุนถะถัน (กลอน) ว. หยาบช้า เช่น คําถะถุนถะถันว่า คําหยาบช้า. |
ถะมัดถะแมง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทะมัดทะแมง, ขึงขัง, เอาจริงเอาจัง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมบทละครดึกดำบรรพ์ ฉบับหลวง พ.ศ. ๒๔๖๗. | ถะมัดถะแมง (โบ) ว. ทะมัดทะแมง, ขึงขัง, เอาจริงเอาจัง. (ดึกดําบรรพ์). |
ถัก เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเส้นเชือกหรือหวายเป็นต้นไขว้สอดประสานกันให้เป็นลวดลายต่าง ๆ บ้าง ให้เป็นเส้นและเป็นผืนบ้าง ให้ติดต่อกันบ้าง. | ถัก ก. เอาเส้นเชือกหรือหวายเป็นต้นไขว้สอดประสานกันให้เป็นลวดลายต่าง ๆ บ้าง ให้เป็นเส้นและเป็นผืนบ้าง ให้ติดต่อกันบ้าง. |
ถัง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะจําพวกหนึ่ง ทําด้วยไม้หรือโลหะเป็นต้น มีรูปร่างต่าง ๆ กัน โดยมากใช้ตักนํ้าหรือตวงสิ่งของเป็นต้น; ชื่อมาตราตวงเท่ากับ ๒๐ ทะนาน. | ถัง น. ภาชนะจําพวกหนึ่ง ทําด้วยไม้หรือโลหะเป็นต้น มีรูปร่างต่าง ๆ กัน โดยมากใช้ตักนํ้าหรือตวงสิ่งของเป็นต้น; ชื่อมาตราตวงเท่ากับ ๒๐ ทะนาน. |
ถั่ง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไหลอย่างเท, ไป, ถึง. | ถั่ง ก. ไหลอย่างเท, ไป, ถึง. |
ถั่งถ้อย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-ถอ-ถุง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง พูดพลั่ง ๆ ออกมา, เบิกความ. | ถั่งถ้อย (กลอน) ก. พูดพลั่ง ๆ ออกมา, เบิกความ. |
ถัณฑิล, ถัณฑิลญ ถัณฑิล เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง ถัณฑิลญ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ยอ-หยิง | [ถันทิน, ถันทินละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถัณฑิล, ถัณฑิลญ [ถันทิน, ถันทินละ] (แบบ) น. แผ่นดิน. (ป.). |
ถัณฑิลสายี เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นอนเหนือแผ่นดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถัณฑิลสายี ว. นอนเหนือแผ่นดิน. (ป.). |
ถัด เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ขยับไปด้วยก้น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รองลงไป, ต่อไป. | ถัด ๑ ก. ขยับไปด้วยก้น. ว. รองลงไป, ต่อไป. |
ถัด เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชิดทางนอก (บอกวัวควายเวลาไถนา), ถาด ก็ว่า. | ถัด ๒ ว. ชิดทางนอก (บอกวัวควายเวลาไถนา), ถาด ก็ว่า. |
ถัทธ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง | [ถัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แน่น, แข็ง, กระด้าง, เช่น อันว่าชูชกใจถัทธ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถัทธ [ถัด] (แบบ) ว. แน่น, แข็ง, กระด้าง, เช่น อันว่าชูชกใจถัทธ. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). (ป.). |
ถัน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เต้านม; นํ้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ถน เขียนว่า ถอ-ถุง-นอ-หนู ว่า เต้านม ****(ป. ถน ว่า เต้านม; ถญฺ ว่า นํ้านม). | ถัน น. เต้านม; นํ้านม. (ป. ถน ว่า เต้านม; ถญฺ ว่า นํ้านม). |
ถั่น เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ไหล; กระชั้น เช่น ถั่นคํ่าขีณแล้ว. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์. | ถั่น ก. ไหล; กระชั้น เช่น ถั่นคํ่าขีณแล้ว. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ถั่น ๆ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เร็ว ๆ, พลัน ๆ; เป็นหลั่น ๆ. | ถั่น ๆ ว. เร็ว ๆ, พลัน ๆ; เป็นหลั่น ๆ. |
ถับ, ถับ ๆ ถับ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ถับ ๆ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทันใด, เร็ว, พลัน. | ถับ, ถับ ๆ ว. ทันใด, เร็ว, พลัน. |
ถัมภ์ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หลัก, เสา; ความดื้อ, ความกระด้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถัมภ์ (แบบ) น. หลัก, เสา; ความดื้อ, ความกระด้าง. (ป.). |
ถัว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้มีส่วนเสมอกัน, เฉลี่ย. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน . | ถัว ก. ทําให้มีส่วนเสมอกัน, เฉลี่ย. (จ.). |
ถั่ว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Leguminosae ใช้ฝักหรือเมล็ดเป็นอาหาร เช่น ถั่วเขียว [Vigna radiata (L.) R. Wilezek] ถั่วเหลืองหรือถั่วแระ [Glycine max (L.) Merr.]. | ถั่ว ๑ น. ชื่อไม้เถาหลายชนิดหลายสกุลในวงศ์ Leguminosae ใช้ฝักหรือเมล็ดเป็นอาหาร เช่น ถั่วเขียว [Vigna radiata (L.) R. Wilezek] ถั่วเหลืองหรือถั่วแระ [Glycine max (L.) Merr.]. |
ถั่วคร้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ดู ไก่เตี้ย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก. | ถั่วคร้า ดู ไก่เตี้ย. |
ถั่วค้าง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ดู ถั่วฝักยาว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน. | ถั่วค้าง ดู ถั่วฝักยาว. |
ถั่วงอก เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง เมล็ดถั่วเขียวหรือเมล็ดถั่วเหลืองที่เอามาเพาะให้งอกแล้วใช้เป็นอาหารต่างผัก, ถั่วเพาะ ก็เรียก. | ถั่วงอก น. เมล็ดถั่วเขียวหรือเมล็ดถั่วเหลืองที่เอามาเพาะให้งอกแล้วใช้เป็นอาหารต่างผัก, ถั่วเพาะ ก็เรียก. |
ถั่วดำ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง เมล็ดแก่ของถั่วฝักยาวชนิดที่เมล็ดสีดํา [Vigna unguiculata (L.) Walp. subsp. cylindrica (L.) Van Elseltine] ในวงศ์ Leguminosae. | ถั่วดำ น. เมล็ดแก่ของถั่วฝักยาวชนิดที่เมล็ดสีดํา [Vigna unguiculata (L.) Walp. subsp. cylindrica (L.) Van Elseltine] ในวงศ์ Leguminosae. |
ถั่วน้อย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ดู ถั่วลันเตา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา. | ถั่วน้อย ดู ถั่วลันเตา. |
ถั่วนา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | ดู กระด้าง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑ (๑). | ถั่วนา ดู กระด้าง ๑ (๑). |
ถั่วเน่า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ถั่วเหลือง, ถั่วเหลืองที่ทำเป็นเต้าเจี้ยวเป็นแผ่นตากแห้ง. | ถั่วเน่า (ถิ่นพายัพ) น. ถั่วเหลือง, ถั่วเหลืองที่ทำเป็นเต้าเจี้ยวเป็นแผ่นตากแห้ง. |
ถั่วแปบ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Dolichos lablab L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วง ฝักแบน ๆ; ชื่อขนมชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งข้าวเหนียวต้มคลุกกับมะพร้าว มีไส้ถั่วเขียวเราะเปลือกนึ่ง มีลักษณะแบน ๆ คล้ายถั่วแปบ โรยงา นํ้าตาล. | ถั่วแปบ น. ชื่อไม้เถาชนิด Dolichos lablab L. ในวงศ์ Leguminosae ดอกสีม่วง ฝักแบน ๆ; ชื่อขนมชนิดหนึ่งทําด้วยแป้งข้าวเหนียวต้มคลุกกับมะพร้าว มีไส้ถั่วเขียวเราะเปลือกนึ่ง มีลักษณะแบน ๆ คล้ายถั่วแปบ โรยงา นํ้าตาล. |
ถั่วแปบช้าง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Afgekia sericea Craib ในวงศ์ Leguminosae พบทางภาคอีสาน ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยหลายใบ ด้านล่างของใบมีขนสีขาวเป็นมันเลื่อม ดอกเป็นช่อตั้ง สีชมพู ฝักสั้นป้อม แบน ปลูกเป็นไม้ประดับตามบ้าน. | ถั่วแปบช้าง น. ชื่อไม้เถาชนิด Afgekia sericea Craib ในวงศ์ Leguminosae พบทางภาคอีสาน ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยหลายใบ ด้านล่างของใบมีขนสีขาวเป็นมันเลื่อม ดอกเป็นช่อตั้ง สีชมพู ฝักสั้นป้อม แบน ปลูกเป็นไม้ประดับตามบ้าน. |
ถั่วฝักพร้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ดู ถั่วพร้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา. | ถั่วฝักพร้า ดู ถั่วพร้า. |
ถั่วฝักยาว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อถั่วชนิด Vigna unguiculata (L.) Walp. subsp. sesquipedalis (L.) Verdc. ในวงศ์ Leguminosae ฝักกลมยาวคล้ายฝักแค, ถั่วค้าง ก็เรียก. | ถั่วฝักยาว น. ชื่อถั่วชนิด Vigna unguiculata (L.) Walp. subsp. sesquipedalis (L.) Verdc. ในวงศ์ Leguminosae ฝักกลมยาวคล้ายฝักแค, ถั่วค้าง ก็เรียก. |
ถั่วพร้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อถั่วชนิด Canavalia gladiata (Jacq.) DC. ในวงศ์ Leguminosae ฝักยาวแบนคล้ายมีด กินได้, ถั่วฝักพร้า ก็เรียก. | ถั่วพร้า น. ชื่อถั่วชนิด Canavalia gladiata (Jacq.) DC. ในวงศ์ Leguminosae ฝักยาวแบนคล้ายมีด กินได้, ถั่วฝักพร้า ก็เรียก. |
ถั่วพู เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-พอ-พาน-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อถั่วชนิด Psophocarpus tetragonolobus (L.) DC. ในวงศ์ Leguminosae ฝักมีครีบตามยาว ๔ ครีบ. | ถั่วพู น. ชื่อถั่วชนิด Psophocarpus tetragonolobus (L.) DC. ในวงศ์ Leguminosae ฝักมีครีบตามยาว ๔ ครีบ. |
ถั่วเพาะ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | ดู ถั่วงอก เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่. | ถั่วเพาะ ดู ถั่วงอก. |
ถั่วแม่ตาย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | ดู ถั่วเหลือง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู. | ถั่วแม่ตาย ดู ถั่วเหลือง. |
ถั่วยี่สง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สอ-เสือ-งอ-งู | ดู ถั่วลิสง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-งอ-งู. | ถั่วยี่สง ดู ถั่วลิสง. |
ถั่วแระ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | ดู ถั่วเหลือง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู. | ถั่วแระ ดู ถั่วเหลือง. |
ถั่วลันเตา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อถั่วชนิด Pisum sativum L. ในวงศ์ Leguminosae เป็นไม้เถา มีมือเกาะ ยอดและฝักอ่อนใช้กินเป็นผัก พันธุ์ฝักเล็กดอกสีขาว พันธุ์ฝักใหญ่ดอกสีชมพูอมม่วงหรือสีอื่น ๆ, ถั่วน้อย ก็เรียก. (ลัน ย่อมาจาก ฮอลแลนด์ หรือ ฮอลันดา, เตา มาจาก เต้า ในภาษาจีน). | ถั่วลันเตา น. ชื่อถั่วชนิด Pisum sativum L. ในวงศ์ Leguminosae เป็นไม้เถา มีมือเกาะ ยอดและฝักอ่อนใช้กินเป็นผัก พันธุ์ฝักเล็กดอกสีขาว พันธุ์ฝักใหญ่ดอกสีชมพูอมม่วงหรือสีอื่น ๆ, ถั่วน้อย ก็เรียก. (ลัน ย่อมาจาก ฮอลแลนด์ หรือ ฮอลันดา, เตา มาจาก เต้า ในภาษาจีน). |
ถั่วลิสง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อถั่วชนิด Arachis hypogaea L. ในวงศ์ Leguminosae มีฝักอยู่ใต้ดิน, ถั่วยี่สง ก็เรียก. | ถั่วลิสง น. ชื่อถั่วชนิด Arachis hypogaea L. ในวงศ์ Leguminosae มีฝักอยู่ใต้ดิน, ถั่วยี่สง ก็เรียก. |
ถั่วเหลือง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อถั่วชนิด Glycine max Merr. ในวงศ์ Leguminosae ฝักเป็นขน เมล็ดสีเหลืองให้นํ้ามัน, ถั่วแม่ตาย หรือ ถั่วแระ ก็เรียก. | ถั่วเหลือง น. ชื่อถั่วชนิด Glycine max Merr. ในวงศ์ Leguminosae ฝักเป็นขน เมล็ดสีเหลืองให้นํ้ามัน, ถั่วแม่ตาย หรือ ถั่วแระ ก็เรียก. |
ถั่ว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือ เมล็ดละหุ่งเป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือเศษ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ มี เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, โปกํา ก็เรียก. | ถั่ว ๒ น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง ใช้ถ้วยครอบเบี้ย โดยมากใช้เบี้ยจั่น เมล็ดมะขาม หรือ เมล็ดละหุ่งเป็นต้น แล้วแจงออกเป็นคะแนนทีละ ๔ ครั้งสุดท้ายถ้าเหลือ ๑ เรียกว่า ออกหน่วย ถ้าเหลือเศษ ๒, ๓ เรียกว่า ออก ๒ ออก ๓ ถ้าเหลือ ๔ เรียกว่า ออกครบ มีประตูแทง ๔ ประตู คือ หน่วย สอง สาม และครบ ส่วนวิธีแทงได้นำวิธีแทงโปมาใช้ มี เหม็ง กั๊ก เลี่ยม อ๋อ ชั้ว ถ่อ และ อา, โปกํา ก็เรียก. |
ถั่วขาว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | ดู รุ่ย เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-ยอ-ยัก ความหมายที่ ๑. | ถั่วขาว ดู รุ่ย ๑. |
ถา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ถลา, โผลง; ลับ, ถูให้คม. (ไทยเดิม ถา ว่า โกน). | ถา ก. ถลา, โผลง; ลับ, ถูให้คม. (ไทยเดิม ถา ว่า โกน). |
ถาโถม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ถลาเข้าไป, โจมเข้าไป. | ถาโถม ก. ถลาเข้าไป, โจมเข้าไป. |
ถ้า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำสันธาน หมายถึง คําแสดงความคาดหมาย คาดคะเน หรือข้อแม้, ผิ, แม้, หาก. | ถ้า สัน. คําแสดงความคาดหมาย คาดคะเน หรือข้อแม้, ผิ, แม้, หาก. |
ถ้าว่า, ถ้าหากว่า ถ้าว่า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ถ้าหากว่า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำสันธาน หมายถึง ผิว่า, แม้ว่า, หากว่า. | ถ้าว่า, ถ้าหากว่า สัน. ผิว่า, แม้ว่า, หากว่า. |
ถาก เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ฟันเอาเปลือกหรือส่วนนอกออก เช่น ถากเปลือกไม้ ถากเสา, ใช้จอบเป็นต้นดายให้เตียน เช่น ถากหญ้า ถากดิน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เฉียง ๆ, ถูกผิว ๆ, เช่น ฟันถากไป. | ถาก ก. ฟันเอาเปลือกหรือส่วนนอกออก เช่น ถากเปลือกไม้ ถากเสา, ใช้จอบเป็นต้นดายให้เตียน เช่น ถากหญ้า ถากดิน. ว. เฉียง ๆ, ถูกผิว ๆ, เช่น ฟันถากไป. |
ถากถาง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ค่อนว่า, มีเจตนาว่าให้เจ็บใจ. | ถากถาง ก. ค่อนว่า, มีเจตนาว่าให้เจ็บใจ. |
ถาง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้มีดเป็นต้นฟันให้เตียน เช่น ถางหญ้า ถางป่า. | ถาง ก. ใช้มีดเป็นต้นฟันให้เตียน เช่น ถางหญ้า ถางป่า. |
ถ่าง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แยกปลายออกให้ห่างจากกัน เช่น ถ่างขา, กางออก. | ถ่าง ก. แยกปลายออกให้ห่างจากกัน เช่น ถ่างขา, กางออก. |
ถ่างตา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง พยายามเบิกตาให้กว้าง. | ถ่างตา ก. พยายามเบิกตาให้กว้าง. |
ถาด เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะใส่สิ่งของ ทําด้วยไม้หรือโลหะเป็นต้น รูปเตี้ย ๆ แบน มีขอบ. | ถาด ๑ น. ภาชนะใส่สิ่งของ ทําด้วยไม้หรือโลหะเป็นต้น รูปเตี้ย ๆ แบน มีขอบ. |
ถาด เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ชิดทางนอก (บอกวัวควายเวลาไถนา), ถัด ก็ว่า. | ถาด ๒ ว. ชิดทางนอก (บอกวัวควายเวลาไถนา), ถัด ก็ว่า. |
ถาน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ส้วมของพระ. | ถาน น. ส้วมของพระ. |
ถ่าน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ที่เผาแล้วจนสุกมีสีดํา โดยมากสําหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง. | ถ่าน ๑ น. ไม้ที่เผาแล้วจนสุกมีสีดํา โดยมากสําหรับใช้เป็นเชื้อเพลิง. |
ถ่านโค้ก เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง กากที่เหลือหลังจากนําถ่านหินไปกลั่นทําลายแล้ว ประกอบด้วยคาร์บอนประมาณร้อยละ ๘๐๙๐ ใช้ประโยชน์ในการถลุงแร่ เช่น ในอุตสาหกรรมถลุงเหล็กเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ coke เขียนว่า ซี-โอ-เค-อี. | ถ่านโค้ก น. กากที่เหลือหลังจากนําถ่านหินไปกลั่นทําลายแล้ว ประกอบด้วยคาร์บอนประมาณร้อยละ ๘๐๙๐ ใช้ประโยชน์ในการถลุงแร่ เช่น ในอุตสาหกรรมถลุงเหล็กเป็นต้น. (อ. coke). |
ถ่านไฟเก่า เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ชายหญิงที่เคยรักใคร่หรือเคยได้เสียกันมาก่อน แม้เลิกร้างกันไป เมื่อมาพบกันใหม่ย่อมรักใคร่หรือปลงใจกันได้ง่ายขึ้น. | ถ่านไฟเก่า (สำ) น. ชายหญิงที่เคยรักใคร่หรือเคยได้เสียกันมาก่อน แม้เลิกร้างกันไป เมื่อมาพบกันใหม่ย่อมรักใคร่หรือปลงใจกันได้ง่ายขึ้น. |
ถ่านไฟฉาย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เซลล์ไฟฟ้าชนิดปฐมภูมิ มีรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก ภายในบรรจุผงคาร์บอน แมงกานีสไดออกไซด์ ซิงก์คลอไรด์ แอมโมเนียมคลอไรด์ ซึ่งผสมนํ้าให้มีลักษณะคล้ายแป้งเปียกหุ้มอยู่รอบแท่งคาร์บอนซึ่งเป็นขั้วบวก ภายนอกหุ้มด้วยกระบอกสังกะสีซึ่งเป็นขั้วลบ ตอนปากของกระบอกสังกะสีมีครั่งหุ้มปิดไว้ เหลือแต่หมวกโลหะที่ครอบแท่งคาร์บอนเท่านั้นที่โผล่พ้นพื้นครั่งขึ้นมา ใช้ใส่ในไฟฉาย วิทยุ เป็นต้น. | ถ่านไฟฉาย น. เซลล์ไฟฟ้าชนิดปฐมภูมิ มีรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก ภายในบรรจุผงคาร์บอน แมงกานีสไดออกไซด์ ซิงก์คลอไรด์ แอมโมเนียมคลอไรด์ ซึ่งผสมนํ้าให้มีลักษณะคล้ายแป้งเปียกหุ้มอยู่รอบแท่งคาร์บอนซึ่งเป็นขั้วบวก ภายนอกหุ้มด้วยกระบอกสังกะสีซึ่งเป็นขั้วลบ ตอนปากของกระบอกสังกะสีมีครั่งหุ้มปิดไว้ เหลือแต่หมวกโลหะที่ครอบแท่งคาร์บอนเท่านั้นที่โผล่พ้นพื้นครั่งขึ้นมา ใช้ใส่ในไฟฉาย วิทยุ เป็นต้น. |
ถ่านไฟแช็ก เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-แอ-ชอ-ช้าง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง โลหะเจือประเภทไพโรฟอริก เช่น โลหะซีเรียมผสมเหล็ก เป็นสารแข็ง ลักษณะเป็นแท่งกลมสั้น เมื่อครูดกับจักรโลหะจะเกิดประกายไฟ. | ถ่านไฟแช็ก น. โลหะเจือประเภทไพโรฟอริก เช่น โลหะซีเรียมผสมเหล็ก เป็นสารแข็ง ลักษณะเป็นแท่งกลมสั้น เมื่อครูดกับจักรโลหะจะเกิดประกายไฟ. |
ถ่านหิน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ถ่านธรรมชาติมีลักษณะแข็งอย่างหิน เกิดจากการแปรสภาพของพืชและต้นไม้ที่ทับถมกันมาเป็นเวลานานมาก. | ถ่านหิน น. ถ่านธรรมชาติมีลักษณะแข็งอย่างหิน เกิดจากการแปรสภาพของพืชและต้นไม้ที่ทับถมกันมาเป็นเวลานานมาก. |
ถ่าน เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ยืนต้น. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. | ถ่าน ๒ น. ชื่อไม้ยืนต้น. (พจน. ๒๔๙๓). |
ถาบ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาเฉพาะถิ่น เป็นคำกริยา หมายถึง ตบ, ตี, เช่น นกถาบปีก, ทาบ ก็ใช้. | ถาบ (ถิ่น) ก. ตบ, ตี, เช่น นกถาบปีก, ทาบ ก็ใช้. |
ถาม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเพื่อรับคําตอบ. | ถาม ก. พูดเพื่อรับคําตอบ. |
ถามค้าน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง การที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งซักถามพยาน เมื่อคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานได้ซักถามพยานเสร็จแล้ว, ซักค้าน ก็ใช้. | ถามค้าน (กฎ) ก. การที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งซักถามพยาน เมื่อคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานได้ซักถามพยานเสร็จแล้ว, ซักค้าน ก็ใช้. |
ถามติง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง การที่คู่ความฝ่ายที่อ้างพยานซักถามพยานอีกครั้งหนึ่ง เมื่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งถามค้านพยานเสร็จแล้ว. | ถามติง (กฎ) ก. การที่คู่ความฝ่ายที่อ้างพยานซักถามพยานอีกครั้งหนึ่ง เมื่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งถามค้านพยานเสร็จแล้ว. |
ถามไถ่ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง ถาม, สอบถาม, ไถ่ถาม หรือ ไต่ถาม ก็ว่า. | ถามไถ่ ก. ถาม, สอบถาม, ไถ่ถาม หรือ ไต่ถาม ก็ว่า. |
ถามนำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง การถามพยานโดยแนะคําตอบไว้ในคําถามนั้นด้วย. | ถามนำ (กฎ) ก. การถามพยานโดยแนะคําตอบไว้ในคําถามนั้นด้วย. |
ถามปากคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ซักถามเพื่อให้บุคคลให้การ โดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ เช่น ถามปากคําพยาน ถามปากคําผู้ต้องหา, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง สอบปากคํา. | ถามปากคำ (กฎ) ก. ซักถามเพื่อให้บุคคลให้การ โดยพนักงานสอบสวนหรือพนักงานอัยการ เช่น ถามปากคําพยาน ถามปากคําผู้ต้องหา, (ปาก) สอบปากคํา. |
ถามะ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อะ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กําลัง, เรี่ยวแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถามะ (แบบ) น. กําลัง, เรี่ยวแรง. (ป.). |
ถ่าย เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาออกจากที่หนึ่งไปใส่อีกที่หนึ่ง เช่น ถ่ายรถ ถ่ายเรือ, เอาสิ่งหนึ่งออกแล้วเอาอีกสิ่งหนึ่งใส่เข้าไปแทนที่ เช่น ถ่ายนํ้า ถ่ายเลือด; รุ เช่น ถ่ายยา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฝ่าย, ท่า, เช่น ถ่ายเดียว. | ถ่าย ก. เอาออกจากที่หนึ่งไปใส่อีกที่หนึ่ง เช่น ถ่ายรถ ถ่ายเรือ, เอาสิ่งหนึ่งออกแล้วเอาอีกสิ่งหนึ่งใส่เข้าไปแทนที่ เช่น ถ่ายนํ้า ถ่ายเลือด; รุ เช่น ถ่ายยา. ว. ฝ่าย, ท่า, เช่น ถ่ายเดียว. |
ถ่ายเดียว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฝ่ายเดียว เช่น เอาแต่ได้ถ่ายเดียว เห็นแต่ประโยชน์ถ่ายเดียว. | ถ่ายเดียว ว. ฝ่ายเดียว เช่น เอาแต่ได้ถ่ายเดียว เห็นแต่ประโยชน์ถ่ายเดียว. |
ถ่ายทอด เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง กระจายเสียงหรือแพร่ภาพรายการที่รับจากสถานีอื่นหรือสถานที่อื่น (ใช้แก่วิทยุและโทรทัศน์), โดยปริยายหมายความว่า นําเรื่องที่รู้ไปเล่าต่อ. | ถ่ายทอด ก. กระจายเสียงหรือแพร่ภาพรายการที่รับจากสถานีอื่นหรือสถานที่อื่น (ใช้แก่วิทยุและโทรทัศน์), โดยปริยายหมายความว่า นําเรื่องที่รู้ไปเล่าต่อ. |
ถ่ายทุกข์ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ขี้, ถ่ายอุจจาระ. | ถ่ายทุกข์ ก. ขี้, ถ่ายอุจจาระ. |
ถ่ายเท เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ให้ระบายเข้าออกได้ (มักใช้แก่อากาศหรือนํ้า); ยักย้ายหลีกเลี่ยงด้วยอุบาย, มักใช้ว่า ยักย้ายถ่ายเท. | ถ่ายเท ก. ให้ระบายเข้าออกได้ (มักใช้แก่อากาศหรือนํ้า); ยักย้ายหลีกเลี่ยงด้วยอุบาย, มักใช้ว่า ยักย้ายถ่ายเท. |
ถ่ายแบบ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาแบบอย่าง; ถอดแบบ, ถอดลักษณะหรือนิสัยใจคอมา, เช่น ถ่ายแบบพ่อ ถ่ายแบบแม่. | ถ่ายแบบ ก. เอาแบบอย่าง; ถอดแบบ, ถอดลักษณะหรือนิสัยใจคอมา, เช่น ถ่ายแบบพ่อ ถ่ายแบบแม่. |
ถ่ายปัสสาวะ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง เยี่ยว. | ถ่ายปัสสาวะ ก. เยี่ยว. |
ถ่ายภาพยนตร์ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-ยัก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาว ๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้เหมือนจริง, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ถ่ายหนัง. | ถ่ายภาพยนตร์ ก. บันทึกภาพให้ต่อเนื่องกันบนฟิล์มแถบยาว ๆ เมื่อฉายด้วยเครื่องฉายไปบนจอ จะมองเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได้เหมือนจริง, (ปาก) ถ่ายหนัง. |
ถ่ายยา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง กินยาถ่าย. | ถ่ายยา ก. กินยาถ่าย. |
ถ่ายรูป เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | เป็นคำกริยา หมายถึง บันทึกภาพโดยวิธีให้แสงจากสิ่งที่จะถ่ายไปลงบนแผ่นวัสดุใสเช่นฟิล์ม กระจกถ่ายรูป, ชักรูป ก็ว่า. | ถ่ายรูป ก. บันทึกภาพโดยวิธีให้แสงจากสิ่งที่จะถ่ายไปลงบนแผ่นวัสดุใสเช่นฟิล์ม กระจกถ่ายรูป, ชักรูป ก็ว่า. |
ถ่ายสำเนา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร. | ถ่ายสำเนา ก. ถ่ายข้อความหรือภาพเป็นต้นจากต้นแบบหรือต้นฉบับด้วยเครื่องถ่ายเอกสาร. |
ถ่ายอุจจาระ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-จอ-จาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ขี้, ถ่ายทุกข์ ก็ว่า. | ถ่ายอุจจาระ ก. ขี้, ถ่ายทุกข์ ก็ว่า. |
ถ่าว เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุ่นสาว, รุ่นหนุ่ม, เช่น นงถ่าว, แลเด็กหญิงถ่าวชาววยงก็ดี. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร. | ถ่าว (กลอน) ว. รุ่นสาว, รุ่นหนุ่ม, เช่น นงถ่าว, แลเด็กหญิงถ่าวชาววยงก็ดี. (ม. คำหลวง ทศพร). |
ถาวร, ถาวร ถาวร เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ ถาวร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [วอน, วอระ, วะระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, ยั่งยืน, คงทน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถาวร, ถาวร [วอน, วอระ, วะระ] ว. มั่นคง, ยั่งยืน, คงทน. (ป.). |
ถาวรวัตถุ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ | [ถาวอระวัดถุ, ถาวอนวัดถุ] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ก่อสร้างเพื่อให้มั่นคงยั่งยืน เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถาวรวัตถุ [ถาวอระวัดถุ, ถาวอนวัดถุ] น. สิ่งที่ก่อสร้างเพื่อให้มั่นคงยั่งยืน เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ. (ป.). |
ถาวรธิรา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [วะระ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง. | ถาวรธิรา [วะระ] น. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง. |
ถ้ำ เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง โพรงที่ลึกเข้าไปในภูเขา. | ถ้ำ น. โพรงที่ลึกเข้าไปในภูเขา. |
ถ้ำชา เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะที่โดยมากทําด้วยตะกั่วชนิดหนึ่ง สําหรับใส่ใบชา รูปร่างคล้ายขวด มีฝาปิด เช่น ขมิ้นดินสอพองเอาไว้ไหน เมื่อวานกูใส่ไว้ในถํ้า. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑. | ถ้ำชา น. ภาชนะที่โดยมากทําด้วยตะกั่วชนิดหนึ่ง สําหรับใส่ใบชา รูปร่างคล้ายขวด มีฝาปิด เช่น ขมิ้นดินสอพองเอาไว้ไหน เมื่อวานกูใส่ไว้ในถํ้า. (ขุนช้างขุนแผน). |
ถ้ำมอง เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ตู้หรือหีบที่มีแว่นขยายสําหรับดูภาพยนตร์สั้น ๆ หรือรูปต่าง ๆ ทีละคน. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง แอบดู. | ถ้ำมอง น. ตู้หรือหีบที่มีแว่นขยายสําหรับดูภาพยนตร์สั้น ๆ หรือรูปต่าง ๆ ทีละคน. (ปาก) ก. แอบดู. |
ถ้ำยาดม เขียนว่า ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก มีฝา ชั้นในเจาะเป็นรู มีส้มมือผสมเครื่องยาบรรจุภายใน ใช้ดม. | ถ้ำยาดม น. ภาชนะรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก มีฝา ชั้นในเจาะเป็นรู มีส้มมือผสมเครื่องยาบรรจุภายใน ใช้ดม. |
ถิ่น เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ที่, แดน, ที่อยู่, เช่น ถิ่นเสือ ถิ่นผู้ร้าย. | ถิ่น น. ที่, แดน, ที่อยู่, เช่น ถิ่นเสือ ถิ่นผู้ร้าย. |
ถิร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ | [ถิระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, แข็งแรง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถิร [ถิระ] (แบบ) ว. มั่นคง, แข็งแรง. (ป.). |
ถี เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถี (แบบ) น. หญิง. (ป.). |
ถี่, ถี่ ๆ ถี่ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ถี่ ๆ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีระยะหรือช่องว่างชิด ๆ กัน เช่น ตะแกรงตาถี่ หวีซี่ถี่, มีระยะเวลากระชั้นชิดกัน, ไม่ห่าง, เช่น รถมาถี่ มีลูกถี่ ซอยเท้าถี่ ๆ. | ถี่, ถี่ ๆ ว. มีระยะหรือช่องว่างชิด ๆ กัน เช่น ตะแกรงตาถี่ หวีซี่ถี่, มีระยะเวลากระชั้นชิดกัน, ไม่ห่าง, เช่น รถมาถี่ มีลูกถี่ ซอยเท้าถี่ ๆ. |
ถี่ถ้วน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ละเอียดลออ, รอบคอบ, โดยปริยายหมายความว่า เหนียวแน่น, ถ้วนถี่ ก็ว่า. | ถี่ถ้วน ว. ละเอียดลออ, รอบคอบ, โดยปริยายหมายความว่า เหนียวแน่น, ถ้วนถี่ ก็ว่า. |
ถี่เท้า เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เดินเร็ว. | ถี่เท้า (กลอน) ว. เดินเร็ว. |
ถี่ยิบ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถี่มาก. | ถี่ยิบ ว. ถี่มาก. |
ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู หอ-หีบ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดูเหมือนรอบคอบถี่ถ้วน แต่ไม่รอบคอบถี่ถ้วนจริง, ประหยัดในสิ่งที่ไม่ควรประหยัด ไม่ประหยัดในสิ่งที่ควรประหยัด. | ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น (สำ) ว. ดูเหมือนรอบคอบถี่ถ้วน แต่ไม่รอบคอบถี่ถ้วนจริง, ประหยัดในสิ่งที่ไม่ควรประหยัด ไม่ประหยัดในสิ่งที่ควรประหยัด. |
ถีน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | [ถีนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความง่วงเหงา, ความคร้านกาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถีน [ถีนะ] (แบบ) น. ความง่วงเหงา, ความคร้านกาย. (ป.). |
ถีบ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง งอเข่าแล้วใช้ฝ่าเท้ากระแทกออกไป, งอเข่าแล้วใช้ฝ่าเท้าดันไปโดยแรง เช่น ถีบรถ ถีบจักร; ดัน เช่น ว่าวถีบสูง. | ถีบ ก. งอเข่าแล้วใช้ฝ่าเท้ากระแทกออกไป, งอเข่าแล้วใช้ฝ่าเท้าดันไปโดยแรง เช่น ถีบรถ ถีบจักร; ดัน เช่น ว่าวถีบสูง. |
ถีบกระดาน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่นั่งบนกระดานแล้วเอาเท้าถีบเลนให้กระดานแล่นไป. | ถีบกระดาน ก. อาการที่นั่งบนกระดานแล้วเอาเท้าถีบเลนให้กระดานแล่นไป. |
ถีบจักร เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง เย็บผ้าด้วยจักรโดยกดเท้าลงบนตะแกรงจักรให้ตะแกรงกระดกขึ้นลงให้ล้อจักรหมุน. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหนูชนิดหนึ่งตัวเล็กซึ่งเลี้ยงไว้ให้เข้าไปถีบในเครื่องหมุนว่า หนูถีบจักร. | ถีบจักร ก. เย็บผ้าด้วยจักรโดยกดเท้าลงบนตะแกรงจักรให้ตะแกรงกระดกขึ้นลงให้ล้อจักรหมุน. น. เรียกหนูชนิดหนึ่งตัวเล็กซึ่งเลี้ยงไว้ให้เข้าไปถีบในเครื่องหมุนว่า หนูถีบจักร. |
ถีบจักรยาน, ถีบรถ ถีบจักรยาน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ถีบรถ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้แรงเท้าถีบที่บันไดรถจักรยานให้รถแล่นไป, เรียกรถที่ใช้ถีบเช่นนั้นว่า รถถีบ หรือ รถจักรยาน. | ถีบจักรยาน, ถีบรถ ก. ใช้แรงเท้าถีบที่บันไดรถจักรยานให้รถแล่นไป, เรียกรถที่ใช้ถีบเช่นนั้นว่า รถถีบ หรือ รถจักรยาน. |
ถีบตัว เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง พุ่งตัวหรือดันตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ราคาสินค้าถีบตัวสูงขึ้น ว่าวถีบตัวขึ้นสูง, เลื่อนฐานะขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น เขาทำงานหนักจนถีบตัวอยู่ในขั้นเศรษฐีได้ในเวลาไม่กี่ปี. | ถีบตัว ก. พุ่งตัวหรือดันตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ราคาสินค้าถีบตัวสูงขึ้น ว่าวถีบตัวขึ้นสูง, เลื่อนฐานะขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น เขาทำงานหนักจนถีบตัวอยู่ในขั้นเศรษฐีได้ในเวลาไม่กี่ปี. |
ถีบทาง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เดิน. | ถีบทาง (กลอน) ก. เดิน. |
ถีบหัวส่ง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไล่ไปให้พ้น, ไม่ไยดีอีกต่อไป. | ถีบหัวส่ง (สำ) ก. ไล่ไปให้พ้น, ไม่ไยดีอีกต่อไป. |
ถีบฉัด เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างเร็ว. | ถีบฉัด น. ชื่อช้างเร็ว. |
ถึก เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เปลี่ยว, หนุ่ม, (ใช้แก่วัวควายตัวผู้) เช่น วัวถึก ควายถึก (ไทยเดิมใช้หมายความว่า ตัวผู้, ถ้าตัวเมียใช้ แม่ เช่น ม้าแม่ หมาแม่). | ถึก ว. เปลี่ยว, หนุ่ม, (ใช้แก่วัวควายตัวผู้) เช่น วัวถึก ควายถึก (ไทยเดิมใช้หมายความว่า ตัวผู้, ถ้าตัวเมียใช้ แม่ เช่น ม้าแม่ หมาแม่). |
ถึง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง บรรลุจุดหมาย เช่น เมื่อไรจะถึง; รับนับถือ, ยึดถือ, เช่น ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึก; โดยปริยายหมายความว่า เท่าทัน, ทัดเทียม, เช่น เขาถึงกัน มีความรู้ไม่ถึง ฝีมือไม่ถึง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากพอ เช่น ถึงเกลือ ถึงนํ้าตาล ถึงเครื่อง. เป็นคำบุรพบท หมายถึง สู่, กระทั่ง, ยัง, เช่น ไปถึงบ้าน; จนกระทั่ง เช่น ถึงนํ้าตาตก ถึงลุกไม่ขึ้น, ถึงแก่ ถึงกับ ถึงกะ ก็ว่า; ใช้เป็นคําจ่าหน้าในจดหมายระบุตัวผู้รับ. เป็นคำสันธาน หมายถึง แม้ เช่น ถึงเขาจะเป็นเด็ก เขาก็มีความคิด; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง จึง เช่น ทําอย่างนี้ถึงจะดี. | ถึง ก. บรรลุจุดหมาย เช่น เมื่อไรจะถึง; รับนับถือ, ยึดถือ, เช่น ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่งที่ระลึก; โดยปริยายหมายความว่า เท่าทัน, ทัดเทียม, เช่น เขาถึงกัน มีความรู้ไม่ถึง ฝีมือไม่ถึง. ว. มากพอ เช่น ถึงเกลือ ถึงนํ้าตาล ถึงเครื่อง. บ. สู่, กระทั่ง, ยัง, เช่น ไปถึงบ้าน; จนกระทั่ง เช่น ถึงนํ้าตาตก ถึงลุกไม่ขึ้น, ถึงแก่ ถึงกับ ถึงกะ ก็ว่า; ใช้เป็นคําจ่าหน้าในจดหมายระบุตัวผู้รับ. สัน. แม้ เช่น ถึงเขาจะเป็นเด็ก เขาก็มีความคิด; (ปาก) จึง เช่น ทําอย่างนี้ถึงจะดี. |
ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่เอามาใส่ใจว่าจะเป็นอย่างไร. | ถึงก็ช่างไม่ถึงก็ช่าง (สำ) ก. ไม่เอามาใส่ใจว่าจะเป็นอย่างไร. |
ถึงกัน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ติดต่อไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ เช่น นาย ก กับ นาย ข เขาถึงกัน. | ถึงกัน ก. ติดต่อไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ เช่น นาย ก กับ นาย ข เขาถึงกัน. |
ถึงแก่กรรม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคําพูดที่สุภาพ), ถึงมรณกรรม หรือ ถึงแก่มรณกรรม ก็ว่า. | ถึงแก่กรรม ก. ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคําพูดที่สุภาพ), ถึงมรณกรรม หรือ ถึงแก่มรณกรรม ก็ว่า. |
ถึงแก่น เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรปิดบัง. | ถึงแก่น ว. ไม่มีอะไรปิดบัง. |
ถึงแก่พิราลัย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่สมเด็จเจ้าพระยา เจ้าประเทศราช หรือผู้อื่นที่มีฐานันดรเทียบเท่า). | ถึงแก่พิราลัย ก. ตาย (ใช้แก่สมเด็จเจ้าพระยา เจ้าประเทศราช หรือผู้อื่นที่มีฐานันดรเทียบเท่า). |
ถึงแก่มรณกรรม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-มอ-ม้า-รอ-เรือ-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ), ถึงแก่กรรม หรือ ถึงมรณกรรม ก็ว่า. | ถึงแก่มรณกรรม ก. ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ), ถึงแก่กรรม หรือ ถึงมรณกรรม ก็ว่า. |
ถึงแก่มรณภาพ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-มอ-ม้า-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร หรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น), ที่ใช้สั้น ๆ ว่า ถึงมรณภาพ หรือ มรณภาพ ก็มี. | ถึงแก่มรณภาพ ก. ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร หรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น), ที่ใช้สั้น ๆ ว่า ถึงมรณภาพ หรือ มรณภาพ ก็มี. |
ถึงแก่อนิจกรรม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-จอ-จาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า). | ถึงแก่อนิจกรรม ก. ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า). |
ถึงแก่อสัญกรรม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-หยิง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่เจ้าพระยาหรือเทียบเท่า). | ถึงแก่อสัญกรรม ก. ตาย (ใช้แก่เจ้าพระยาหรือเทียบเท่า). |
ถึงขนาด เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ขอ-ไข่-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ได้ขนาด, เต็มที่, มากพอ. | ถึงขนาด ว. ได้ขนาด, เต็มที่, มากพอ. |
ถึงคราว เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงกําหนดจะเป็น เช่น ถึงคราวมีบุญ ถึงคราวตกอับ, ถ้าใช้ตามลําพัง มักหมายไปในทางไม่ดี เช่น เขาถึงคราวแล้ว. | ถึงคราว ก. ถึงกําหนดจะเป็น เช่น ถึงคราวมีบุญ ถึงคราวตกอับ, ถ้าใช้ตามลําพัง มักหมายไปในทางไม่ดี เช่น เขาถึงคราวแล้ว. |
ถึงฆาต เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-คอ-ระ-คัง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า | เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงที่ตาย เช่น ชะตาถึงฆาต. | ถึงฆาต ก. ถึงที่ตาย เช่น ชะตาถึงฆาต. |
ถึงเงิน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ให้เงินมากจนเป็นที่พอใจ, เงินถึง ก็ว่า. | ถึงเงิน ว. ให้เงินมากจนเป็นที่พอใจ, เงินถึง ก็ว่า. |
ถึงใจ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จุใจ, สะใจ, สาแก่ใจ. | ถึงใจ ว. จุใจ, สะใจ, สาแก่ใจ. |
ถึงชีพิตักษัย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้เฉพาะหม่อมเจ้า). | ถึงชีพิตักษัย ก. ตาย (ใช้เฉพาะหม่อมเจ้า). |
ถึงชีวิตันตราย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ประสบอันตรายถึงตาย. | ถึงชีวิตันตราย ก. ประสบอันตรายถึงตาย. |
ถึงที่ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงคราวตาย. | ถึงที่ ก. ถึงคราวตาย. |
ถึงเป็นถึงตาย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างเอาจริงเอาจังเกินไป, อย่างรุนแรง เช่น ต่อสู้กันอย่างถึงเป็นถึงตาย. | ถึงเป็นถึงตาย ว. อย่างเอาจริงเอาจังเกินไป, อย่างรุนแรง เช่น ต่อสู้กันอย่างถึงเป็นถึงตาย. |
ถึงผ้า เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง มีระดู. | ถึงผ้า ก. มีระดู. |
ถึงพริกถึงขิง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เผ็ดร้อนรุนแรง เช่น การโต้วาทีคราวนี้ถึงพริกถึงขิง. | ถึงพริกถึงขิง (สำ) ว. เผ็ดร้อนรุนแรง เช่น การโต้วาทีคราวนี้ถึงพริกถึงขิง. |
ถึงมรณกรรม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-มอ-ม้า-รอ-เรือ-นอ-เนน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ), ถึงแก่กรรม หรือ ถึงแก่มรณกรรม ก็ว่า. | ถึงมรณกรรม ก. ตาย (ใช้แก่คนทั่วไปในคำพูดที่สุภาพ), ถึงแก่กรรม หรือ ถึงแก่มรณกรรม ก็ว่า. |
ถึงมรณภาพ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-มอ-ม้า-รอ-เรือ-นอ-เนน-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร หรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น), มรณภาพ ก็ว่า, ใช้เต็มว่า ถึงแก่มรณภาพ. | ถึงมรณภาพ ก. ตาย (ใช้แก่พระภิกษุสามเณร หรือนักบวชในลัทธิศาสนาอื่น), มรณภาพ ก็ว่า, ใช้เต็มว่า ถึงแก่มรณภาพ. |
ถึงลูกถึงคน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-คอ-ควาย-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รุนแรง (ใช้แก่การเล่นกีฬาประเภทลูกบอลเช่นฟุตบอล); ติดตามอย่างจริงจังใกล้ชิด เช่น เขาทำงานอย่างถึงลูกถึงคน. | ถึงลูกถึงคน ว. รุนแรง (ใช้แก่การเล่นกีฬาประเภทลูกบอลเช่นฟุตบอล); ติดตามอย่างจริงจังใกล้ชิด เช่น เขาทำงานอย่างถึงลูกถึงคน. |
ถึงว่า เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คํากล่าวแสดงความคล้อยตาม เช่น คนหนึ่งพูดด้วยความแปลกใจว่า ไม่นึกเลยว่าเขาจะเป็นคนเกะกะ อีกคนหนึ่งก็คล้อยตามว่า ถึงว่าซี. | ถึงว่า (ปาก) คํากล่าวแสดงความคล้อยตาม เช่น คนหนึ่งพูดด้วยความแปลกใจว่า ไม่นึกเลยว่าเขาจะเป็นคนเกะกะ อีกคนหนึ่งก็คล้อยตามว่า ถึงว่าซี. |
ถึงไหนถึงกัน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จนถึงที่สุด. | ถึงไหนถึงกัน ว. จนถึงที่สุด. |
ถือ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไว้ในมือ, จับยึดไว้, เช่น ถือมีด ถือปืน ถือหนังสือ; ทรงไว้, ดํารงไว้; เอาไว้ในใจ เช่น ถือศีล ถือศักดินา; ยึดเอาว่า, นับเอาว่า, เช่น ถือเป็นญาติกัน ถือเราถือเขา ถือพวก ถือโทษ; เชื่อมั่นว่าเป็นมงคลหรืออัปมงคล เช่น ถือไม่ให้ใครจับหัว ถือไม่ลอดใต้ถุน; นับถือ เช่น ถือศาสนา; เช่า ในคําว่า ถือสวน, เช่าถือสวน ก็ว่า. | ถือ ก. เอาไว้ในมือ, จับยึดไว้, เช่น ถือมีด ถือปืน ถือหนังสือ; ทรงไว้, ดํารงไว้; เอาไว้ในใจ เช่น ถือศีล ถือศักดินา; ยึดเอาว่า, นับเอาว่า, เช่น ถือเป็นญาติกัน ถือเราถือเขา ถือพวก ถือโทษ; เชื่อมั่นว่าเป็นมงคลหรืออัปมงคล เช่น ถือไม่ให้ใครจับหัว ถือไม่ลอดใต้ถุน; นับถือ เช่น ถือศาสนา; เช่า ในคําว่า ถือสวน, เช่าถือสวน ก็ว่า. |
ถือกำเนิด เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง เกิด. | ถือกำเนิด ก. เกิด. |
ถือโกรธ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง | เป็นคำกริยา หมายถึง คุมแค้น, ผูกใจโกรธ. | ถือโกรธ ก. คุมแค้น, ผูกใจโกรธ. |
ถือเขาถือเรา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเราถือเขา ก็ว่า. | ถือเขาถือเรา ก. ถือว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเราถือเขา ก็ว่า. |
ถือใจ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง มั่นใจ, สําคัญใจ. | ถือใจ ก. มั่นใจ, สําคัญใจ. |
ถือดี เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง ทะนงตัว, อวดดี, สําคัญว่ามีดีในตน, (มักเป็นไปในเชิงก้าวร้าวคนอื่นเป็นต้น). | ถือดี ก. ทะนงตัว, อวดดี, สําคัญว่ามีดีในตน, (มักเป็นไปในเชิงก้าวร้าวคนอื่นเป็นต้น). |
ถือตัว เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ไว้ตัวไม่ยอมลดตัวเพราะหยิ่งในศักดิ์หรือฐานะของตนเป็นต้น. | ถือตัว ก. ไว้ตัวไม่ยอมลดตัวเพราะหยิ่งในศักดิ์หรือฐานะของตนเป็นต้น. |
ถือท้าย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ทําหน้าที่บังคับเรือให้แล่นไปตามทิศทาง; โดยปริยายหมายความว่า เข้าข้าง เช่น ถือท้ายเด็ก; ควบคุม เช่น ถือท้ายรัฐนาวา. | ถือท้าย ก. ทําหน้าที่บังคับเรือให้แล่นไปตามทิศทาง; โดยปริยายหมายความว่า เข้าข้าง เช่น ถือท้ายเด็ก; ควบคุม เช่น ถือท้ายรัฐนาวา. |
ถือน้ำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา. | ถือน้ำ ก. ถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา. |
ถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ผู้-เท่า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ดื่มนํ้าสาบานถวายพระเจ้าแผ่นดิน, เรียกสั้น ๆ ว่า ถือนํ้า ก็มี. | ถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ก. ดื่มนํ้าสาบานถวายพระเจ้าแผ่นดิน, เรียกสั้น ๆ ว่า ถือนํ้า ก็มี. |
ถือบวช เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง | เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติพรตตามลัทธิศาสนา. | ถือบวช ก. ประพฤติพรตตามลัทธิศาสนา. |
ถือบังเหียน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง มีอํานาจบังคับให้เป็นไปตามต้องการ. | ถือบังเหียน ก. มีอํานาจบังคับให้เป็นไปตามต้องการ. |
ถือบ้านถือเมือง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ครองเมือง. | ถือบ้านถือเมือง ก. ครองเมือง. |
ถือปูน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาปูนโบกอิฐหรือสิ่งอื่นที่ก่อขึ้น. | ถือปูน ก. เอาปูนโบกอิฐหรือสิ่งอื่นที่ก่อขึ้น. |
ถือผิว เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือว่าเป็นคนละเชื้อชาติ (โดยเฉพาะใช้แก่พวกผิวขาวที่มีความรู้สึกรังเกียจพวกผิวดํา). | ถือผิว ก. ถือว่าเป็นคนละเชื้อชาติ (โดยเฉพาะใช้แก่พวกผิวขาวที่มีความรู้สึกรังเกียจพวกผิวดํา). |
ถือพล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-พอ-พาน-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง คุมกําลังทัพ. | ถือพล ก. คุมกําลังทัพ. |
ถือเพศ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา | เป็นคำกริยา หมายถึง ดำรงสภาพ เช่น ถือเพศเป็นนักบวช. | ถือเพศ ก. ดำรงสภาพ เช่น ถือเพศเป็นนักบวช. |
ถือยศ, ถือยศถือศักดิ์ ถือยศ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา ถือยศถือศักดิ์ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง ไว้ยศ, ปั้นยศ. | ถือยศ, ถือยศถือศักดิ์ ก. ไว้ยศ, ปั้นยศ. |
ถือเราถือเขา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเขาถือเรา ก็ว่า. | ถือเราถือเขา ก. ถือว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเขาถือเรา ก็ว่า. |
ถือว่า เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง จัดว่า, นัยว่า, ยอมรับว่า; ถือตัวว่า. | ถือว่า ก. จัดว่า, นัยว่า, ยอมรับว่า; ถือตัวว่า. |
ถือวิสาสะ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถือว่าสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น ถือวิสาสะหยิบหนังสือเพื่อนไปโดยไม่บอก. | ถือวิสาสะ ก. ถือว่าสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น ถือวิสาสะหยิบหนังสือเพื่อนไปโดยไม่บอก. |
ถือศักดินา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง มีศักดิ์โดยถือเอานาเป็นหลักในการกําหนดอํานาจและปรับไหม. | ถือศักดินา (โบ) ก. มีศักดิ์โดยถือเอานาเป็นหลักในการกําหนดอํานาจและปรับไหม. |
ถือศีล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง รักษาศีล. | ถือศีล ก. รักษาศีล. |
ถือสา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ยึดเอาเป็นเรื่องเป็นราว, ถือเอาเป็นโทษ, (มักใช้ในทางปฏิเสธ) เช่น เรื่องเล็กน้อยไม่ควรถือสา. | ถือสา ก. ยึดเอาเป็นเรื่องเป็นราว, ถือเอาเป็นโทษ, (มักใช้ในทางปฏิเสธ) เช่น เรื่องเล็กน้อยไม่ควรถือสา. |
ถือสิทธิ์ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำกริยา หมายถึง อ้างสิทธิ์หรืออํานาจที่มีอยู่, ลุอํานาจ. | ถือสิทธิ์ ก. อ้างสิทธิ์หรืออํานาจที่มีอยู่, ลุอํานาจ. |
ถือหาง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าทางฝ่ายที่ตนพอใจ. (มาจากภาษาชนไก่ ยึดเอาไก่ตัวใดตัวหนึ่งในการต่อรอง). | ถือหาง ก. เข้าทางฝ่ายที่ตนพอใจ. (มาจากภาษาชนไก่ ยึดเอาไก่ตัวใดตัวหนึ่งในการต่อรอง). |
ถือโอกาส เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ฉวยโอกาส. | ถือโอกาส ก. ฉวยโอกาส. |
ถุง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้สําหรับใส่สิ่งของ ทําด้วยผ้าหรือกระดาษเป็นต้น ก้นปิด ปากเปิด บางชนิดที่ปากมีหูรูดหรือหูหิ้ว, เรียกเครื่องใช้สําหรับสวมมือสวมเท้า มีลักษณะยืดหรือหดได้ ว่า ถุงมือ ถุงเท้า, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถุงนํ้าดี ถุงนํ้าครํ่า ถุงนํ้าตา, เรียกผ้านุ่งของผู้หญิงซึ่งใช้ผืนผ้าเย็บริมด้านข้างให้ติดกันว่า ผ้าถุง. | ถุง น. เครื่องใช้สําหรับใส่สิ่งของ ทําด้วยผ้าหรือกระดาษเป็นต้น ก้นปิด ปากเปิด บางชนิดที่ปากมีหูรูดหรือหูหิ้ว, เรียกเครื่องใช้สําหรับสวมมือสวมเท้า มีลักษณะยืดหรือหดได้ ว่า ถุงมือ ถุงเท้า, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ถุงนํ้าดี ถุงนํ้าครํ่า ถุงนํ้าตา, เรียกผ้านุ่งของผู้หญิงซึ่งใช้ผืนผ้าเย็บริมด้านข้างให้ติดกันว่า ผ้าถุง. |
ถุงเค้า เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ต้นทุนในการพนัน; ผู้ถือต้นทุนในการพนัน. | ถุงเค้า น. ต้นทุนในการพนัน; ผู้ถือต้นทุนในการพนัน. |
ถุงตะเครียว, ถุงตะเคียว ถุงตะเครียว เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ถุงตะเคียว เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ถุงที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นต้นเป็นตาโปร่ง มีหูรูด สําหรับหุ้มถลกบาตร (ใช้เฉพาะในพิธีอุปสมบท). | ถุงตะเครียว, ถุงตะเคียว น. ถุงที่ถักด้วยด้ายหรือไหมเป็นต้นเป็นตาโปร่ง มีหูรูด สําหรับหุ้มถลกบาตร (ใช้เฉพาะในพิธีอุปสมบท). |
ถุงย่าม เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้สําหรับใส่สิ่งของเล็ก ๆ น้อย ๆ ทําด้วยผ้า มีหูหรือสายในตัวสําหรับสะพาย, ย่าม ก็ว่า. | ถุงย่าม น. เครื่องใช้สําหรับใส่สิ่งของเล็ก ๆ น้อย ๆ ทําด้วยผ้า มีหูหรือสายในตัวสําหรับสะพาย, ย่าม ก็ว่า. |
ถุงสำเร็จ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-จอ-จาน | เป็นคำนาม หมายถึง กระโปรงผู้หญิงที่ตัดเย็บแบบผ้านุ่งป้าย. | ถุงสำเร็จ น. กระโปรงผู้หญิงที่ตัดเย็บแบบผ้านุ่งป้าย. |
ถุน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง กินหรือเสพพอแก้ขัด เช่น ถุนขี้ยา. | ถุน (ปาก) ก. กินหรือเสพพอแก้ขัด เช่น ถุนขี้ยา. |
ถุย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่ม เช่น ถุยของในปากออกมา, ถ่มนํ้าลายมีเสียงดังเช่นนั้น; ออกเสียงดังเช่นนั้นแสดงกิริยาดูถูกดูหมิ่น. | ถุย ก. ถ่ม เช่น ถุยของในปากออกมา, ถ่มนํ้าลายมีเสียงดังเช่นนั้น; ออกเสียงดังเช่นนั้นแสดงกิริยาดูถูกดูหมิ่น. |
ถุล, ถุลละ ถุล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง ถุลละ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [ถุนละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ้วน, พี; หยาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ถูล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง ถุลฺล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง และมาจากภาษาสันสกฤต สฺถูล เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง. | ถุล, ถุลละ [ถุนละ] (แบบ) ว. อ้วน, พี; หยาบ. (ป. ถูล, ถุลฺล; ส. สฺถูล). |
ถู เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู | เป็นคำกริยา หมายถึง สี เช่น ถูขี้ไคล ถูฟัน ถูเนื้อถูตัว, เช็ดโดยวิธีใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งไถไปไถมาให้สะอาด เช่น ถูบ้าน. | ถู ก. สี เช่น ถูขี้ไคล ถูฟัน ถูเนื้อถูตัว, เช็ดโดยวิธีใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งไถไปไถมาให้สะอาด เช่น ถูบ้าน. |
ถูไถ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง | เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ข้อขัดข้องพอให้ลุล่วงไปได้ เช่น พอถูไถไปได้, ยังใช้ได้ก็ทนใช้ไป เช่น ยังใช้ถูไถไปได้ ใช้ถูไถมานาน. | ถูไถ ก. แก้ข้อขัดข้องพอให้ลุล่วงไปได้ เช่น พอถูไถไปได้, ยังใช้ได้ก็ทนใช้ไป เช่น ยังใช้ถูไถไปได้ ใช้ถูไถมานาน. |
ถูลู่ถูกัง เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ลากดึงหรือฉุดไปให้ได้โดยไม่ปรานีปราศรัย; ถูไถ เช่น ถูลู่ถูกังใช้ไปก่อน. | ถูลู่ถูกัง ก. อาการที่ลากดึงหรือฉุดไปให้ได้โดยไม่ปรานีปราศรัย; ถูไถ เช่น ถูลู่ถูกังใช้ไปก่อน. |
ถูก เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง โดน, แตะต้อง, สัมผัส, เช่น ถูกเนื้อถูกตัว; เหมาะกัน, เข้ากัน, เช่น ถูกนิสัย; ตรงกันกับ เช่น ถูกกฎหมาย ถูกลอตเตอรี่; เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทํา (มักใช้ในข้อความที่ทําให้ผู้ถูกทําเดือดร้อนหรือไม่พอใจ) เช่น ถูกเฆี่ยน ถูกลงโทษ. | ถูก ๑ ก. โดน, แตะต้อง, สัมผัส, เช่น ถูกเนื้อถูกตัว; เหมาะกัน, เข้ากัน, เช่น ถูกนิสัย; ตรงกันกับ เช่น ถูกกฎหมาย ถูกลอตเตอรี่; เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทํา (มักใช้ในข้อความที่ทําให้ผู้ถูกทําเดือดร้อนหรือไม่พอใจ) เช่น ถูกเฆี่ยน ถูกลงโทษ. |
ถูกกระทำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกทำให้มีอันเป็นไปต่าง ๆ โดยวิธีใช้เวทมนตร์เป็นต้น. | ถูกกระทำ ก. ถูกทำให้มีอันเป็นไปต่าง ๆ โดยวิธีใช้เวทมนตร์เป็นต้น. |
ถูกกัน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้ากันได้, ชอบพอกัน. | ถูกกัน ก. เข้ากันได้, ชอบพอกัน. |
ถูกขา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้ากันได้, รู้ชั้นเชิงกัน, (มักใช้ในการพนันและการเล่นกีฬา). | ถูกขา ก. เข้ากันได้, รู้ชั้นเชิงกัน, (มักใช้ในการพนันและการเล่นกีฬา). |
ถูกคอ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบพอ, ถูกอัธยาศัยกัน, มีรสนิยมเข้ากันได้. | ถูกคอ ก. ชอบพอ, ถูกอัธยาศัยกัน, มีรสนิยมเข้ากันได้. |
ถูกคู่ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าคู่กันได้. | ถูกคู่ ก. เข้าคู่กันได้. |
ถูกใจ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบ, ต้องใจ, ถูกอกถูกใจ ก็ว่า. | ถูกใจ ก. ชอบ, ต้องใจ, ถูกอกถูกใจ ก็ว่า. |
ถูกโฉลก เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ฉอ-ฉิ่ง-ลอ-ลิง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกตามตำรับนับโฉลก, ถูกชะตากัน, เป็นมงคล. | ถูกโฉลก ก. ถูกตามตำรับนับโฉลก, ถูกชะตากัน, เป็นมงคล. |
ถูกชะตา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อะ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกใจกันแต่แรกเห็น. | ถูกชะตา ก. ถูกใจกันแต่แรกเห็น. |
ถูกตา เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, น่าดู, ต้องตา. | ถูกตา ว. งาม, น่าดู, ต้องตา. |
ถูกน้อย เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-นอ-หนู-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกลักษณะอย่างวิ่งน้อย เป็นอาการของม้าวิ่งเรียบ ๆ ช้า ๆ. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔. | ถูกน้อย (โบ) ก. ถูกลักษณะอย่างวิ่งน้อย เป็นอาการของม้าวิ่งเรียบ ๆ ช้า ๆ. (อิเหนา). |
ถูกปาก เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อร่อย. | ถูกปาก ว. อร่อย. |
ถูกส่วน เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ได้สัดส่วน, สมส่วน. | ถูกส่วน ว. ได้สัดส่วน, สมส่วน. |
ถูกเส้น เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้ากันได้, ชอบพอกัน, ถูกอกถูกใจ. | ถูกเส้น (ปาก) ว. เข้ากันได้, ชอบพอกัน, ถูกอกถูกใจ. |
ถูกใหญ่ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง ถูกลักษณะอย่างวิ่งใหญ่ เป็นอาการของม้าวิ่งอย่างเร็ว. | ถูกใหญ่ (โบ) ก. ถูกลักษณะอย่างวิ่งใหญ่ เป็นอาการของม้าวิ่งอย่างเร็ว. |
ถูกอกถูกใจ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-จอ-จาน | เป็นคำกริยา หมายถึง ชอบ, ต้องใจ, ถูกใจ ก็ว่า. | ถูกอกถูกใจ ก. ชอบ, ต้องใจ, ถูกใจ ก็ว่า. |
ถูก เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จริง, ชอบ เช่น ถูกใจ, เหมาะสม, ไม่ผิด เช่น คิดถูก ทําถูก; มีราคาตํ่า, ไม่แพง. | ถูก ๒ ว. จริง, ชอบ เช่น ถูกใจ, เหมาะสม, ไม่ผิด เช่น คิดถูก ทําถูก; มีราคาตํ่า, ไม่แพง. |
ถูป มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา | [ถูปะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง เจดีย์ซึ่งก่อไว้สําหรับบรรจุของควรบูชา มีกระดูกของบุคคลที่นับถือเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถูป [ถูปะ] (แบบ) น. เจดีย์ซึ่งก่อไว้สําหรับบรรจุของควรบูชา มีกระดูกของบุคคลที่นับถือเป็นต้น. (ป.). |
ถูปารหบุคคล เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | [ระหะ] เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่ควรนํากระดูกบรรจุสถูปไว้บูชา ได้แก่พระพุทธเจ้าเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ถูปารหบุคคล [ระหะ] น. บุคคลที่ควรนํากระดูกบรรจุสถูปไว้บูชา ได้แก่พระพุทธเจ้าเป็นต้น. (ป.). |
ถูล มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง | [ถูละ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ้วน, พี; หยาบ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต สฺถูล เขียนว่า สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง. | ถูล [ถูละ] (แบบ) ว. อ้วน, พี; หยาบ. (ป.; ส. สฺถูล). |
เถกิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | [ถะเกิง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงศักดิ์, รุ่งเรือง, กึกก้อง, ลั่นลือ, ใช้แผลงเป็น ดําเกิง ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร เถฺกีง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-งอ-งู. | เถกิง [ถะเกิง] ว. สูงศักดิ์, รุ่งเรือง, กึกก้อง, ลั่นลือ, ใช้แผลงเป็น ดําเกิง ก็มี. (ข. เถฺกีง). |
เถน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง นักบวชที่เป็นอลัชชี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เถน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู ว่า ขโมย . | เถน น. นักบวชที่เป็นอลัชชี. (ป. เถน ว่า ขโมย). |
เถย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก | [เถยยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นขโมย (มักใช้นําหน้าสมาส). ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เถยฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | เถย [เถยยะ] น. ความเป็นขโมย (มักใช้นําหน้าสมาส). (ป. เถยฺย). |
เถยจิต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | เป็นคำนาม หมายถึง จิตประกอบด้วยความเป็นขโมย, จิตคิดขโมย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เถยฺยจิตฺต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | เถยจิต น. จิตประกอบด้วยความเป็นขโมย, จิตคิดขโมย. (ป. เถยฺยจิตฺต). |
เถยเจตนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เจตนาในทางเป็นขโมย, ความตั้งใจจะขโมย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เถยฺยเจตนา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา. | เถยเจตนา น. เจตนาในทางเป็นขโมย, ความตั้งใจจะขโมย. (ป. เถยฺยเจตนา). |
เถยสังวาส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | เป็นคำนาม หมายถึง ลักเพศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เถยฺยสํวาส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก-สอ-เสือ-นิก-คะ-หิด-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ. | เถยสังวาส น. ลักเพศ. (ป. เถยฺยสํวาส). |
เถร, เถร, เถระ เถร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ เถร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ เถระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [เถน, เถระ] เป็นคำนาม หมายถึง พระผู้ใหญ่ ตามพระวินัยกําหนดว่า พระมีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป เรียกว่า พระเถระ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เถร, เถร, เถระ [เถน, เถระ] น. พระผู้ใหญ่ ตามพระวินัยกําหนดว่า พระมีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป เรียกว่า พระเถระ. (ป.). |
เถรตรง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ซื่อหรือตรงจนเกินไป, ไม่มีไหวพริบ, ไม่รู้จักผ่อนผันสั้นยาว, ไม่รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา. | เถรตรง (สำ) ว. ซื่อหรือตรงจนเกินไป, ไม่มีไหวพริบ, ไม่รู้จักผ่อนผันสั้นยาว, ไม่รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา. |
เถรภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ | [เถระพูม] เป็นคำนาม หมายถึง ขั้นหรือชั้นแห่งพระเถระ, ทางคณะสงฆ์จัดภิกษุเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาตํ่ากว่า ๕ ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ (ชั้นกลาง) มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ และชั้นสุดคือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป. | เถรภูมิ [เถระพูม] น. ขั้นหรือชั้นแห่งพระเถระ, ทางคณะสงฆ์จัดภิกษุเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาตํ่ากว่า ๕ ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ (ชั้นกลาง) มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ และชั้นสุดคือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป. |
เถรวาท เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน | [เถระวาด] เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิที่ถือตามคติซึ่งพระเถระพุทธสาวกได้ทําสังคายนาไว้, หินยาน หรือ ทักษิณนิกาย ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เถรวาท [เถระวาด] น. ลัทธิที่ถือตามคติซึ่งพระเถระพุทธสาวกได้ทําสังคายนาไว้, หินยาน หรือ ทักษิณนิกาย ก็ว่า. (ป.). |
เถรส่องบาตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สอ-เสือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทําอะไรตามเขาทั้ง ๆ ที่ไม่รู้เรื่องรู้ราว. | เถรส่องบาตร (สำ) น. คนที่ทําอะไรตามเขาทั้ง ๆ ที่ไม่รู้เรื่องรู้ราว. |
เถรานุเถระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง พระเถระผู้ใหญ่ผู้น้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เถรานุเถระ น. พระเถระผู้ใหญ่ผู้น้อย. (ป.). |
เถรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง พระเถระผู้หญิง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | เถรี น. พระเถระผู้หญิง. (ป.). |
เถรานุเถระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | ดู เถร, เถร, เถระ เถร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ เถร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ เถระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | เถรานุเถระ ดู เถร, เถร, เถระ. |
เถรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ดู เถร, เถร, เถระ เถร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ เถร มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ เถระ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ . | เถรี ดู เถร, เถร, เถระ. |
เถลไถล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง | [ถะเหฺลถะไหฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตรงไปตรงมาเที่ยวแวะโน่นแวะนี่. | เถลไถล [ถะเหฺลถะไหฺล] ว. ไม่ตรงไปตรงมาเที่ยวแวะโน่นแวะนี่. |
เถลิก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [ถะเหฺลิก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เถิก, เลิกขึ้นไป, เช่น ขากางเกงเถลิกขึ้นไป. | เถลิก [ถะเหฺลิก] ว. เถิก, เลิกขึ้นไป, เช่น ขากางเกงเถลิกขึ้นไป. |
เถลิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | [ถะเหฺลิง] เป็นคำกริยา หมายถึง ขึ้น เช่น เถลิงราชย์ เถลิงอํานาจ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขึ้นหนุ่ม, ขึ้นเปลี่ยว, เช่น วัวเถลิง. | เถลิง [ถะเหฺลิง] ก. ขึ้น เช่น เถลิงราชย์ เถลิงอํานาจ. ว. ขึ้นหนุ่ม, ขึ้นเปลี่ยว, เช่น วัวเถลิง. |
เถลิงศก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สอ-สา-ลา-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง วันที่ดวงอาทิตย์โคจรขาดจากราศีมีนขึ้นสู่ราศีเมษได้องศาหนึ่งแล้ว เรียกว่า วันเถลิงศกขึ้นจุลศักราชใหม่ อยู่ต่อจากวันเนา ปรกติตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน, ปัจจุบันหมายถึง วันขึ้นปีใหม่. | เถลิงศก น. วันที่ดวงอาทิตย์โคจรขาดจากราศีมีนขึ้นสู่ราศีเมษได้องศาหนึ่งแล้ว เรียกว่า วันเถลิงศกขึ้นจุลศักราชใหม่ อยู่ต่อจากวันเนา ปรกติตรงกับวันที่ ๑๕ เมษายน, ปัจจุบันหมายถึง วันขึ้นปีใหม่. |
เถลือกถลน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-นอ-หนู | [ถะเหฺลือกถะหฺลน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลุกลน, ลนลาน, รีบร้อนจนขาดความระมัดระวัง, ถลีถลํา ก็ว่า. | เถลือกถลน [ถะเหฺลือกถะหฺลน] ว. ลุกลน, ลนลาน, รีบร้อนจนขาดความระมัดระวัง, ถลีถลํา ก็ว่า. |
เถ่อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค้างอยู่ (ใช้แก่อาการยืนหรือแหงน) เช่น หน้าแหงนเถ่อ ยืนเถ่อ. | เถ่อ ว. ค้างอยู่ (ใช้แก่อาการยืนหรือแหงน) เช่น หน้าแหงนเถ่อ ยืนเถ่อ. |
เถอะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถอะ มาเถอะ กินเถอะ, เถิด ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะ ก็มี. | เถอะ ว. คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถอะ มาเถอะ กินเถอะ, เถิด ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะ ก็มี. |
เถอะน่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถอะน่า, เถิดน่า ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะน่า ก็มี. | เถอะน่า ว. คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถอะน่า, เถิดน่า ก็ว่า, พูดเพี้ยนเป็น เหอะน่า ก็มี. |
เถะ, เถะ ๆ เถะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ เถะ ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อะ ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่มีอะไรปิดบัง (ใช้แก่ร่างกายที่ค่อนข้างอ้วน) เช่น อ้วนเถะ เนื้อเถะ ๆ. | เถะ, เถะ ๆ ว. ไม่มีอะไรปิดบัง (ใช้แก่ร่างกายที่ค่อนข้างอ้วน) เช่น อ้วนเถะ เนื้อเถะ ๆ. |
เถา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง เครือไม้, ลําต้นของไม้เลื้อย; ภาชนะที่จัดเข้าเป็นชุดเดียวกันอย่างปิ่นโต, ภาชนะหรือสิ่งของในจําพวกเดียวกันที่ใหญ่ รอง และเล็ก เรียงไปตามลําดับอย่างตะลุ่มมุกหรือหม้อ, ลักษณนามเรียกภาชนะที่จัดเข้าเป็นชุดเดียวกัน เช่น ปิ่นโตเถาหนึ่ง ปิ่นโต ๒ เถา หรือเรียกภาชนะหรือสิ่งของในจําพวกเดียวกันที่ใหญ่ รอง และเล็ก เรียงไปตามลําดับ เช่น ตะลุ่มมุกเถาหนึ่ง หม้อ ๒ เถา; เพลงมโหรีปี่พาทย์ซึ่งเป็นเพลงเดียวกัน แต่มีอัตราลดหลั่นกันลงไปเป็นลําดับไม่ตํ่ากว่า ๓ ขั้น และบรรเลงติดต่อกันไปไม่ขาดระยะจนจบ เรียกว่า เพลงเถา เช่น เพลงแขกมอญเถา เพลงราตรีประดับดาวเถา. | เถา น. เครือไม้, ลําต้นของไม้เลื้อย; ภาชนะที่จัดเข้าเป็นชุดเดียวกันอย่างปิ่นโต, ภาชนะหรือสิ่งของในจําพวกเดียวกันที่ใหญ่ รอง และเล็ก เรียงไปตามลําดับอย่างตะลุ่มมุกหรือหม้อ, ลักษณนามเรียกภาชนะที่จัดเข้าเป็นชุดเดียวกัน เช่น ปิ่นโตเถาหนึ่ง ปิ่นโต ๒ เถา หรือเรียกภาชนะหรือสิ่งของในจําพวกเดียวกันที่ใหญ่ รอง และเล็ก เรียงไปตามลําดับ เช่น ตะลุ่มมุกเถาหนึ่ง หม้อ ๒ เถา; เพลงมโหรีปี่พาทย์ซึ่งเป็นเพลงเดียวกัน แต่มีอัตราลดหลั่นกันลงไปเป็นลําดับไม่ตํ่ากว่า ๓ ขั้น และบรรเลงติดต่อกันไปไม่ขาดระยะจนจบ เรียกว่า เพลงเถา เช่น เพลงแขกมอญเถา เพลงราตรีประดับดาวเถา. |
เถาดาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นลําแข็งตั้งขึ้นที่ยอดอกแล้วลามลงไปถึงท้องน้อย ทําให้เจ็บปวด จุกเสียด แน่นหน้าอก. | เถาดาน น. ชื่อโรคชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นลําแข็งตั้งขึ้นที่ยอดอกแล้วลามลงไปถึงท้องน้อย ทําให้เจ็บปวด จุกเสียด แน่นหน้าอก. |
เถ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เป็นผงละเอียดของสิ่งที่เหลือจากไฟเผามอดแล้ว, ขี้เถ้า ก็ว่า. | เถ้า ๑ น. สิ่งที่เป็นผงละเอียดของสิ่งที่เหลือจากไฟเผามอดแล้ว, ขี้เถ้า ก็ว่า. |
เถ้ารึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง กองเถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนระอุอยู่, เท่ารึง ก็ใช้. | เถ้ารึง น. กองเถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนระอุอยู่, เท่ารึง ก็ใช้. |
เถ้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แก่, มีอายุมาก, โดยมากใช้ เฒ่า. | เถ้า ๒ ว. แก่, มีอายุมาก, โดยมากใช้ เฒ่า. |
เถ้าแก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ตําแหน่งข้าราชการฝ่ายในในพระราชสํานัก; ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น; เรียกชายจีนที่เป็นผู้ใหญ่และมีฐานะดี, เรียกชายจีนที่เป็นเจ้าของกิจการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน เถ่าแก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก. | เถ้าแก่ น. ตําแหน่งข้าราชการฝ่ายในในพระราชสํานัก; ผู้ใหญ่ที่เป็นประธานในการสู่ขอและการหมั้น; เรียกชายจีนที่เป็นผู้ใหญ่และมีฐานะดี, เรียกชายจีนที่เป็นเจ้าของกิจการ. (จ. เถ่าแก่). |
เถ้าแก่เนี้ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เรียกหญิงจีนที่เป็นเจ้าของกิจการหรือเป็นภรรยาของเถ้าแก่. | เถ้าแก่เนี้ย น. เรียกหญิงจีนที่เป็นเจ้าของกิจการหรือเป็นภรรยาของเถ้าแก่. |
เถาคัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถา ๒ ชนิดในวงศ์ Vitaceae ขอบใบหยัก มีมือเกาะออกตรงข้ามใบ ชนิด Cayratia trifolia (L.) Domin ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ พันธุ์ใบแดงเรียก เถาคันแดง, อีกชนิดหนึ่งคือ Cissus repens Lam. ใบเดี่ยว. | เถาคัน น. ชื่อไม้เถา ๒ ชนิดในวงศ์ Vitaceae ขอบใบหยัก มีมือเกาะออกตรงข้ามใบ ชนิด Cayratia trifolia (L.) Domin ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ พันธุ์ใบแดงเรียก เถาคันแดง, อีกชนิดหนึ่งคือ Cissus repens Lam. ใบเดี่ยว. |
เถาคันเหล็ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Ventilago cristata Pierre ในวงศ์ Rhamnaceae ใบเดี่ยว ผลมีปีก. | เถาคันเหล็ก น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Ventilago cristata Pierre ในวงศ์ Rhamnaceae ใบเดี่ยว ผลมีปีก. |
เถาเงาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | ดู กะทกรก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ (๒). | เถาเงาะ ดู กะทกรก (๒). |
เถามวก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่ | ดู มวก เขียนว่า มอ-ม้า-วอ-แหวน-กอ-ไก่. | เถามวก ดู มวก. |
เถาวัลย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พรรณไม้ที่เป็นเถา, พรรณไม้เลื้อย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต วลฺลิ เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ วลฺลี เขียนว่า วอ-แหวน-ลอ-ลิง-พิน-ทุ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี . | เถาวัลย์ น. พรรณไม้ที่เป็นเถา, พรรณไม้เลื้อย. (ป., ส. วลฺลิ, วลฺลี). |
เถาวัลย์กรด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก | ดู กรด เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๓. | เถาวัลย์กรด ดู กรด ๓. |
เถาวัลย์เขียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | ดู ย่านาง เขียนว่า ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒. | เถาวัลย์เขียว ดู ย่านาง ๒. |
เถาวัลย์ปูน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อู-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Cissus repanda Vahl ในวงศ์ Vitaceae เถามีคราบขาว. | เถาวัลย์ปูน น. ชื่อไม้เถาชนิด Cissus repanda Vahl ในวงศ์ Vitaceae เถามีคราบขาว. |
เถาวัลย์เปรียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Derris scandens (Roxb.) Benth. ในวงศ์ Leguminosae เถาใช้ทํายาได้. | เถาวัลย์เปรียง น. ชื่อไม้เถาเนื้อแข็งชนิด Derris scandens (Roxb.) Benth. ในวงศ์ Leguminosae เถาใช้ทํายาได้. |
เถาวัลย์ยอดด้วน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-ยอ-ยัก-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู | ดู เถาหัวด้วน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู. | เถาวัลย์ยอดด้วน ดู เถาหัวด้วน. |
เถาวัลย์เหล็ก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่ | ดู รางแดง เขียนว่า รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู. | เถาวัลย์เหล็ก ดู รางแดง. |
เถาสิงโต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-ตอ-เต่า | ดู กะทกรก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่ (๒). | เถาสิงโต ดู กะทกรก (๒). |
เถาหัวด้วน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาไร้ใบ ๒ ชนิดในสกุล Sarcostemma วงศ์ Asclepiadaceae คือ ชนิด S. acidum J. Voigt และชนิด S. brunonianum Wight et Arn. ทั้ง ๒ ชนิดใช้ทำยาได้, เถาวัลย์ยอดด้วน ก็เรียก. | เถาหัวด้วน น. ชื่อไม้เถาไร้ใบ ๒ ชนิดในสกุล Sarcostemma วงศ์ Asclepiadaceae คือ ชนิด S. acidum J. Voigt และชนิด S. brunonianum Wight et Arn. ทั้ง ๒ ชนิดใช้ทำยาได้, เถาวัลย์ยอดด้วน ก็เรียก. |
เถาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปีที่ ๔ ของรอบปีนักษัตร มีกระต่ายเป็นเครื่องหมาย. | เถาะ น. ชื่อปีที่ ๔ ของรอบปีนักษัตร มีกระต่ายเป็นเครื่องหมาย. |
เถิก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เถลิก, ลักษณะของหน้าผากที่ผมถอยร่นสูงขึ้นไปหรือขึ้นอยู่สูงกว่าปรกติ. | เถิก ว. เถลิก, ลักษณะของหน้าผากที่ผมถอยร่นสูงขึ้นไปหรือขึ้นอยู่สูงกว่าปรกติ. |
เถิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ถึง. | เถิง ก. ถึง. |
เถิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถิด มาเถิด กินเถิด, เถอะ ก็ว่า. | เถิด ว. คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง เช่น เอาเถิด มาเถิด กินเถิด, เถอะ ก็ว่า. |
เถิดน่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถิดน่า, เถอะน่า ก็ว่า. | เถิดน่า ว. คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือวิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถิดน่า, เถอะน่า ก็ว่า. |
เถิดเทิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง กลองยาว. | เถิดเทิง น. กลองยาว. |
เถิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ตอน, เป็นเนิน, สูง. | เถิน ว. ตอน, เป็นเนิน, สูง. |
เถียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง พูดโต้, พูดแย้ง, พูดโต้แย้ง; ขัดกัน เช่น เรื่องนี้ความตอนต้นกับตอนปลายเถียงกัน. | เถียง ๑ ก. พูดโต้, พูดแย้ง, พูดโต้แย้ง; ขัดกัน เช่น เรื่องนี้ความตอนต้นกับตอนปลายเถียงกัน. |
เถียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เรือนพักชั่วคราวในทุ่งนา สําหรับอยู่เฝ้าข้าว. | เถียง ๒ (ถิ่นอีสาน) น. เรือนพักชั่วคราวในทุ่งนา สําหรับอยู่เฝ้าข้าว. |
เถียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง. (แผลงมาจาก ถิร). | เถียร ว. มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง. (แผลงมาจาก ถิร). |
เถือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง เชือดเฉือนลงไปอย่างแรงด้วยของมีคม เช่น หนังเหนียวเถือไม่เข้า. | เถือ ก. เชือดเฉือนลงไปอย่างแรงด้วยของมีคม เช่น หนังเหนียวเถือไม่เข้า. |
เถือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดาษไป, ทั่วไป, (ใช้แก่สีแดง ในคําว่า แดงเถือก); จ้า, โพลง, พราว, เช่น เถือกถ่อง เถือกทินกร. | เถือก ว. ดาษไป, ทั่วไป, (ใช้แก่สีแดง ในคําว่า แดงเถือก); จ้า, โพลง, พราว, เช่น เถือกถ่อง เถือกทินกร. |
เถื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ป่า เช่น เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ห่างไกลจากที่อยู่ของคน, ห่างไกลจากความเจริญ, มักใช้ประกอบคํา ป่า เป็น ป่าเถื่อน; ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย เช่น เหล้าเถื่อน ฝิ่นเถื่อน ปืนเถื่อน หมอเถื่อน. | เถื่อน น. ป่า เช่น เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า. ว. ห่างไกลจากที่อยู่ของคน, ห่างไกลจากความเจริญ, มักใช้ประกอบคํา ป่า เป็น ป่าเถื่อน; ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย เช่น เหล้าเถื่อน ฝิ่นเถื่อน ปืนเถื่อน หมอเถื่อน. |
แถ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่นกเป็นต้นเอียงปีกร่อนลง, อาการที่ของแบน ๆ เช่นกระเบื้องหรือรูป แฉลบหรือร่อนไปเฉียง ๆ, โดยปริยายเรียกอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วัน ๆ ไม่เห็นทำการทำงาน ได้แต่แถไปโน่นไปนี่. | แถ ๑ ก. อาการที่นกเป็นต้นเอียงปีกร่อนลง, อาการที่ของแบน ๆ เช่นกระเบื้องหรือรูป แฉลบหรือร่อนไปเฉียง ๆ, โดยปริยายเรียกอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วัน ๆ ไม่เห็นทำการทำงาน ได้แต่แถไปโน่นไปนี่. |
แถ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เตียน, ทําให้โล่ง, เช่น แถผม แถหัว หมายถึง โกนผม โกนหัว. | แถ ๒ (ถิ่นอีสาน) ก. ทําให้เตียน, ทําให้โล่ง, เช่น แถผม แถหัว หมายถึง โกนผม โกนหัว. |
แถก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ถ่าง, กาง, เช่น ปลาแถกเหงือก; เสือกไป, ไถไป, ดิ้นรน, เช่น บพิตรพณเกล้า ข้าเห็นพราหมณ์เถ้าแถกมาถึง ชาวกาลึงคราษฎร์ฦๅ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร; ถาก, ปาด, เช่น นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ. (กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พระยาอุปกิตศิลปสาร); กัดถลาก ๆ เช่น หมาแถกเอา; แทะด้วยหน้าฟัน เช่น หมาแถกกะลามะพร้าว; โกนผมโดยใช้มีดกดลงอย่างแรงและลากไปเป็นทางยาวอย่างไม่ประณีต ในคําว่า แถกผม; กระเสือกกระสน เช่น ปลาช่อนก็ดิ้นแถกโผล่ขึ้นมาอาศัยอยู่ในหนองน้ำนั้นต่อไปใหม่. (สารคดีชีวิตสัตว์ของนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล). | แถก ก. ถ่าง, กาง, เช่น ปลาแถกเหงือก; เสือกไป, ไถไป, ดิ้นรน, เช่น บพิตรพณเกล้า ข้าเห็นพราหมณ์เถ้าแถกมาถึง ชาวกาลึงคราษฎร์ฦๅ. (ม. คำหลวง กุมาร); ถาก, ปาด, เช่น นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ. (กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พระยาอุปกิตศิลปสาร); กัดถลาก ๆ เช่น หมาแถกเอา; แทะด้วยหน้าฟัน เช่น หมาแถกกะลามะพร้าว; โกนผมโดยใช้มีดกดลงอย่างแรงและลากไปเป็นทางยาวอย่างไม่ประณีต ในคําว่า แถกผม; กระเสือกกระสน เช่น ปลาช่อนก็ดิ้นแถกโผล่ขึ้นมาอาศัยอยู่ในหนองน้ำนั้นต่อไปใหม่. (สารคดีชีวิตสัตว์ของนายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล). |
แถง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-งอ-งู | [ถะแหฺง] เป็นคำนาม หมายถึง ดวงเดือน, เดือน. | แถง [ถะแหฺง] น. ดวงเดือน, เดือน. |
แถน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เทวดา, ฟ้า. | แถน น. เทวดา, ฟ้า. |
แถบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สิ่งที่แบนยาว เช่น แถบทอง ผ้าแถบ; ซีก, ด้าน, เช่น ร่างกายตายไปแถบหนึ่ง ไฟไหม้ไปแถบหนึ่ง; ถิ่น, แถว, เช่น อยู่แถบนี้; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง เรียกเงินรูปีที่เคยใช้ในพม่าว่า เงินแถบ. | แถบ ว. สิ่งที่แบนยาว เช่น แถบทอง ผ้าแถบ; ซีก, ด้าน, เช่น ร่างกายตายไปแถบหนึ่ง ไฟไหม้ไปแถบหนึ่ง; ถิ่น, แถว, เช่น อยู่แถบนี้; (ถิ่นพายัพ) เรียกเงินรูปีที่เคยใช้ในพม่าว่า เงินแถบ. |
แถบบันทึกภาพ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อา-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณภาพ. | แถบบันทึกภาพ น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณภาพ. |
แถบบันทึกเสียง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง. | แถบบันทึกเสียง น. แถบเคลือบสารแม่เหล็ก ใช้บันทึกสัญญาณเสียง. |
แถบเหล็กพืด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-พอ-พาน-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กเหนียวชนิดหนึ่งเป็นแผ่นยาวอย่างเหล็กทําปลอกถัง. | แถบเหล็กพืด น. เหล็กเหนียวชนิดหนึ่งเป็นแผ่นยาวอย่างเหล็กทําปลอกถัง. |
แถม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เติมให้, เพิ่มให้, (มักใช้ในการซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน หรือให้). เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เติมให้, ที่เพิ่มให้, เช่น ของแถม. | แถม ก. เติมให้, เพิ่มให้, (มักใช้ในการซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน หรือให้). ว. ที่เติมให้, ที่เพิ่มให้, เช่น ของแถม. |
แถมพก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-พอ-พาน-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง ให้สิ่งของตอบแทนเป็นไมตรี, แถมให้เป็นพิเศษ, เช่น แถมพกแก่ผู้มาซื้อของ. | แถมพก ก. ให้สิ่งของตอบแทนเป็นไมตรี, แถมให้เป็นพิเศษ, เช่น แถมพกแก่ผู้มาซื้อของ. |
แถลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู | [ถะแหฺลง] เป็นคำกริยา หมายถึง บอก เล่า หรือแจ้งให้ทราบเป็นทางการ เช่น แถลงข่าว, กล่าวอธิบาย เช่น จะแถลงให้ทราบ; แสวง เช่น บัดแถลง. | แถลง [ถะแหฺลง] ก. บอก เล่า หรือแจ้งให้ทราบเป็นทางการ เช่น แถลงข่าว, กล่าวอธิบาย เช่น จะแถลงให้ทราบ; แสวง เช่น บัดแถลง. |
แถลงการณ์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการหรือเหตุการณ์หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทั่วกัน. เป็นคำกริยา หมายถึง อธิบายเหตุการณ์เป็นทางการ. | แถลงการณ์ (กฎ) น. บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทำความเข้าใจในกิจการของทางราชการหรือเหตุการณ์หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทั่วกัน. ก. อธิบายเหตุการณ์เป็นทางการ. |
แถลงการณ์ร่วม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง คําแถลงการณ์ของผู้เข้าประชุมทุกฝ่ายที่ได้ลงนามร่วมกัน เพื่อแถลงให้ประชาชนทั่วไปทราบ. | แถลงการณ์ร่วม น. คําแถลงการณ์ของผู้เข้าประชุมทุกฝ่ายที่ได้ลงนามร่วมกัน เพื่อแถลงให้ประชาชนทั่วไปทราบ. |
แถลงข่าว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง ให้ข่าวเป็นทางการ. | แถลงข่าว ก. ให้ข่าวเป็นทางการ. |
แถลงคารม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก และเป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง แถลงการณ์ด้วยวาจา. | แถลงคารม (ปาก; โบ) ก. แถลงการณ์ด้วยวาจา. |
แถลบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ | [ถะแหฺลบ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอียง เช่น นกบินแถลบ, มักใช้ว่า แฉลบ. | แถลบ [ถะแหฺลบ] ว. เอียง เช่น นกบินแถลบ, มักใช้ว่า แฉลบ. |
แถว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-ถอ-ถุง-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง แถบ เช่น คนแถวนี้, คนหรือสิ่งที่เรียงเป็นเส้นเป็นแนว เช่น แถวทหาร. | แถว น. แถบ เช่น คนแถวนี้, คนหรือสิ่งที่เรียงเป็นเส้นเป็นแนว เช่น แถวทหาร. |
โถ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะโดยมากทําด้วยดินเผาหรือกระเบื้องเคลือบปากกว้าง มีฝาปิด, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น โกศโถ. | โถ ๑ น. ภาชนะโดยมากทําด้วยดินเผาหรือกระเบื้องเคลือบปากกว้าง มีฝาปิด, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น โกศโถ. |
โถเครื่องแป้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง โถที่ทําด้วยแก้วเจียระไนเป็นต้น มีรูปและสีต่าง ๆ ใช้ใส่แป้งนวล. | โถเครื่องแป้ง น. โถที่ทําด้วยแก้วเจียระไนเป็นต้น มีรูปและสีต่าง ๆ ใช้ใส่แป้งนวล. |
โถปริก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | [ปฺริก] เป็นคำนาม หมายถึง โถเครื่องแป้งเป็นต้นที่ฝามียอดทําด้วยทองอย่างหัวแหวนนพเก้า. | โถปริก [ปฺริก] น. โถเครื่องแป้งเป็นต้นที่ฝามียอดทําด้วยทองอย่างหัวแหวนนพเก้า. |
โถส้วม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-สอ-เสือ-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง สุขภัณฑ์ชนิดหนึ่งสําหรับนั่งถ่ายอุจจาระ. | โถส้วม น. สุขภัณฑ์ชนิดหนึ่งสําหรับนั่งถ่ายอุจจาระ. |
โถ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำอุทาน หมายถึง คําที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือเห็นอกเห็นใจเป็นต้น. | โถ ๒ อ. คําที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือเห็นอกเห็นใจเป็นต้น. |
โถง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่เปิดโล่งแต่ส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น รถโถง คือรถที่เปิดหลังคาได้ เรือโถง คือเรือที่ปรกติมีประทุน แต่เปิดประทุนออก, เรียกห้องขนาดใหญ่ที่ปล่อยไว้โล่ง ๆ ว่า ห้องโถง. | โถง ว. ที่เปิดโล่งแต่ส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น รถโถง คือรถที่เปิดหลังคาได้ เรือโถง คือเรือที่ปรกติมีประทุน แต่เปิดประทุนออก, เรียกห้องขนาดใหญ่ที่ปล่อยไว้โล่ง ๆ ว่า ห้องโถง. |
โถงเถง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สูงง่อนแง่น. | โถงเถง ว. สูงง่อนแง่น. |
โถบ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง พุ่งลงด้วยแรงกําลัง เช่น นกโถบลงจากอากาศ, ใช้ว่า โถบถา หรือ ถาโถบ ก็มี. | โถบ ก. พุ่งลงด้วยแรงกําลัง เช่น นกโถบลงจากอากาศ, ใช้ว่า โถบถา หรือ ถาโถบ ก็มี. |
โถม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง โผเข้าไปอย่างรวดเร็ว เช่น โถมตัวเข้าหา; รวมกําลังพุ่งเข้าใส่ เช่น โถมกําลัง. | โถม ก. โผเข้าไปอย่างรวดเร็ว เช่น โถมตัวเข้าหา; รวมกําลังพุ่งเข้าใส่ เช่น โถมกําลัง. |
โถมนาการ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [โถมะนา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การชมเชย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โถมน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-ถอ-ถุง-มอ-ม้า-นอ-หนู + อาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | โถมนาการ [โถมะนา] (แบบ) น. การชมเชย. (ป. โถมน + อาการ). |
ไถ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือทําไร่ทํานาชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันชัก หางยาม ผาล หัวหมู ใช้ควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อกลับดิน, คันไถ ก็ว่า. เป็นคำกริยา หมายถึง เอาไถเทียมควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อกลับดิน; เคลื่อนไปไถลไป เช่น นั่งไม้ลื่นไถลงมา; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ขอร้องแกมบังคับ, รีดไถ. | ไถ ๑ น. เครื่องมือทําไร่ทํานาชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยคันชัก หางยาม ผาล หัวหมู ใช้ควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อกลับดิน, คันไถ ก็ว่า. ก. เอาไถเทียมควายหรือวัวเป็นต้นลากไปเพื่อกลับดิน; เคลื่อนไปไถลไป เช่น นั่งไม้ลื่นไถลงมา; (ปาก) ขอร้องแกมบังคับ, รีดไถ. |
ไถกลบ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไถให้ดินปิดทับเมล็ดพันธุ์ข้าวที่หว่านลงไปเมื่อไถแปรเสร็จแล้ว (ใช้แก่การทํานาหว่าน). | ไถกลบ ก. ไถให้ดินปิดทับเมล็ดพันธุ์ข้าวที่หว่านลงไปเมื่อไถแปรเสร็จแล้ว (ใช้แก่การทํานาหว่าน). |
ไถดะ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อะ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไถตะลุยไปในการไถครั้งแรก. | ไถดะ ก. ไถตะลุยไปในการไถครั้งแรก. |
ไถนา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ทำนาตอนพลิกดิน. | ไถนา ก. กิริยาที่ทำนาตอนพลิกดิน. |
ไถแปร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-สะ-หระ-แอ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไถขวางรอยที่ไถจากครั้งแรก. | ไถแปร ก. ไถขวางรอยที่ไถจากครั้งแรก. |
ไถ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมู่ดาวฤกษ์ ซึ่งปรากฏเด่นชัดบนท้องฟ้า. | ไถ ๒ น. ชื่อหมู่ดาวฤกษ์ ซึ่งปรากฏเด่นชัดบนท้องฟ้า. |
ไถ่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ชําระหนี้เพื่อถอนคืนทรัพย์สินที่จํานําไว้; ซื้อทรัพย์สินที่ขายฝากไว้คืนภายในกําหนดเวลา; ให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง. | ไถ่ ๑ (กฎ) ก. ชําระหนี้เพื่อถอนคืนทรัพย์สินที่จํานําไว้; ซื้อทรัพย์สินที่ขายฝากไว้คืนภายในกําหนดเวลา; ให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์เพื่อแลกเปลี่ยนเสรีภาพของผู้ถูกเอาตัวไป ผู้ถูกหน่วงเหนี่ยว หรือผู้ถูกกักขัง. |
ไถ่ถอน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-ออ-อ่าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ชําระหนี้เพื่อปลดเปลื้องพันธะในทรัพย์สินที่จํานองไว้ให้หลุดจากการเป็นประกัน. | ไถ่ถอน (กฎ) ก. ชําระหนี้เพื่อปลดเปลื้องพันธะในทรัพย์สินที่จํานองไว้ให้หลุดจากการเป็นประกัน. |
ไถ่บาป เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา | เป็นคำกริยา หมายถึง ช่วยให้พ้นบาป (ใช้แก่พระเยซูที่อุทิศชีวิตช่วยมนุษย์ให้พ้นบาปตามพระประสงค์ของพระเป็นเจ้า โดยยอมถูกตรึงไม้กางเขน); ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ชดใช้ในสิ่งที่เคยทำไม่ดีไว้. | ไถ่บาป ก. ช่วยให้พ้นบาป (ใช้แก่พระเยซูที่อุทิศชีวิตช่วยมนุษย์ให้พ้นบาปตามพระประสงค์ของพระเป็นเจ้า โดยยอมถูกตรึงไม้กางเขน); (ปาก) ชดใช้ในสิ่งที่เคยทำไม่ดีไว้. |
ไถ่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง ถาม, พูดคุย. | ไถ่ ๒ (ถิ่นพายัพ) ก. ถาม, พูดคุย. |
ไถ่ถาม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ถาม, สอบถาม, ไต่ถาม หรือ ถามไถ่ ก็ว่า. | ไถ่ถาม ก. ถาม, สอบถาม, ไต่ถาม หรือ ถามไถ่ ก็ว่า. |
ไถ้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ถุงยาว ๆ ใหญ่บ้าง เล็กบ้าง สําหรับใส่เงินหรือสิ่งของ โดยมากใช้คาดเอว. | ไถ้ น. ถุงยาว ๆ ใหญ่บ้าง เล็กบ้าง สําหรับใส่เงินหรือสิ่งของ โดยมากใช้คาดเอว. |
ไถง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-งอ-งู | [ถะไหฺง] เป็นคำนาม หมายถึง ตะวัน; วัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ไถฺง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-พิน-ทุ-งอ-งู. | ไถง [ถะไหฺง] น. ตะวัน; วัน. (ข. ไถฺง). |
ไถย มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก | [ไถยะ] เป็นคำนาม หมายถึง ความเป็นขโมย เช่น ไถยจิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เถยฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก. | ไถย [ไถยะ] น. ความเป็นขโมย เช่น ไถยจิต. (ป. เถยฺย). |
ไถล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ถอ-ถุง-ลอ-ลิง | [ถะไหฺล] เป็นคำกริยา หมายถึง ลื่นไปไม่ตรงทาง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เชือนแช, ไม่ตรงไปตรงมา. | ไถล [ถะไหฺล] ก. ลื่นไปไม่ตรงทาง. ว. เชือนแช, ไม่ตรงไปตรงมา. |