ค เขียนว่า คอ-ควาย | พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค. | ค พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคําที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค. |
คคน, คคนะ คคน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู คคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ | [คะคะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | คคน, คคนะ [คะคะนะ] (แบบ) น. ฟ้า. (ป., ส.). |
คคนัมพร เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ | [คะคะนําพอน] เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู + อมฺพร เขียนว่า ออ-อ่าง-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-รอ-เรือ . | คคนัมพร [คะคะนําพอน] น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + อมฺพร). |
คคนางค์ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | [คะคะนาง] เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู + องฺค เขียนว่า ออ-อ่าง-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย . | คคนางค์ [คะคะนาง] น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + องฺค). |
คคนานต์ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [คะคะนาน] เป็นคำนาม หมายถึง ฟ้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คคน เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู + อนฺต เขียนว่า ออ-อ่าง-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า . | คคนานต์ [คะคะนาน] น. ฟ้า. (ป., ส. คคน + อนฺต). |
คคนัมพร เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ | ดู คคน, คคนะ คคน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู คคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | คคนัมพร ดู คคน, คคนะ. |
คคนางค์ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด | ดู คคน, คคนะ คคน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู คคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | คคนางค์ ดู คคน, คคนะ. |
คคนานต์ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | ดู คคน, คคนะ คคน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู คคนะ เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ . | คคนานต์ ดู คคน, คคนะ. |
คง เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ยังมียังเป็นอยู่อย่างเดิม เช่น คงความเป็นไท; เป็นคำบอกลักษณะคาดคะเน เช่น คงจะเป็นเช่นนั้น คงมาแล้ว. | คง ก. ยังมียังเป็นอยู่อย่างเดิม เช่น คงความเป็นไท; เป็นคำบอกลักษณะคาดคะเน เช่น คงจะเป็นเช่นนั้น คงมาแล้ว. |
คงกระพัน, คงกระพันชาตรี คงกระพัน เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู คงกระพันชาตรี เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง ทนทานต่อศัสตราวุธ. | คงกระพัน, คงกระพันชาตรี ก. ทนทานต่อศัสตราวุธ. |
คงแก่เรียน เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก. | คงแก่เรียน ว. ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมามาก. |
คงขาด เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังขาด. | คงขาด ว. ยังขาด. |
คงคลัง เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกเงินที่มีอยู่ในคลังในเวลาใดเวลาหนึ่งว่า เงินคงคลัง. | คงคลัง ว. เรียกเงินที่มีอยู่ในคลังในเวลาใดเวลาหนึ่งว่า เงินคงคลัง. |
คงตัว เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ผันแปร. | คงตัว ว. ไม่ผันแปร. |
คงทน เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยั่งยืน, ถาวร, ทนทาน. | คงทน ว. ยั่งยืน, ถาวร, ทนทาน. |
คงที่ เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เปลี่ยนแปลง. | คงที่ ว. ไม่เปลี่ยนแปลง. |
คงเส้นคงวา เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-งอ-งู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสมอต้นเสมอปลาย. | คงเส้นคงวา ว. เสมอต้นเสมอปลาย. |
คงเหลือ เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยังเหลือ. | คงเหลือ ว. ยังเหลือ. |
คงคา เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง นํ้า, แม่นํ้า, ใช้เป็นสามัญว่า แม่พระคงคา หมายถึง เจ้าแม่ประจํานํ้า, ชื่อแม่นํ้าสําคัญสายหนึ่งในประเทศอินเดีย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คงฺคา เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-พิน-ทุ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ว่า ผู้ไปเร็ว, ผู้ไหลเชี่ยว ; เรียกส่วนของท่อเหล้าในโรงต้มกลั่นว่า ท่อคงคา. | คงคา ๑ น. นํ้า, แม่นํ้า, ใช้เป็นสามัญว่า แม่พระคงคา หมายถึง เจ้าแม่ประจํานํ้า, ชื่อแม่นํ้าสําคัญสายหนึ่งในประเทศอินเดีย. (ป., ส. คงฺคา ว่า ผู้ไปเร็ว, ผู้ไหลเชี่ยว); เรียกส่วนของท่อเหล้าในโรงต้มกลั่นว่า ท่อคงคา. |
คงคาลัย เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง แม่นํ้า, นํ้า, น่านนํ้า. | คงคาลัย (กลอน) น. แม่นํ้า, นํ้า, น่านนํ้า. |
คงคา เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหวายชนิดหนึ่ง ต้นเหมือนต้นสามสิบ รากเหมือนรากละหุ่ง ใบเหมือนใบละหุ่ง หัวเป็นแง่ง ยางขาวเหมือนนม. ในวงเล็บ มาจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓. | คงคา ๒ น. ชื่อหวายชนิดหนึ่ง ต้นเหมือนต้นสามสิบ รากเหมือนรากละหุ่ง ใบเหมือนใบละหุ่ง หัวเป็นแง่ง ยางขาวเหมือนนม. (พจน. ๒๔๙๓). |
คงคาเดือด เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Arfeuillea arborescens Pierre ในวงศ์ Sapindaceae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้ง สูง ๘๑๐ เมตร มีพุ่มใหญ่ ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย ๓๔ คู่ ดอกเล็ก สีม่วงดํา หอมมาก ผลมีปีกบาง ๆ ๓ ปีก เปลือกใช้ทํายาได้, ราชบุรีเรียก ตะไล, พายัพเรียก ช้างเผือก. | คงคาเดือด น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Arfeuillea arborescens Pierre ในวงศ์ Sapindaceae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้ง สูง ๘๑๐ เมตร มีพุ่มใหญ่ ใบเป็นใบประกอบมีใบย่อย ๓๔ คู่ ดอกเล็ก สีม่วงดํา หอมมาก ผลมีปีกบาง ๆ ๓ ปีก เปลือกใช้ทํายาได้, ราชบุรีเรียก ตะไล, พายัพเรียก ช้างเผือก. |
คงไคย เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีเหมือนสีนํ้าไหล, คังไคย ก็ว่า. ในวงเล็บ ดู กาฬาวก เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-กอ-ไก่. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คงฺเคยฺย เขียนว่า คอ-ควาย-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาสันสกฤต คางฺเคย เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-งอ-งู-พิน-ทุ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ยอ-ยัก. | คงไคย น. ชื่อช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล กายสีเหมือนสีนํ้าไหล, คังไคย ก็ว่า. (ดู กาฬาวก). (ป. คงฺเคยฺย; ส. คางฺเคย). |
คช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง | [คดชะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง, ช้างพลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | คช [คดชะ] (แบบ) น. ช้าง, ช้างพลาย. (ป., ส.). |
คชกรรม เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง กิจการในทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง เช่น การขี่ การฟันขอ, ประเภทตำราว่าด้วยทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง. | คชกรรม น. กิจการในทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง เช่น การขี่ การฟันขอ, ประเภทตำราว่าด้วยทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง. |
คชนาม เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง นามราหู, อักษรชื่อที่ขึ้นต้นด้วย ย ร ล ว. | คชนาม น. นามราหู, อักษรชื่อที่ขึ้นต้นด้วย ย ร ล ว. |
คชลักษณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง รูปพรรณสัณฐานของช้างต่าง ๆ ซึ่งดีและชั่ว, ประเภทตําราแสดงรูปพรรณสัณฐานของช้างต่าง ๆ ซึ่งดีและชั่ว ถ้าได้ไว้จะให้คุณหรือโทษแก่เจ้าของ. | คชลักษณ์ น. รูปพรรณสัณฐานของช้างต่าง ๆ ซึ่งดีและชั่ว, ประเภทตําราแสดงรูปพรรณสัณฐานของช้างต่าง ๆ ซึ่งดีและชั่ว ถ้าได้ไว้จะให้คุณหรือโทษแก่เจ้าของ. |
คชศาสตร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยช้าง มี ๒ ประเภท คือ คชลักษณ์ และ คชกรรม. | คชศาสตร์ น. วิชาว่าด้วยช้าง มี ๒ ประเภท คือ คชลักษณ์ และ คชกรรม. |
คชสาร เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง. | คชสาร น. ช้าง. |
คชสีห์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง สัตว์ในนิยายมีรูปเหมือนราชสีห์ แต่มีงวงเหมือนช้าง. | คชสีห์ น. สัตว์ในนิยายมีรูปเหมือนราชสีห์ แต่มีงวงเหมือนช้าง. |
คชาชาติ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ช้าง, หมู่ช้าง. | คชาชาติ น. ช้าง, หมู่ช้าง. |
คชาชีพ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน | เป็นคำนาม หมายถึง คนเลี้ยงช้าง, หมอช้าง, ควาญช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คช เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง + อาชีว เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-วอ-แหวน . | คชาชีพ น. คนเลี้ยงช้าง, หมอช้าง, ควาญช้าง. (ป. คช + อาชีว). |
คชาธาร เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ช้างทรง, ช้างพระที่นั่ง; เครื่องแต่งหลังช้างชนิดหนึ่ง มี ๓ อย่าง คือ ๑. พระคชาธารเครื่องมั่น สําหรับใช้ในการสงคราม. ๒. พระคชาธารพุดตานทอง สําหรับผูกช้างพระที่นั่งทรงซึ่งใช้ในกระบวนอิสริยยศ. ๓. พระคชาธารกาญจนฉันท์ สําหรับผูกหลังช้างประดิษฐานพระชัยวัฒน์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คช เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง + อาธาร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | คชาธาร น. ช้างทรง, ช้างพระที่นั่ง; เครื่องแต่งหลังช้างชนิดหนึ่ง มี ๓ อย่าง คือ ๑. พระคชาธารเครื่องมั่น สําหรับใช้ในการสงคราม. ๒. พระคชาธารพุดตานทอง สําหรับผูกช้างพระที่นั่งทรงซึ่งใช้ในกระบวนอิสริยยศ. ๓. พระคชาธารกาญจนฉันท์ สําหรับผูกหลังช้างประดิษฐานพระชัยวัฒน์. (ป. คช + อาธาร). |
คชาภรณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คช เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง + อาภรณ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน . | คชาภรณ์ น. เครื่องประดับช้าง. (ป. คช + อาภรณ). |
คชินทร์, คเชนทร์ คชินทร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด คเชนทร์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พญาช้าง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คช เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง + อินฺทฺร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | คชินทร์, คเชนทร์ น. พญาช้าง. (ส. คช + อินฺทฺร). |
คชราช เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | [คดชะราด] เป็นคำนาม หมายถึง คุดทะราด เช่น ประชวรพระโรคสําหรับบุรุษกลายเป็นพระโรคคชราช. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา. | คชราช [คดชะราด] น. คุดทะราด เช่น ประชวรพระโรคสําหรับบุรุษกลายเป็นพระโรคคชราช. (พงศ. เลขา). |
คชส่าน เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [คดชะ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแตงโมพันธุ์หนึ่ง สีเหลือง เนื้อหวาน. | คชส่าน [คดชะ] น. ชื่อแตงโมพันธุ์หนึ่ง สีเหลือง เนื้อหวาน. |
คชาชาติ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | ดู คช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง. | คชาชาติ ดู คช. |
คชาชีพ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-พอ-พาน | ดู คช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง. | คชาชีพ ดู คช. |
คชาธาร เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู คช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง. | คชาธาร ดู คช. |
คชาภรณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-พอ-สำ-เพา-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | ดู คช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง. | คชาภรณ์ ดู คช. |
คชินทร์, คเชนทร์ คชินทร์ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด คเชนทร์ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | ดู คช มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง. | คชินทร์, คเชนทร์ ดู คช. |
คณ, คณะ คณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน คณะ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ | [คะนะ] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่, พวก, (ซึ่งแยกมาจากส่วนใหญ่); กลุ่มคนผู้ร่วมกันเพื่อการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คณะกรรมการ คณะสงฆ์ คณะนักท่องเที่ยว; หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์; กลุ่มคำที่จัดให้มีลักษณะเป็นไปตามแบบรูปของร้อยกรองแต่ละประเภท ประกอบด้วยบท บาท วรรค และคำ ตามจำนวนที่กำหนด, หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแต่งฉันท์วรรณพฤติ มี ๘ คณะ คือ ช คณะ ต คณะ น คณะ ภ คณะ ม คณะ ย คณะ ร คณะ ส คณะ แต่ละคณะมี ๓ คำ หรือ ๓ พยางค์ โดยถือครุและลหุเป็นหลัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | คณ, คณะ [คะนะ] น. หมู่, พวก, (ซึ่งแยกมาจากส่วนใหญ่); กลุ่มคนผู้ร่วมกันเพื่อการอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น คณะกรรมการ คณะสงฆ์ คณะนักท่องเที่ยว; หน่วยงานในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่เทียบเท่าซึ่งรวมภาควิชาต่าง ๆ ที่จัดการเรียนการสอนวิชาในสายเดียวกัน เช่น คณะนิติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์; กลุ่มคำที่จัดให้มีลักษณะเป็นไปตามแบบรูปของร้อยกรองแต่ละประเภท ประกอบด้วยบท บาท วรรค และคำ ตามจำนวนที่กำหนด, หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแต่งฉันท์วรรณพฤติ มี ๘ คณะ คือ ช คณะ ต คณะ น คณะ ภ คณะ ม คณะ ย คณะ ร คณะ ส คณะ แต่ละคณะมี ๓ คำ หรือ ๓ พยางค์ โดยถือครุและลหุเป็นหลัก. (ป., ส.). |
คณบดี เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [คะนะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง หัวหน้าคณะในมหาวิทยาลัยหรือในสถาบันที่เทียบเท่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คณ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน + ปติ เขียนว่า ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ . | คณบดี [คะนะบอดี] น. หัวหน้าคณะในมหาวิทยาลัยหรือในสถาบันที่เทียบเท่า. (ป., ส. คณ + ปติ). |
คณะกรมการจังหวัด เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดกับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. | คณะกรมการจังหวัด (กฎ) น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดกับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. |
คณะรัฐมนตรี เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ถอ-ถาน-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทําหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน. | คณะรัฐมนตรี (กฎ) น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทําหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน. |
คณะองคมนตรี เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและทรงแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่งและองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๑๘ คน คณะองคมนตรีมีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. | คณะองคมนตรี (กฎ) น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและทรงแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่งและองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๑๘ คน คณะองคมนตรีมีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. |
คณาจารย์ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | [คะนาจาน] เป็นคำนาม หมายถึง คณะอาจารย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คณ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน + อาจารฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | คณาจารย์ [คะนาจาน] น. คณะอาจารย์. (ส. คณ + อาจารฺย). |
คณาธิการ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีอํานาจในคณะ, ผู้ปกครองคณะ, เรียกภิกษุผู้ทําหน้าที่ในด้านการปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่ผู้ช่วยเจ้าอาวาสขึ้นไปว่า พระคณาธิการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คณ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน + อธิการ เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | คณาธิการ น. ผู้มีอํานาจในคณะ, ผู้ปกครองคณะ, เรียกภิกษุผู้ทําหน้าที่ในด้านการปกครองคณะสงฆ์ตั้งแต่ผู้ช่วยเจ้าอาวาสขึ้นไปว่า พระคณาธิการ. (ป., ส. คณ + อธิการ). |
คณาธิปไตย เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | [คะนาทิปะไต, คะนาทิบปะไต] เป็นคำนาม หมายถึง ระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะบุคคลจํานวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คณ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน + อธิปเตยฺย เขียนว่า ออ-อ่าง-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก . | คณาธิปไตย [คะนาทิปะไต, คะนาทิบปะไต] น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะบุคคลจํานวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ. (ป. คณ + อธิปเตยฺย). |
คณานุกรม เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ฐานานุกรมของเจ้าคณะใหญ่และรองเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายพระสงฆ์จีนและพระสงฆ์ญวน. | คณานุกรม น. ฐานานุกรมของเจ้าคณะใหญ่และรองเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายพระสงฆ์จีนและพระสงฆ์ญวน. |
คณนะ, คณนา คณนะ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ คณนา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [คะนะนะ, คะนะ, คันนะ, คนนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง นับ เช่น สุดที่จะคณนา, คณานับ ก็ว่า เช่น สุดคณานับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | คณนะ, คณนา [คะนะนะ, คะนะ, คันนะ, คนนะ] (แบบ) ก. นับ เช่น สุดที่จะคณนา, คณานับ ก็ว่า เช่น สุดคณานับ. (ป., ส.). |
คณาจารย์ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-จอ-จาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด | ดู คณ, คณะ คณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน คณะ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | คณาจารย์ ดู คณ, คณะ. |
คณาธิการ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู คณ, คณะ คณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน คณะ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | คณาธิการ ดู คณ, คณะ. |
คณาธิปไตย เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า-ยอ-ยัก | ดู คณ, คณะ คณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน คณะ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | คณาธิปไตย ดู คณ, คณะ. |
คณานับ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำกริยา หมายถึง นับ. | คณานับ ก. นับ. |
คณานุกรม เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า | ดู คณ, คณะ คณ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน คณะ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ . | คณานุกรม ดู คณ, คณะ. |
คณิกา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง หญิงงามเมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | คณิกา น. หญิงงามเมือง. (ป., ส.). |
คณิต, คณิต คณิต เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า คณิต มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [คะนิด, คะนิดตะ] เป็นคำนาม หมายถึง การนับ, การคํานวณ, วิชาคํานวณ, มักใช้เป็นคําหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต. | คณิต, คณิต [คะนิด, คะนิดตะ] น. การนับ, การคํานวณ, วิชาคํานวณ, มักใช้เป็นคําหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต. |
คณิตศาสตร์ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [คะนิดตะสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการคํานวณ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คณิต เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า + ศาสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ . | คณิตศาสตร์ [คะนิดตะสาด] น. วิชาว่าด้วยการคํานวณ. (ส. คณิต + ศาสฺตฺร). |
คเณศ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-นอ-เนน-สอ-สา-ลา | [คะเนด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเทพองค์หนึ่ง มีเศียรเป็นช้าง ถือว่าเป็นเทพแห่งศิลปะ เชื่อกันว่าถ้าบูชาแล้วจะป้องกันความขัดข้องที่อาจเกิดมีขึ้นได้, วิฆเนศ พิฆเนศ วิฆเนศวร หรือ พิฆเนศวร ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | คเณศ [คะเนด] น. ชื่อเทพองค์หนึ่ง มีเศียรเป็นช้าง ถือว่าเป็นเทพแห่งศิลปะ เชื่อกันว่าถ้าบูชาแล้วจะป้องกันความขัดข้องที่อาจเกิดมีขึ้นได้, วิฆเนศ พิฆเนศ วิฆเนศวร หรือ พิฆเนศวร ก็เรียก. (ส.). |
คด เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุแข็งคล้ายหินที่มีในสัตว์หรือต้นไม้ นับถือกันว่าเป็นเครื่องราง. | คด ๑ น. วัตถุแข็งคล้ายหินที่มีในสัตว์หรือต้นไม้ นับถือกันว่าเป็นเครื่องราง. |
คด เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งปลูกสร้างซึ่งมีสัณฐานหักมุมเป็นข้อศอก เช่น วิหารคด. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ไม่ตรงตลอด; ไม่ซื่อ. | คด ๒ น. สิ่งปลูกสร้างซึ่งมีสัณฐานหักมุมเป็นข้อศอก เช่น วิหารคด. ว. ลักษณะที่ไม่ตรงตลอด; ไม่ซื่อ. |
คดกริช เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่งเป็นเส้นยาวคดไปมาอย่างรูปกริช, พดกริช ก็เรียก. | คดกริช น. ชื่อลายชนิดหนึ่งเป็นเส้นยาวคดไปมาอย่างรูปกริช, พดกริช ก็เรียก. |
คดโกง เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ประพฤติทุจริต, ไม่ซื่อตรง. | คดโกง ก. ประพฤติทุจริต, ไม่ซื่อตรง. |
คดเคี้ยว เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คดไปคดมา, ลดเลี้ยว, วกไปวกมา. | คดเคี้ยว ว. คดไปคดมา, ลดเลี้ยว, วกไปวกมา. |
คดงอ เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-งอ-งู-ออ-อ่าง | เป็นคำกริยา หมายถึง คดจนงอ. | คดงอ ก. คดจนงอ. |
คดในข้องอในกระดูก เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีสันดานคดโกง. | คดในข้องอในกระดูก (สำ) ว. มีสันดานคดโกง. |
คด เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๓ | เป็นคำกริยา หมายถึง ตักข้าวสุกออกจากหม้อ. | คด ๓ ก. ตักข้าวสุกออกจากหม้อ. |
คดซ่าง เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-ซอ-โซ่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมเมรุ, คดสร้าง ซ่าง สร้าง ส้าง หรือ สําซ่าง ก็เรียก. | คดซ่าง น. โรงขนาดเล็กมียกพื้นข้างใน สําหรับพระสงฆ์นั่งสวดพระอภิธรรม อยู่ ๔ มุมเมรุ, คดสร้าง ซ่าง สร้าง ส้าง หรือ สําซ่าง ก็เรียก. |
คดสร้าง เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง คดซ่าง. | คดสร้าง น. คดซ่าง. |
คดี เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [คะดี] เป็นคำนาม หมายถึง เรื่อง, มักใช้ประกอบคําศัพท์ เช่น โบราณคดี คดีโลก คดีธรรม วรรณคดี สารคดี; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง เรื่องหรือความที่ฟ้องร้องหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนวิธีพิจารณาความตามที่กฎหมายกำหนด เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คติ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | คดี [คะดี] น. เรื่อง, มักใช้ประกอบคําศัพท์ เช่น โบราณคดี คดีโลก คดีธรรม วรรณคดี สารคดี; (กฎ) เรื่องหรือความที่ฟ้องร้องหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนวิธีพิจารณาความตามที่กฎหมายกำหนด เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง. (ป. คติ). |
คดีดำ เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีหมายเลขดำ. | คดีดำ (กฎ) น. คดีหมายเลขดำ. |
คดีแดง เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีหมายเลขแดง. | คดีแดง (กฎ) น. คดีหมายเลขแดง. |
คดีแพ่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-แอ-พอ-พาน-ไม้-เอก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกับสิทธิส่วนเอกชน. | คดีแพ่ง (กฎ) น. คดีที่ฟ้องร้องเกี่ยวกับสิทธิส่วนเอกชน. |
คดีมโนสาเร่ เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีอันมีทุนทรัพย์หรือค่าเช่าจำนวนเล็กน้อย ซึ่งไม่เกินจำนวนที่กำหนดในกฎหมาย. | คดีมโนสาเร่ (กฎ) น. คดีอันมีทุนทรัพย์หรือค่าเช่าจำนวนเล็กน้อย ซึ่งไม่เกินจำนวนที่กำหนดในกฎหมาย. |
คดีหมายเลขดำ เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี ก่อนศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว เรียกย่อ ๆ ว่า คดีดำ เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๔๐ หรือคดีดำที่ ๑/๒๕๔๐. | คดีหมายเลขดำ (กฎ) น. คดีที่ฟ้องร้องต่อศาลและศาลได้ลงทะเบียนคดีในสารบบความของศาล โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เรียงเป็นลำดับไปจนสิ้นปี ก่อนศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดีหรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราว เรียกย่อ ๆ ว่า คดีดำ เช่น คดีหมายเลขดำที่ ๑/๒๕๔๐ หรือคดีดำที่ ๑/๒๕๔๐. |
คดีหมายเลขแดง เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีที่ศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราวแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เป็นลำดับไปจนสิ้นปี เรียกย่อ ๆ ว่า คดีแดง เช่น คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๔๐ หรือคดีแดงที่ ๑/๒๕๔๐. | คดีหมายเลขแดง (กฎ) น. คดีที่ศาลได้มีคำพิพากษาหรือคำสั่งวินิจฉัยชี้ขาดคดี หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีออกจากสารบบความ หรือมีคำสั่งจำหน่ายคดีชั่วคราวแล้ว โดยเริ่มตั้งแต่เลข ๑ ทับเลขปี พ.ศ. เป็นลำดับไปจนสิ้นปี เรียกย่อ ๆ ว่า คดีแดง เช่น คดีหมายเลขแดงที่ ๑/๒๕๔๐ หรือคดีแดงที่ ๑/๒๕๔๐. |
คดีอนาถา เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีแพ่งที่คู่ความอ้างว่าเป็นคนยากจนไม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลในศาลชั้นต้น หรือชั้นอุทธรณ์ หรือชั้นฎีกา เมื่อศาลได้ไต่สวนเป็นที่เชื่อได้ว่าคู่ความนั้นเป็นคนยากจน ไม่มีทรัพย์สินพอจะเสียค่าธรรมเนียม ศาลจะอนุญาตให้คู่ความนั้นฟ้องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถาได้ แต่การขอเช่นว่านี้ถ้าผู้ขอเป็นโจทก์ ผู้ขอจะต้องแสดงให้เป็นที่พอใจศาลด้วยว่าคดีของตนมีมูลที่จะฟ้องร้อง หรือในกรณีอุทธรณ์หรือฎีกา ศาลเห็นว่ามีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณ์หรือฎีกาแล้วแต่กรณี. | คดีอนาถา (กฎ) น. คดีแพ่งที่คู่ความอ้างว่าเป็นคนยากจนไม่สามารถเสียค่าธรรมเนียมศาลในศาลชั้นต้น หรือชั้นอุทธรณ์ หรือชั้นฎีกา เมื่อศาลได้ไต่สวนเป็นที่เชื่อได้ว่าคู่ความนั้นเป็นคนยากจน ไม่มีทรัพย์สินพอจะเสียค่าธรรมเนียม ศาลจะอนุญาตให้คู่ความนั้นฟ้องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถาได้ แต่การขอเช่นว่านี้ถ้าผู้ขอเป็นโจทก์ ผู้ขอจะต้องแสดงให้เป็นที่พอใจศาลด้วยว่าคดีของตนมีมูลที่จะฟ้องร้อง หรือในกรณีอุทธรณ์หรือฎีกา ศาลเห็นว่ามีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณ์หรือฎีกาแล้วแต่กรณี. |
คดีอาญา เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีที่เกี่ยวกับการกระทําที่กฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดและมีโทษทางอาญา. | คดีอาญา (กฎ) น. คดีที่เกี่ยวกับการกระทําที่กฎหมายบัญญัติว่า เป็นความผิดและมีโทษทางอาญา. |
คดีอุทลุม เขียนว่า คอ-ควาย-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คดีที่บุคคลฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา ซึ่งต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่า ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญามิได้. | คดีอุทลุม (กฎ) น. คดีที่บุคคลฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา ซึ่งต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่า ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญามิได้. |
คต มีเครื่องหมายยัติภังค์หน้าคำ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า | [คะตะ, คด] เป็นคำกริยา หมายถึง ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | คต [คะตะ, คด] ก. ถึงแล้ว, ไปแล้ว, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ตถาคต สุคต สวรรคต ทิวงคต. (ป.). |
คติ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๑ | [คะติ] เป็นคำนาม หมายถึง การไป; ความเป็นไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | คติ ๑ [คะติ] น. การไป; ความเป็นไป. (ป.). |
คติ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ความหมายที่ ๒ | [คะติ] เป็นคำนาม หมายถึง แบบอย่าง, วิธี, แนวทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | คติ ๒ [คะติ] น. แบบอย่าง, วิธี, แนวทาง. (ป.). |
คติชาวบ้าน เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. | คติชาวบ้าน น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. |
คติธรรม เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง ธรรมที่เป็นแบบอย่าง. | คติธรรม น. ธรรมที่เป็นแบบอย่าง. |
คตินิยม เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ หรือวิธีการคิดรวมกันที่เป็นลักษณะของกลุ่มชน เช่น คตินิยมของกลุ่มวิชาชีพ คตินิยมทางศาสนา คตินิยมทางการเมือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ ideology เขียนว่า ไอ-ดี-อี-โอ-แอล-โอ-จี-วาย. | คตินิยม น. แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ หรือวิธีการคิดรวมกันที่เป็นลักษณะของกลุ่มชน เช่น คตินิยมของกลุ่มวิชาชีพ คตินิยมทางศาสนา คตินิยมทางการเมือง. (อ. ideology). |
คติพจน์ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-พาน-จอ-จาน-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ถ้อยคําที่เป็นแบบอย่าง. | คติพจน์ น. ถ้อยคําที่เป็นแบบอย่าง. |
คติสุขารมณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ลัทธิที่ถือว่าความสุขทางผัสสะหรือโลกียสุขในชีวิตปัจจุบัน เป็นสิ่งสูงสุดหรือเป็นความดีสูงสุดของชีวิต. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ hedonism เขียนว่า เอช-อี-ดี-โอ-เอ็น-ไอ-เอส-เอ็ม. | คติสุขารมณ์ น. ลัทธิที่ถือว่าความสุขทางผัสสะหรือโลกียสุขในชีวิตปัจจุบัน เป็นสิ่งสูงสุดหรือเป็นความดีสูงสุดของชีวิต. (อ. hedonism). |
คทา เขียนว่า คอ-ควาย-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา | [คะทา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ตะบอง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | คทา [คะทา] (แบบ) น. ตะบอง. (ป.). |
คน เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง มนุษย์. | คน ๑ น. มนุษย์. |
คนกลาง เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ถือเป็นกลางไม่เข้าข้างฝ่ายโน้นฝ่ายนี้ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น, ผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย, ผู้ทําการค้าระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค. | คนกลาง น. ผู้ถือเป็นกลางไม่เข้าข้างฝ่ายโน้นฝ่ายนี้ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น, ผู้ทําหน้าที่ไกล่เกลี่ย, ผู้ทําการค้าระหว่างผู้ผลิตกับผู้บริโภค. |
คนเก่าคนแก่ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก | เป็นคำนาม หมายถึง ข้าเก่าเต่าเลี้ยง; คนที่มีพื้นเพอยู่ที่ใดที่หนึ่งเป็นเวลานาน. | คนเก่าคนแก่ น. ข้าเก่าเต่าเลี้ยง; คนที่มีพื้นเพอยู่ที่ใดที่หนึ่งเป็นเวลานาน. |
คนไข้ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ป่วย, ผู้บาดเจ็บ. | คนไข้ น. ผู้ป่วย, ผู้บาดเจ็บ. |
คนไข้นอก เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง คนไข้ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล แต่ไม่ได้นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยนอก ก็ว่า. | คนไข้นอก น. คนไข้ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล แต่ไม่ได้นอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยนอก ก็ว่า. |
คนไข้ใน เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนไข้ที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยใน ก็ว่า. | คนไข้ใน น. คนไข้ที่พักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล, ผู้ป่วยใน ก็ว่า. |
คนจร เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง คนแปลกหน้า, คนที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง. | คนจร น. คนแปลกหน้า, คนที่ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง. |
คนจริง เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่ทําอะไรทําจริงโดยไม่ท้อถอย, คนที่พูดจริงทําจริง. | คนจริง น. ผู้ที่ทําอะไรทําจริงโดยไม่ท้อถอย, คนที่พูดจริงทําจริง. |
คนใช้ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ชอ-ช้าง-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีหน้าที่คอยรับใช้, ลูกจ้างที่รับใช้ทำงานบ้าน. | คนใช้ น. คนที่มีหน้าที่คอยรับใช้, ลูกจ้างที่รับใช้ทำงานบ้าน. |
คนดิบ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่ยังไม่ได้บวชเป็นพระภิกษุ. | คนดิบ น. ชายที่ยังไม่ได้บวชเป็นพระภิกษุ. |
คนดี เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | เป็นคำนาม หมายถึง คนที่มีคุณความดี, คนที่มีคุณธรรม. | คนดี น. คนที่มีคุณความดี, คนที่มีคุณธรรม. |
คนดีผีคุ้ม เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนทําดีเทวดาย่อมคุ้มครอง, มักใช้เข้าคู่กับ คนร้ายตายขุม ว่า คนดีผีคุ้ม คนร้ายตายขุม. | คนดีผีคุ้ม (สำ) น. คนทําดีเทวดาย่อมคุ้มครอง, มักใช้เข้าคู่กับ คนร้ายตายขุม ว่า คนดีผีคุ้ม คนร้ายตายขุม. |
คนต้องขัง เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่ถูกขังไว้ตามหมายขัง. | คนต้องขัง (กฎ) น. บุคคลที่ถูกขังไว้ตามหมายขัง. |
คนทรง เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง คนทรงเจ้าและผี. | คนทรง น. คนทรงเจ้าและผี. |
คนนอก เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-นอ-หนู-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลผู้ไม่มีส่วนร่วมหรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง, บุคคลซึ่งไม่ใช่สมาชิก. | คนนอก น. บุคคลผู้ไม่มีส่วนร่วมหรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง, บุคคลซึ่งไม่ใช่สมาชิก. |
คนใน เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่เป็นพวกเดียวกัน, บุคคลในบ้าน, บุคคลในวงการ. | คนใน น. บุคคลที่เป็นพวกเดียวกัน, บุคคลในบ้าน, บุคคลในวงการ. |
คนพรรค์นั้น เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-คอ-ควาย-ทัน-ทะ-คาด-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คนพวกนั้น (มักใช้ในทางดูหมิ่นดูแคลน). | คนพรรค์นั้น น. คนพวกนั้น (มักใช้ในทางดูหมิ่นดูแคลน). |
คนเมือง เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง คําเรียกคนพื้นเมืองถิ่นพายัพ. | คนเมือง น. คําเรียกคนพื้นเมืองถิ่นพายัพ. |
คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู คอ-ควาย-นอ-หนู-ชอ-ช้าง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนรักมีน้อย คนชังมีมาก. | คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ (สำ) น. คนรักมีน้อย คนชังมีมาก. |
คนร้าย เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ไม่มีคุณธรรม; คนทําผิดอาญา, อาชญากร. | คนร้าย น. คนที่ไม่มีคุณธรรม; คนทําผิดอาญา, อาชญากร. |
คนร้ายตายขุม เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนทำชั่วย่อมตกนรก, มักใช้เข้าคู่กับ คนดีผีคุ้ม ว่า คนดีผีคุ้ม คนร้ายตายขุม. | คนร้ายตายขุม (สำ) น. คนทำชั่วย่อมตกนรก, มักใช้เข้าคู่กับ คนดีผีคุ้ม ว่า คนดีผีคุ้ม คนร้ายตายขุม. |
คนไร้ความสามารถ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คนวิกลจริตซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ. | คนไร้ความสามารถ (กฎ) น. คนวิกลจริตซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ. |
คนละไม้คนละมือ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-คอ-ควาย-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน หมายถึง ต่างคนต่างช่วยกันทํา. | คนละไม้คนละมือ (สำ) ต่างคนต่างช่วยกันทํา. |
คนสวน เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกจ้างที่มีหน้าที่ดูแลรักษาต้นไม้, ลูกจ้างทําสวน. | คนสวน น. ลูกจ้างที่มีหน้าที่ดูแลรักษาต้นไม้, ลูกจ้างทําสวน. |
คนสาบสูญ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-ยอ-หยิง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น. | คนสาบสูญ (กฎ) น. บุคคลซึ่งได้ไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลา ๕ ปี และศาลมีคําสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ระยะเวลา ๕ ปี ดังกล่าว ลดลงเหลือ ๒ ปี นับแต่วันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถ้าบุคคลนั้นอยู่ในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกล่าว หรือนับแต่วันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทางไป ได้อับปาง ถูกทำลายหรือสูญหาย หรือนับแต่วันที่เหตุอันตรายแก่ชีวิต นอกจากที่ระบุไว้ใน ๒ กรณีดังกล่าวข้างต้นได้ผ่านพ้นไป ถ้าบุคคลนั้นตกอยู่ในอันตรายเช่นว่านั้น. |
คนสุก เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่บวชเป็นพระภิกษุและสึกแล้ว. | คนสุก น. ชายที่บวชเป็นพระภิกษุและสึกแล้ว. |
คนเสมือนไร้ความสามารถ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-ถอ-ถุง | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้ เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. | คนเสมือนไร้ความสามารถ (กฎ) น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้ เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. |
คนโสด เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง ชายหรือหญิงที่ยังไม่ได้แต่งงาน, มักใช้หมายถึง ชายโสด. | คนโสด น. ชายหรือหญิงที่ยังไม่ได้แต่งงาน, มักใช้หมายถึง ชายโสด. |
คนโอบ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง ขนาดของของกลมเช่นเสา ต้นไม้ ที่วัดโดยรอบโดยวิธีใช้แขนทั้ง ๒ ข้างโอบ เช่น เสาขนาด ๒ คนโอบ ต้นไม้ขนาด ๔ คนโอบ. | คนโอบ น. ขนาดของของกลมเช่นเสา ต้นไม้ ที่วัดโดยรอบโดยวิธีใช้แขนทั้ง ๒ ข้างโอบ เช่น เสาขนาด ๒ คนโอบ ต้นไม้ขนาด ๔ คนโอบ. |
คน เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทําสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ ให้เข้ากัน. | คน ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทําสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ ให้เข้ากัน. |
ค้น เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง พยายามหาให้พบโดยวิธีสืบ เสาะ แสวง เป็นต้น. | ค้น ก. พยายามหาให้พบโดยวิธีสืบ เสาะ แสวง เป็นต้น. |
ค้นคว้า เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง หาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา, เสาะหาเอามา. | ค้นคว้า ก. หาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา, เสาะหาเอามา. |
ค้นหูก เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง จัดเส้นไหมหรือด้ายสําหรับทอผ้าให้มีจํานวนเหมาะกันกับช่องฟันฟืม. | ค้นหูก ก. จัดเส้นไหมหรือด้ายสําหรับทอผ้าให้มีจํานวนเหมาะกันกับช่องฟันฟืม. |
คนทา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา | [คน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Harrisonia perforata (Blanco) Merr. ในวงศ์ Simaroubaceae มักขึ้นเป็นหมู่ในป่าโปร่ง สูงได้ถึง ๘ เมตร มีหนามทั่วต้น ใบคล้ายมะขวิดแต่เขื่องกว่า ดอกสีขาว ผลกลมแป้นขนาดราวหัวแม่มือ ทุกส่วนมีรสขม ใช้ทํายาได้ กิ่งใช้ทําไม้สีฟัน, สีฟันคนทา หรือ กะลันทา ก็เรียก, พายัพเรียก จี้ หรือ หนามจี้. | คนทา [คน] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Harrisonia perforata (Blanco) Merr. ในวงศ์ Simaroubaceae มักขึ้นเป็นหมู่ในป่าโปร่ง สูงได้ถึง ๘ เมตร มีหนามทั่วต้น ใบคล้ายมะขวิดแต่เขื่องกว่า ดอกสีขาว ผลกลมแป้นขนาดราวหัวแม่มือ ทุกส่วนมีรสขม ใช้ทํายาได้ กิ่งใช้ทําไม้สีฟัน, สีฟันคนทา หรือ กะลันทา ก็เรียก, พายัพเรียก จี้ หรือ หนามจี้. |
คนทิสอ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ออ-อ่าง | ดู คนทีสอ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ออ-อ่าง ที่ คนที เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒. | คนทิสอ ดู คนทีสอ ที่ คนที ๒. |
คนทิสอทะเล เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง | ดู คนที เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒. | คนทิสอทะเล ดู คนที ๒. |
คนที เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๑ | [คน] เป็นคำนาม หมายถึง กุณฑี, หม้อนํ้า, หม้อนํ้ามีหู, เต้านํ้า. | คนที ๑ [คน] น. กุณฑี, หม้อนํ้า, หม้อนํ้ามีหู, เต้านํ้า. |
คนที เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒ | [คน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex trifolia L. var. simplicifolia Cham. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามชายทะเล ลําต้นเลื้อย ใบและดอกเหมือนคนทีสอ ใช้แก้พิษแมงกะพรุน, คนทิสอทะเล ก็เรียก. | คนที ๒ [คน] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex trifolia L. var. simplicifolia Cham. ในวงศ์ Labiatae ขึ้นตามชายทะเล ลําต้นเลื้อย ใบและดอกเหมือนคนทีสอ ใช้แก้พิษแมงกะพรุน, คนทิสอทะเล ก็เรียก. |
คนทีเขมา เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา | [คนทีขะเหฺมา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex negundo L. ในวงศ์ Labiatae คล้ายต้นคนทีสอ แต่ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓๕ ใบ และมีขนาดใหญ่กว่า ดอกสีขาว ปลูกไว้ตามบ้าน ใช้ทํายาได้, ปัตตานีเรียก กุโนกามอ. | คนทีเขมา [คนทีขะเหฺมา] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex negundo L. ในวงศ์ Labiatae คล้ายต้นคนทีสอ แต่ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓๕ ใบ และมีขนาดใหญ่กว่า ดอกสีขาว ปลูกไว้ตามบ้าน ใช้ทํายาได้, ปัตตานีเรียก กุโนกามอ. |
คนทีสอ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-สอ-เสือ-ออ-อ่าง | [คน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex trifolia L. ในวงศ์ Labiatae มักขึ้นในที่โล่งริมนํ้า สูงได้ถึง ๖ เมตร ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ท้องใบสีนวล เมื่อขยี้มีกลิ่นฉุน ดอกสีครามอ่อน ใช้ทํายาได้, คนทิสอ โคนดินสอ หรือ สีสอ ก็เรียก, พายัพเรียก สีเสื้อน้อย หรือ ผีเสื้อน้อย. | คนทีสอ [คน] น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex trifolia L. ในวงศ์ Labiatae มักขึ้นในที่โล่งริมนํ้า สูงได้ถึง ๖ เมตร ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓ ใบ ท้องใบสีนวล เมื่อขยี้มีกลิ่นฉุน ดอกสีครามอ่อน ใช้ทํายาได้, คนทิสอ โคนดินสอ หรือ สีสอ ก็เรียก, พายัพเรียก สีเสื้อน้อย หรือ ผีเสื้อน้อย. |
คนโท เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน | [คน] เป็นคำนาม หมายถึง กุณโฑ, หม้อนํ้ารูปต่าง ๆ คอยาว. | คนโท [คน] น. กุณโฑ, หม้อนํ้ารูปต่าง ๆ คอยาว. |
คนธ์, คันธ์ คนธ์ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด คันธ์ เขียนว่า คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กลิ่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คนฺธ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง. | คนธ์, คันธ์ (แบบ) น. กลิ่น. (ป. คนฺธ). |
คนธรรพ, คนธรรพ์ คนธรรพ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน คนธรรพ์ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-ทัน-ทะ-คาด | [คนทันพะ, คนทับพะ, คนทัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็นบริวารท้าวธตรฐ มีความชํานาญในวิชาดนตรีและขับร้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คนฺธรฺว เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน และมาจากภาษาบาลี คนฺธพฺพ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-พาน. | คนธรรพ, คนธรรพ์ [คนทันพะ, คนทับพะ, คนทัน] น. ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็นบริวารท้าวธตรฐ มีความชํานาญในวิชาดนตรีและขับร้อง. (ส. คนฺธรฺว; ป. คนฺธพฺพ). |
คนธรรพวิวาห์ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | [คนทันพะ] เป็นคำนาม หมายถึง การได้เสียเป็นผัวเมียกันเองโดยไม่แต่งงาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คนฺธรฺววิวาห เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ. | คนธรรพวิวาห์ [คนทันพะ] น. การได้เสียเป็นผัวเมียกันเองโดยไม่แต่งงาน. (ส. คนฺธรฺววิวาห). |
คนธรรพศาสต เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ทอ-ทง-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-พาน-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า | ร์ [คนทับพะ] น. วิชาดนตรีและขับร้อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คนฺธรฺวเวท เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-พิน-ทุ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน ว่า วิชาดนตรี . | คนธรรพศาสต ร์ [คนทับพะ] น. วิชาดนตรีและขับร้อง. (ส. คนฺธรฺวเวท ว่า วิชาดนตรี). |
คนละ เขียนว่า คอ-ควาย-นอ-หนู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คนหนึ่ง ๆ, แต่ละคน, เช่น เก็บเงินคนละ ๕ บาท; ต่างหากจากกัน ไม่ใช่อย่างเดียวกัน เช่น ผ้าคนละชนิด หนังสือคนละเล่ม. | คนละ ว. คนหนึ่ง ๆ, แต่ละคน, เช่น เก็บเงินคนละ ๕ บาท; ต่างหากจากกัน ไม่ใช่อย่างเดียวกัน เช่น ผ้าคนละชนิด หนังสือคนละเล่ม. |
คเนจร เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ | [คะเนจอน] เป็นคำกริยา หมายถึง เที่ยวซัดเซไป. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตัวหนังใหญ่ที่สลักเป็นรูปในท่าเดิน. ในวงเล็บ มาจาก ลัทธิธรรมเนียมภาคต่าง ๆ ฉบับกรมศิลปากร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คคเนจร เขียนว่า คอ-ควาย-คอ-ควาย-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-จอ-จาน-รอ-เรือ ว่า ผู้ไปในท้องฟ้า . | คเนจร [คะเนจอน] ก. เที่ยวซัดเซไป. น. เรียกตัวหนังใหญ่ที่สลักเป็นรูปในท่าเดิน. (ลัทธิ). (ส. คคเนจร ว่า ผู้ไปในท้องฟ้า). |
คบ เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ง่ามต้นไม้ที่กิ่งใหญ่กับลำต้นแยกกัน, คาคบ หรือ ค่าคบ ก็ว่า. | คบ ๑ น. ง่ามต้นไม้ที่กิ่งใหญ่กับลำต้นแยกกัน, คาคบ หรือ ค่าคบ ก็ว่า. |
คบ ๒, คบไฟ, คบเพลิง คบ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ คบไฟ เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน คบเพลิง เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ของใช้สําหรับจุดไฟให้สว่าง ทําด้วยของแห้งเช่นใบไม้และขี้กบเป็นต้น เอามามัดเป็นดุ้นยาว, มัดเชื้อเพลิง ก็ว่า. | คบ ๒, คบไฟ, คบเพลิง น. ของใช้สําหรับจุดไฟให้สว่าง ทําด้วยของแห้งเช่นใบไม้และขี้กบเป็นต้น เอามามัดเป็นดุ้นยาว, มัดเชื้อเพลิง ก็ว่า. |
คบ เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๓ | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าเป็นพวกกัน. | คบ ๓ ก. เข้าเป็นพวกกัน. |
คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา ซอ-โซ่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-หอ-หีบ-ไม้-โท-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง จะพิจารณาคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้พิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ. | คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ (สำ) ก. จะพิจารณาคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้พิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ. |
คบค้า, คบค้าสมาคม คบค้า เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา คบค้าสมาคม เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน, คบหา ก็ว่า. | คบค้า, คบค้าสมาคม ก. ไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน, คบหา ก็ว่า. |
คบคิด เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำกริยา หมายถึง ร่วมคิดกันทําการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่เปิดเผย. | คบคิด ก. ร่วมคิดกันทําการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่เปิดเผย. |
คบชู้ เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำกริยา หมายถึง มีชู้. | คบชู้ ก. มีชู้. |
คบหา เขียนว่า คอ-ควาย-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน, คบค้า หรือ คบค้าสมาคม ก็ว่า. | คบหา ก. ไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน, คบค้า หรือ คบค้าสมาคม ก็ว่า. |
คม เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง ก้ม, คํานับ, ไหว้, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงคมในความหมายว่า ทรงไหว้. (กร่อนมาจาก บังคม). ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร . | คม ๑ ก. ก้ม, คํานับ, ไหว้, ราชาศัพท์ใช้ว่า ทรงคมในความหมายว่า ทรงไหว้. (กร่อนมาจาก บังคม). (ข.). |
คม เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนบางมากจนสามารถบาดได้ เช่น คมมีด คมดาบ คมหญ้า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ทื่อ เช่น มีดคม, บาดได้ เช่น ป่านคม; เฉียบแหลม เช่น ปัญญาคม; ชัดเจน เช่น ภาพคม เส้นคม, โดยปริยายใช้สําหรับตาและปากซึ่งมีลักษณะอย่างของที่คมอาจบาดหรือแทงใจได้. | คม ๒ น. ส่วนบางมากจนสามารถบาดได้ เช่น คมมีด คมดาบ คมหญ้า. ว. ไม่ทื่อ เช่น มีดคม, บาดได้ เช่น ป่านคม; เฉียบแหลม เช่น ปัญญาคม; ชัดเจน เช่น ภาพคม เส้นคม, โดยปริยายใช้สําหรับตาและปากซึ่งมีลักษณะอย่างของที่คมอาจบาดหรือแทงใจได้. |
คมกริบ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คมมาก; ฉลาดทันคน, เฉียบแหลม, ไหวทัน. | คมกริบ ว. คมมาก; ฉลาดทันคน, เฉียบแหลม, ไหวทัน. |
คมขำ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง สวยอย่างซึ้งใจชวนพิศ มักหมายถึงหญิงผิว ๒ สี. | คมขำ ก. สวยอย่างซึ้งใจชวนพิศ มักหมายถึงหญิงผิว ๒ สี. |
คมคาย เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาด, ไหวพริบดี, ทันคน, เช่น วาจาคมคาย พูดจาคมคาย สำนวนภาษาคมคาย, มีแววฉลาด เช่น หน้าตาคมคาย. | คมคาย ว. ฉลาด, ไหวพริบดี, ทันคน, เช่น วาจาคมคาย พูดจาคมคาย สำนวนภาษาคมคาย, มีแววฉลาด เช่น หน้าตาคมคาย. |
คมในฝัก เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความรู้ความสามารถแต่เมื่อยังไม่ถึงเวลาก็ไม่แสดงออกมาให้ปรากฏ. | คมในฝัก ๑ (สำ) ว. มีความรู้ความสามารถแต่เมื่อยังไม่ถึงเวลาก็ไม่แสดงออกมาให้ปรากฏ. |
คมสัน เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีหน้าตาท่าทางเข้าทีน่าดู. | คมสัน ว. มีหน้าตาท่าทางเข้าทีน่าดู. |
คมน, คมน์ คมน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู คมน์ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [คะมะนะ, คมมะนะ, คม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง การไป, การถึง, มักใช้ประสมกับคําอื่น เช่น สรณคมน์ คมนาการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | คมน, คมน์ [คะมะนะ, คมมะนะ, คม] (แบบ) น. การไป, การถึง, มักใช้ประสมกับคําอื่น เช่น สรณคมน์ คมนาการ. (ป.). |
คมนาการ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [คะมะนากาน, คมมะนากาน] เป็นคำนาม หมายถึง การไป, การถึง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คมน เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู + อาการ เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ . | คมนาการ [คะมะนากาน, คมมะนากาน] น. การไป, การถึง. (ป. คมน + อาการ). |
คมนาคม เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | [คะมะนาคม, คมมะนาคม] เป็นคำนาม หมายถึง การติดต่อไปมาถึงกัน, การสื่อสาร; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการคมนาคม การขนส่ง การพาณิชยนาวี การสื่อสาร และการอุตุนิยมวิทยา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คมน เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู + อาคม เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า . | คมนาคม [คะมะนาคม, คมมะนาคม] น. การติดต่อไปมาถึงกัน, การสื่อสาร; ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการคมนาคม การขนส่ง การพาณิชยนาวี การสื่อสาร และการอุตุนิยมวิทยา. (ป. คมน + อาคม). |
คมนาการ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | ดู คมน, คมน์ คมน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู คมน์ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด . | คมนาการ ดู คมน, คมน์. |
คมนาคม เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-มอ-ม้า | ดู คมน, คมน์ คมน มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู คมน์ เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด . | คมนาคม ดู คมน, คมน์. |
คมในฝัก เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | ดูใน คม เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒. | คมในฝัก ๑ ดูใน คม ๒. |
คมในฝัก เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-นอ-หนู-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงยาวกลบทและกลอักษร. | คมในฝัก ๒ น. ชื่อเพลงยาวกลบทและกลอักษร. |
คมบาง เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Apluda mutica L. ในวงศ์ Gramineae ขอบใบคม. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Carex และ Scleria วงศ์ Cyperaceae เช่น ชนิด C. baccans Nees ผลสุกสีน้ำตาล และชนิด S. purpurascens Steud. ผลสุกสีขาว. | คมบาง น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Apluda mutica L. ในวงศ์ Gramineae ขอบใบคม. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Carex และ Scleria วงศ์ Cyperaceae เช่น ชนิด C. baccans Nees ผลสุกสีน้ำตาล และชนิด S. purpurascens Steud. ผลสุกสีขาว. |
คมิกภัต เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า | [คะมิกะ] เป็นคำนาม หมายถึง อาหารที่เตรียมถวายภิกษุก่อนที่ท่านจะออกเดินทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คมิกภตฺต เขียนว่า คอ-ควาย-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-พอ-สำ-เพา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า. | คมิกภัต [คะมิกะ] น. อาหารที่เตรียมถวายภิกษุก่อนที่ท่านจะออกเดินทาง. (ป. คมิกภตฺต). |
ครก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-กอ-ไก่ | [คฺรก] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องใช้ที่มีลักษณะอย่างหลุมสําหรับตําหรือโขลกด้วยสาก, เครื่องใช้ที่ทําด้วยไม้ทั้งท่อนขนาดใหญ่ ยาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ขุดเนื้อในออกให้เป็นหลุมลึก สําหรับตําหรือซ้อมข้าวเป็นต้นด้วยสากหรือตะลุมพุก เรียกว่า ครกซ้อมมือ, ถ้าใช้ตําด้วยกระเดื่อง เรียกว่า ครกกระเดื่อง; เรียกขนมที่ทําด้วยแป้งกับกะทิหยอดในภาชนะกระเบื้องหรือโลหะที่ทําเป็นหลุม ๆ ตั้งบนไฟ ว่า ขนมครก; ชื่อปืนใหญ่ขนาดสั้นใช้สําหรับยิงโดยมีวิถีกระสุนโค้งมาก, เครื่องยิงลูกระเบิด มีลํากล้องขนาดใหญ่และสั้น ผิวลํากล้องเป็นเกลียวหรือเรียบก็ได้ บรรจุลูกระเบิดทางปากกระบอก ใช้สําหรับยิงลูกระเบิดโดยมีวิถีกระสุนโค้งมาก. | ครก [คฺรก] น. เครื่องใช้ที่มีลักษณะอย่างหลุมสําหรับตําหรือโขลกด้วยสาก, เครื่องใช้ที่ทําด้วยไม้ทั้งท่อนขนาดใหญ่ ยาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร ขุดเนื้อในออกให้เป็นหลุมลึก สําหรับตําหรือซ้อมข้าวเป็นต้นด้วยสากหรือตะลุมพุก เรียกว่า ครกซ้อมมือ, ถ้าใช้ตําด้วยกระเดื่อง เรียกว่า ครกกระเดื่อง; เรียกขนมที่ทําด้วยแป้งกับกะทิหยอดในภาชนะกระเบื้องหรือโลหะที่ทําเป็นหลุม ๆ ตั้งบนไฟ ว่า ขนมครก; ชื่อปืนใหญ่ขนาดสั้นใช้สําหรับยิงโดยมีวิถีกระสุนโค้งมาก, เครื่องยิงลูกระเบิด มีลํากล้องขนาดใหญ่และสั้น ผิวลํากล้องเป็นเกลียวหรือเรียบก็ได้ บรรจุลูกระเบิดทางปากกระบอก ใช้สําหรับยิงลูกระเบิดโดยมีวิถีกระสุนโค้งมาก. |
ครกกะเบือ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำนาม หมายถึง ครกดินสําหรับตําข้าวเบือหรือนํ้าพริกเป็นต้น, ใช้คู่กับ สากกะเบือ. | ครกกะเบือ น. ครกดินสําหรับตําข้าวเบือหรือนํ้าพริกเป็นต้น, ใช้คู่กับ สากกะเบือ. |
คร่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู | [คฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เสือโคร่ง. | คร่ง [คฺร่ง] น. เสือโคร่ง. |
ครบ, ครบถ้วน ครบ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้ ครบถ้วน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-ถอ-ถุง-ไม้-โท-วอ-แหวน-นอ-หนู | [คฺรบ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถ้วน, เต็มจํานวนที่กําหนดไว้. | ครบ, ครบถ้วน [คฺรบ] ว. ถ้วน, เต็มจํานวนที่กําหนดไว้. |
ครบครัน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พร้อมเพรียง, ไม่ขาดเหลือ, บริบูรณ์. | ครบครัน ว. พร้อมเพรียง, ไม่ขาดเหลือ, บริบูรณ์. |
ครบมือ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอยู่ครบในครอบครอง (ใช้แก่อาวุธและคนตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น มีอาวุธครบมือ; มีเครื่องมือเครื่องใช้อย่างพร้อมเพรียง เช่น ช่างไม้มีอุปกรณ์ครบมือ. | ครบมือ ว. มีอยู่ครบในครอบครอง (ใช้แก่อาวุธและคนตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น มีอาวุธครบมือ; มีเครื่องมือเครื่องใช้อย่างพร้อมเพรียง เช่น ช่างไม้มีอุปกรณ์ครบมือ. |
ครรชิต เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [คันชิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง คํารน, บันลือเสียง, เอิกเกริก, กึกก้อง, กระหึม, เช่น ครรชิตฤทธิ์ราวี. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ครฺชิต เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาบาลี คชฺชิต เขียนว่า คอ-ควาย-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า. | ครรชิต [คันชิด] (แบบ) ก. คํารน, บันลือเสียง, เอิกเกริก, กึกก้อง, กระหึม, เช่น ครรชิตฤทธิ์ราวี. (ลอ). (ส. ครฺชิต; ป. คชฺชิต). |
ครรภ, ครรภ, ครรภ์ ครรภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา ครรภ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา ครรภ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด | [คับ, คับพะ, คัน] เป็นคำนาม หมายถึง ห้อง, ท้อง เช่น หญิงมีครรภ์ (ใช้เฉพาะผู้หญิงที่มีลูกอยู่ในท้อง). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ครฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา และมาจากภาษาบาลี คพฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-พอ-พาน-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา. | ครรภ, ครรภ, ครรภ์ [คับ, คับพะ, คัน] น. ห้อง, ท้อง เช่น หญิงมีครรภ์ (ใช้เฉพาะผู้หญิงที่มีลูกอยู่ในท้อง). (ส. ครฺภ; ป. คพฺภ). |
ครรภ์ไข่ปลาอุก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง ครรภ์ผิดปรกติที่เซลล์เยื่อหุ้มตัวอ่อนกลายเป็นเนื้องอกในมดลูก มีลักษณะเป็นเม็ดติดกันเป็นพวงคล้ายไข่ปลาอุก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ mole เขียนว่า เอ็ม-โอ-แอล-อี hydatid เขียนว่า เอช-วาย-ดี-เอ-ที-ไอ-ดี mole เขียนว่า เอ็ม-โอ-แอล-อี hydatidiform เขียนว่า เอช-วาย-ดี-เอ-ที-ไอ-ดี-ไอ-เอฟ-โอ-อา-เอ็ม mole เขียนว่า เอ็ม-โอ-แอล-อี . | ครรภ์ไข่ปลาอุก น. ครรภ์ผิดปรกติที่เซลล์เยื่อหุ้มตัวอ่อนกลายเป็นเนื้องอกในมดลูก มีลักษณะเป็นเม็ดติดกันเป็นพวงคล้ายไข่ปลาอุก. (อ. mole, hydatid mole, hydatidiform mole). |
ครรภธาตุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ | [คับพะ] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของพระสถูปหรือพระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ภายใน, ธาตุครรภ หรือ เรือนธาตุ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ครฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา + ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ . | ครรภธาตุ [คับพะ] น. ส่วนของพระสถูปหรือพระปรางค์ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุหรือพระธาตุไว้ภายใน, ธาตุครรภ หรือ เรือนธาตุ ก็ว่า. (ส. ครฺภ + ธาตุ). |
ครรภธาตุมณฑล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ภาวะอันแท้จริงของพระพุทธเจ้าซึ่งอยู่ในสรรพสัตว์ แต่ยังไม่ได้สําแดงให้ปรากฏ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ครฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา + ธาตุ เขียนว่า ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ + มณฺฑล เขียนว่า มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง . | ครรภธาตุมณฑล น. ภาวะอันแท้จริงของพระพุทธเจ้าซึ่งอยู่ในสรรพสัตว์ แต่ยังไม่ได้สําแดงให้ปรากฏ. (ส. ครฺภ + ธาตุ + มณฺฑล). |
ครรภมณฑล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง ห้องประดิษฐานพระพุทธรูปหรือรูปพระโพธิสัตว์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ครฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา + มณฺฑล เขียนว่า มอ-ม้า-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท-ลอ-ลิง . | ครรภมณฑล น. ห้องประดิษฐานพระพุทธรูปหรือรูปพระโพธิสัตว์. (ส. ครฺภ + มณฺฑล). |
ครรภมล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-มอ-ม้า-ลอ-ลิง | [คับพะมน] เป็นคำนาม หมายถึง รก. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ ฉบับโรงพิมพ์คุรุสภา พ.ศ. ๒๕๐๕, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ หมายถึง พระครรภมล. | ครรภมล [คับพะมน] น. รก. (ประกาศ ร. ๔), (ราชา) พระครรภมล. |
ครรโภทร เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ | [คันโพทอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ท้องมีลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ครฺภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-พอ-สำ-เพา + อุทร เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ . | ครรโภทร [คันโพทอน] (แบบ) น. ท้องมีลูก. (ส. ครฺภ + อุทร). |
ครรโภทร เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-พอ-สำ-เพา-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ | ดู ครรภ, ครรภ, ครรภ์ ครรภ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา ครรภ มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา ครรภ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-พอ-สำ-เพา-ทัน-ทะ-คาด . | ครรโภทร ดู ครรภ, ครรภ, ครรภ์. |
ครรลอง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู | [คันลอง] เป็นคำนาม หมายถึง ทาง, แนวทาง, แบบฉบับ. (แผลงมาจาก คลอง). | ครรลอง [คันลอง] น. ทาง, แนวทาง, แบบฉบับ. (แผลงมาจาก คลอง). |
ครรโลง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-ลอ-ลิง-งอ-งู | [คันโลง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โคลง, คําประพันธ์ชนิดหนึ่ง. (แผลงมาจาก โคลง). | ครรโลง [คันโลง] (กลอน) น. โคลง, คําประพันธ์ชนิดหนึ่ง. (แผลงมาจาก โคลง). |
ครรไล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง | [คัน] เป็นคำกริยา หมายถึง ไคล, ไป. (แผลงมาจาก ไคล). | ครรไล [คัน] ก. ไคล, ไป. (แผลงมาจาก ไคล). |
ครรไลหงส์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง-หอ-หีบ-งอ-งู-สอ-เสือ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง พระผู้มีหงส์เป็นพาหนะ หมายถึง พระพรหม เพราะพระพรหมทรงมีหงส์เป็นพาหนะ. | ครรไลหงส์ น. พระผู้มีหงส์เป็นพาหนะ หมายถึง พระพรหม เพราะพระพรหมทรงมีหงส์เป็นพาหนะ. |
ครรหิต เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า | [คันหิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถูกจับไว้, ถูกยึดไว้, ซึ่งถือไว้, เช่น ก็บ่มิครรหิตให้แล้. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี คหิต เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า และมาจากภาษาสันสกฤต คฺฤหิต เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า. | ครรหิต [คันหิด] (แบบ) ว. ถูกจับไว้, ถูกยึดไว้, ซึ่งถือไว้, เช่น ก็บ่มิครรหิตให้แล้. (ม. คำหลวง กุมาร). (ป. คหิต; ส. คฺฤหิต). |
ครวญ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-หยิง | [คฺรวน] เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องรําพัน. | ครวญ [คฺรวน] ก. ร้องรําพัน. |
ครวญคราง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-หยิง-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ครางเรื่อย ๆ ไป. | ครวญคราง ก. ครางเรื่อย ๆ ไป. |
ครวญหา เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-หยิง-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | ครวญหา น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
ครวัก, ครวี ครวัก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ครวี เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี | [คฺระวัก, คฺระวี] เป็นคำกริยา หมายถึง กวัดแกว่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร ครฺวาต่ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-เอก ครฺวี เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-พิน-ทุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี . | ครวัก, ครวี [คฺระวัก, คฺระวี] ก. กวัดแกว่ง. (ข. ครฺวาต่, ครฺวี). |
ครหา เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | [คะระหา, คอระหา] เป็นคำกริยา หมายถึง ติเตียน, ติโทษ. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต คฺรหา เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา. | ครหา [คะระหา, คอระหา] ก. ติเตียน, ติโทษ. (ป., ส. คฺรหา). |
ครอก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | [คฺรอก] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกสัตว์หลายตัวที่เกิดพร้อมกันคราวเดียว เช่น ลูกครอกปลาช่อน, ลักษณนามเรียกการตกลูกของสัตว์คราวหนึ่ง ๆ เช่น ปีนี้แมวออกลูก ๒ ครอก; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ลูกของทาสที่เกิดในเรือนเบี้ย เรียกว่า ลูกครอก. | ครอก ๑ [คฺรอก] น. ลูกสัตว์หลายตัวที่เกิดพร้อมกันคราวเดียว เช่น ลูกครอกปลาช่อน, ลักษณนามเรียกการตกลูกของสัตว์คราวหนึ่ง ๆ เช่น ปีนี้แมวออกลูก ๒ ครอก; (โบ) ลูกของทาสที่เกิดในเรือนเบี้ย เรียกว่า ลูกครอก. |
ครอก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | [คฺรอก] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง เจ้าโดยกำเนิดหรือที่สถาปนาขึ้น, เรียกพระราชโอรสและพระราชธิดาชั้นเจ้าฟ้าว่า เจ้าครอกฟ้า, เรียกพระองค์เจ้าและหม่อมเจ้าว่า เจ้าครอก. | ครอก ๒ [คฺรอก] (โบ) น. เจ้าโดยกำเนิดหรือที่สถาปนาขึ้น, เรียกพระราชโอรสและพระราชธิดาชั้นเจ้าฟ้าว่า เจ้าครอกฟ้า, เรียกพระองค์เจ้าและหม่อมเจ้าว่า เจ้าครอก. |
ครอก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓ | [คฺรอก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงกรนของคนที่หลับ. | ครอก ๓ [คฺรอก] ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงกรนของคนที่หลับ. |
ครอง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | [คฺรอง] เป็นคำกริยา หมายถึง ปกครองรักษาโดยความเป็นใหญ่ เช่น ครองเมือง; ดํารงไว้, รักษาไว้, เช่น ครองสิกขา ครองชีพ ครองตัว; นุ่งห่ม (ใช้แก่นักบวช) เช่น ครองจีวร ครองผ้า; ถือสิทธิเป็นเจ้าของ เช่น เอาไปครองเสียหลายวัน. | ครอง [คฺรอง] ก. ปกครองรักษาโดยความเป็นใหญ่ เช่น ครองเมือง; ดํารงไว้, รักษาไว้, เช่น ครองสิกขา ครองชีพ ครองตัว; นุ่งห่ม (ใช้แก่นักบวช) เช่น ครองจีวร ครองผ้า; ถือสิทธิเป็นเจ้าของ เช่น เอาไปครองเสียหลายวัน. |
ครองราชสมบัติ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำกริยา หมายถึง เสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์. | ครองราชสมบัติ ก. เสวยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์. |
ครองแครง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งู | [คฺรองแคฺรง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมทําด้วยแป้งกดบนพิมพ์ที่เป็นรอยริ้ว ๆ คล้ายฝาหอยแครง ต้มกับกะทิ, ถ้าทอดกรอบเคล้านํ้าตาลเคี่ยว เรียกว่า ครองแครงกรอบ. | ครองแครง [คฺรองแคฺรง] น. ชื่อขนมทําด้วยแป้งกดบนพิมพ์ที่เป็นรอยริ้ว ๆ คล้ายฝาหอยแครง ต้มกับกะทิ, ถ้าทอดกรอบเคล้านํ้าตาลเคี่ยว เรียกว่า ครองแครงกรอบ. |
คร่อเงาะ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | ดู ขล้อเงาะ เขียนว่า ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ. | คร่อเงาะ ดู ขล้อเงาะ. |
คร่อเทียน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | ดู ขล้อเทียน เขียนว่า ขอ-ไข่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู. | คร่อเทียน ดู ขล้อเทียน. |
ครอบ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑ | [คฺรอบ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของที่มีลักษณะคลุ่ม ๆ คล้ายขันควํ่าเป็นต้นปิดงําไว้ เช่น เอาฝาชีครอบ เอากะลาครอบ. เป็นคำนาม หมายถึง แก้วรูปลูกฟักตัดสําหรับครอบพระพุทธรูปหรือเครื่องบูชาเป็นต้น; ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ รูปทรงคล้ายลูกฟักหรือคล้ายน้ำเต้า มีเชิง ฝาครอบเป็นรูปทรงหัวเม็ดทรงมัณฑ์เป็นต้น สำหรับใส่น้ำมนต์. | ครอบ ๑ [คฺรอบ] ก. เอาของที่มีลักษณะคลุ่ม ๆ คล้ายขันควํ่าเป็นต้นปิดงําไว้ เช่น เอาฝาชีครอบ เอากะลาครอบ. น. แก้วรูปลูกฟักตัดสําหรับครอบพระพุทธรูปหรือเครื่องบูชาเป็นต้น; ภาชนะชนิดหนึ่ง ทำด้วยโลหะ รูปทรงคล้ายลูกฟักหรือคล้ายน้ำเต้า มีเชิง ฝาครอบเป็นรูปทรงหัวเม็ดทรงมัณฑ์เป็นต้น สำหรับใส่น้ำมนต์. |
ครอบครอง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ยึดถือไว้, มีสิทธิปกครอง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง ยึดถือทรัพย์สินไว้โดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน อันทำให้บุคคลได้มาซึ่งสิทธิครอบครอง ทั้งนี้จะยึดถือไว้เองหรือบุคคลอื่นยึดถือไว้ให้ก็ได้. | ครอบครอง ก. ยึดถือไว้, มีสิทธิปกครอง; (กฎ) ยึดถือทรัพย์สินไว้โดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน อันทำให้บุคคลได้มาซึ่งสิทธิครอบครอง ทั้งนี้จะยึดถือไว้เองหรือบุคคลอื่นยึดถือไว้ให้ก็ได้. |
ครอบครองปรปักษ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ทัน-ทะ-คาด | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ บุคคลผู้ครอบครองปรปักษ์ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๑๐ ปี ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๕ ปี บุคคลนั้นได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น. | ครอบครองปรปักษ์ (กฎ) ก. ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นไว้โดยความสงบและโดยเปิดเผยด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ บุคคลผู้ครอบครองปรปักษ์ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๑๐ ปี ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา ๕ ปี บุคคลนั้นได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินนั้น. |
ครอบคลุม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง รวมไปถึง. | ครอบคลุม ก. รวมไปถึง. |
ครอบงำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-งอ-งู-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง มีอํานาจเหนือ บังคับให้เป็นไปตาม เช่น กิเลสครอบงํา. | ครอบงำ ก. มีอํานาจเหนือ บังคับให้เป็นไปตาม เช่น กิเลสครอบงํา. |
ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น ถามแบบครอบจักรวาลอย่างนี้ตอบยาก. | ครอบจักรวาล ๑ (ปาก) ว. ครอบคลุมทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น ถามแบบครอบจักรวาลอย่างนี้ตอบยาก. |
ครอบ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๒ | [คฺรอบ] เป็นคำกริยา หมายถึง ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้, ถ่ายทอดความรู้ให้; ทําพิธีรับรองความรู้ เช่น ครูครอบศิษย์ (อย่างครูครอบศิษย์ด้วยหัวโขน). | ครอบ ๒ [คฺรอบ] ก. ประสิทธิ์ประสาทวิชาให้, ถ่ายทอดความรู้ให้; ทําพิธีรับรองความรู้ เช่น ครูครอบศิษย์ (อย่างครูครอบศิษย์ด้วยหัวโขน). |
ครอบครู เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู | เป็นคำนาม หมายถึง พิธีตั้งครูโขนเพื่อให้ผู้นั้นสามารถเป็นผู้ครอบศิษย์ต่อไป. | ครอบครู น. พิธีตั้งครูโขนเพื่อให้ผู้นั้นสามารถเป็นผู้ครอบศิษย์ต่อไป. |
ครอบครัว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | [คฺรอบคฺรัว] เป็นคำนาม หมายถึง สถาบันพื้นฐานของสังคมที่ประกอบด้วยสามีภรรยาและหมายความรวมถึงลูกด้วย. | ครอบครัว [คฺรอบคฺรัว] น. สถาบันพื้นฐานของสังคมที่ประกอบด้วยสามีภรรยาและหมายความรวมถึงลูกด้วย. |
ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๑ | [คฺรอบ]ดูใน ครอบ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑. | ครอบจักรวาล ๑ [คฺรอบ] ดูใน ครอบ ๑. |
ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๒ | [คฺรอบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยาเขียว. | ครอบจักรวาล ๒ [คฺรอบ] น. ชื่อยาเขียว. |
ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๓ | [คฺรอบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง เช่น พี่ นางแกล้งแปลงเรื่องให้เคืองพี่ | ครอบจักรวาล ๓ [คฺรอบ] น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง เช่น พี่ นางแกล้งแปลงเรื่องให้เคืองพี่ |
ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๔ | [คฺรอบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. | ครอบจักรวาล ๔ [คฺรอบ] น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. |
ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๕ | [คฺรอบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มในวงศ์ Malvaceae ใบมน ดอกเหลือง ผลใช้ทํายาได้ มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Abutilon hirtum (Lam.) Sweet ผลมักมี ๒๐๒๕ ซีก, ครอบตลับ หรือ ยักเพรีย ก็เรียก; และชนิด Hibiscus vitifolius L. ผลมี ๕ ปีก. | ครอบจักรวาล ๕ [คฺรอบ] น. ชื่อไม้พุ่มในวงศ์ Malvaceae ใบมน ดอกเหลือง ผลใช้ทํายาได้ มี ๒ ชนิด คือ ชนิด Abutilon hirtum (Lam.) Sweet ผลมักมี ๒๐๒๕ ซีก, ครอบตลับ หรือ ยักเพรีย ก็เรียก; และชนิด Hibiscus vitifolius L. ผลมี ๕ ปีก. |
ครอบตลับ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-ตอ-เต่า-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | [คฺรอบ]ดู ครอบจักรวาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง ความหมายที่ ๕. | ครอบตลับ [คฺรอบ] ดู ครอบจักรวาล ๕. |
คร่อม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า | [คฺร่อม] เป็นคำกริยา หมายถึง ยืนหรือนั่งแยกขาให้ของอยู่ใต้หว่างขา, ยงโย่ให้ของอยู่ใต้ตัว เช่น เอาตัวคร่อมไว้ นอนคร่อม, เอาสิ่งของเช่นโต๊ะเก้าอี้ตั้งในอาการเช่นนั้น เช่น วางโต๊ะคร่อมกองหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลูกเรือนคร่อมตอ สร้างสะพานคร่อมคลอง นั่งคร่อม ๒ ตำแหน่ง. | คร่อม [คฺร่อม] ก. ยืนหรือนั่งแยกขาให้ของอยู่ใต้หว่างขา, ยงโย่ให้ของอยู่ใต้ตัว เช่น เอาตัวคร่อมไว้ นอนคร่อม, เอาสิ่งของเช่นโต๊ะเก้าอี้ตั้งในอาการเช่นนั้น เช่น วางโต๊ะคร่อมกองหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปลูกเรือนคร่อมตอ สร้างสะพานคร่อมคลอง นั่งคร่อม ๒ ตำแหน่ง. |
คระ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๑ | [คฺระ]คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี คร เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำคำหรือเป็นพหูพจน์ เช่น คระคราง (หมายความว่า ครางคราง) คระครึ้ม (หมายความว่า ครึ้มครึ้ม) คระโครม (หมายความว่า โครมโครม). | คระ ๑ [คฺระ] คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี คร เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำคำหรือเป็นพหูพจน์ เช่น คระคราง (หมายความว่า ครางคราง) คระครึ้ม (หมายความว่า ครึ้มครึ้ม) คระโครม (หมายความว่า โครมโครม). |
คระ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ ๒ | [คฺระ]ใช้แทน กระ ที่เป็นพยางค์หน้า เช่น คระหน คระหาย คระโหย. | คระ ๒ [คฺระ] ใช้แทน กระ ที่เป็นพยางค์หน้า เช่น คระหน คระหาย คระโหย. |
คระเมิม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า | [คฺระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดุ, น่ากลัว, เช่น ครึ้มคระเมิมภัยรา. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาพน. | คระเมิม [คฺระ] ว. ดุ, น่ากลัว, เช่น ครึ้มคระเมิมภัยรา. (ม. คำหลวง มหาพน). |
คระแลง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-งอ-งู | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอียง, ลอยไป. (แผลงมาจาก แคลง). | คระแลง [คฺระ] ก. เอียง, ลอยไป. (แผลงมาจาก แคลง). |
คระไล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง ไป. (แผลงมาจาก ไคล). | คระไล [คฺระ] ก. ไป. (แผลงมาจาก ไคล). |
คระวี เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี | [คฺระ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง แกว่ง, กระวี ก็ว่า. | คระวี [คฺระ] (โบ) ก. แกว่ง, กระวี ก็ว่า. |
คระแวง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-งอ-งู | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง เคว้ง, แคว้ง, หมุนไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร คฺรแวง เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-วอ-แหวน-งอ-งู ว่า เหวี่ยง . | คระแวง [คฺระ] ก. เคว้ง, แคว้ง, หมุนไป. (ข. คฺรแวง ว่า เหวี่ยง). |
คระหน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-นอ-หนู | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง กระหน, ดิ้นรน, เดือดร้อน, กระวนกระวาย. | คระหน [คฺระ] ก. กระหน, ดิ้นรน, เดือดร้อน, กระวนกระวาย. |
คระหวน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-นอ-หนู | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง หวนนึก. | คระหวน [คฺระ] ก. หวนนึก. |
คระหาย เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง กระหาย, อยาก. | คระหาย [คฺระ] ก. กระหาย, อยาก. |
คระหิว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-วอ-แหวน | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง อยาก, หิว. | คระหิว [คฺระ] ก. อยาก, หิว. |
คระโหย เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ยอ-ยัก | [คฺระ] เป็นคำกริยา หมายถึง กระโหย, ระโหย, โหย, ละเหี่ยใจ. | คระโหย [คฺระ] ก. กระโหย, ระโหย, โหย, ละเหี่ยใจ. |
ครั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [คฺรั่ง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลี้ยหอยชนิด Laccifer lacca ในวงศ์ Lacciferidae ตัวเมียไม่มีปีก เมื่อเป็นตัวอ่อนระยะแรกจะมีขาและหนวด เคลื่อนไหวได้ เมื่อลอกคราบเวลาต่อมาจะไม่มีขา หยุดอยู่กับที่ดูดกินนํ้าเลี้ยงจากพืชและผลิตสารซึ่งเรียกว่า ขี้ครั่ง นําไปใช้ทําประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลายอย่าง. | ครั่ง ๑ [คฺรั่ง] น. ชื่อเพลี้ยหอยชนิด Laccifer lacca ในวงศ์ Lacciferidae ตัวเมียไม่มีปีก เมื่อเป็นตัวอ่อนระยะแรกจะมีขาและหนวด เคลื่อนไหวได้ เมื่อลอกคราบเวลาต่อมาจะไม่มีขา หยุดอยู่กับที่ดูดกินนํ้าเลี้ยงจากพืชและผลิตสารซึ่งเรียกว่า ขี้ครั่ง นําไปใช้ทําประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ หลายอย่าง. |
ครั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [คฺรั่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เอื้องครั่ง. ในวงเล็บ ดู เอื้องครั่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ที่ เอื้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | ครั่ง ๒ [คฺรั่ง] น. เอื้องครั่ง. (ดู เอื้องครั่ง ที่ เอื้อง ๑). |
ครั้ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู | [คฺรั้ง] เป็นคำนาม หมายถึง คราว, หน, ที. | ครั้ง [คฺรั้ง] น. คราว, หน, ที. |
ครัดเคร่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู | [คฺรัดเคฺร่ง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง แน่น, ตึง เช่น แก้มทั้งสองข้างดังปรางทอง เต้านมทั้งสองก็ครัดเคร่ง. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑, เคร่งครัด ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เข้มงวด, กวดขัน; ถูกต้องครบถ้วน. | ครัดเคร่ง [คฺรัดเคฺร่ง] (กลอน) ก. แน่น, ตึง เช่น แก้มทั้งสองข้างดังปรางทอง เต้านมทั้งสองก็ครัดเคร่ง. (ขุนช้างขุนแผน), เคร่งครัด ก็ว่า. ว. เข้มงวด, กวดขัน; ถูกต้องครบถ้วน. |
ครัน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [คฺรัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ประกอบคําอื่นมีความหมายไปในทํานองว่า นัก, แท้, ยิ่ง, จริง, เช่น ครบครัน เสนาะครัน ดีครัน. | ครัน [คฺรัน] ว. ใช้ประกอบคําอื่นมีความหมายไปในทํานองว่า นัก, แท้, ยิ่ง, จริง, เช่น ครบครัน เสนาะครัน ดีครัน. |
ครั่น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | [คฺรั่น] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกประหวั่นพรั่นพรึง. | ครั่น ๑ [คฺรั่น] ก. รู้สึกประหวั่นพรั่นพรึง. |
ครั่นคร้าม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว. | ครั่นคร้าม ก. เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว. |
ครั่น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | [คฺรั่น] เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกตึงเนื้อตึงตัว. | ครั่น ๒ [คฺรั่น] ก. รู้สึกตึงเนื้อตึงตัว. |
ครั่นตัว, ครั่นเนื้อครั่นตัว ครั่นตัว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ครั่นเนื้อครั่นตัว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำกริยา หมายถึง รู้สึกหนาว ๆ ร้อน ๆ เป็นอาการแสดงว่าจะเป็นไข้, รู้สึกสะบัดร้อนสะบัดหนาว, รู้สึกตึงเนื้อตึงตัว. | ครั่นตัว, ครั่นเนื้อครั่นตัว ก. รู้สึกหนาว ๆ ร้อน ๆ เป็นอาการแสดงว่าจะเป็นไข้, รู้สึกสะบัดร้อนสะบัดหนาว, รู้สึกตึงเนื้อตึงตัว. |
ครั้น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | [คฺรั้น] เป็นคำสันธาน หมายถึง เมื่อ. | ครั้น [คฺรั้น] สัน. เมื่อ. |
ครั่นครื้น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู | [คฺรั่นคฺรื้น] เป็นคำกริยา หมายถึง สะเทือน. | ครั่นครื้น [คฺรั่นคฺรื้น] ก. สะเทือน. |
ครับ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้ | [คฺรับ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คํารับหรือคําลงท้ายอย่างสุภาพที่ผู้ชายใช้. | ครับ [คฺรับ] ว. คํารับหรือคําลงท้ายอย่างสุภาพที่ผู้ชายใช้. |
ครัว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | [คฺรัว] เป็นคำนาม หมายถึง โรง เรือน หรือห้องสําหรับทํากับข้าวของกิน, เรียกผู้ที่อยู่กินร่วมครัวกัน. | ครัว ๑ [คฺรัว] น. โรง เรือน หรือห้องสําหรับทํากับข้าวของกิน, เรียกผู้ที่อยู่กินร่วมครัวกัน. |
ครัวไฟ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน | เป็นคำนาม หมายถึง ครัว. | ครัวไฟ น. ครัว. |
ครัวเรือน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ครอบครัวที่อยู่ในบ้านเรือนเดียวกัน. | ครัวเรือน น. ครอบครัวที่อยู่ในบ้านเรือนเดียวกัน. |
ครัว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | [คฺรัว] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ของ, สิ่งของ, เครื่องใช้, เช่น พ่อค้าแม่ค้าขายครัว; ทรัพย์มรดก เช่น ลูกหล้าครัวรอม คือ ลูกคนสุดท้องจะได้รับทรัพย์มรดกมากกว่าผู้อื่น, ขายครัวมายาตัว คือ ขายทรัพย์มรดกเพื่อมารักษาตัว. | ครัว ๒ [คฺรัว] (ถิ่นพายัพ) น. ของ, สิ่งของ, เครื่องใช้, เช่น พ่อค้าแม่ค้าขายครัว; ทรัพย์มรดก เช่น ลูกหล้าครัวรอม คือ ลูกคนสุดท้องจะได้รับทรัพย์มรดกมากกว่าผู้อื่น, ขายครัวมายาตัว คือ ขายทรัพย์มรดกเพื่อมารักษาตัว. |
ครัวทาน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ของถวายพระ. | ครัวทาน (ถิ่นพายัพ) น. ของถวายพระ. |
ครา เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา | [คฺรา] เป็นคำนาม หมายถึง ครั้ง, คราว, หน. | ครา [คฺรา] น. ครั้ง, คราว, หน. |
คร่า เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | [คฺร่า] เป็นคำกริยา หมายถึง ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี. | คร่า [คฺร่า] ก. ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี. |
คราก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | [คฺราก] เป็นคำกริยา หมายถึง ยืดขยายออกแล้วไม่คืนตัว เช่น กระเพาะคราก ท้องคราก; สึกกร่อน เช่น รูกลอนคราก รูรอดคราก; กระดูกตะโพกเคลื่อนที่แยกออก เรียกว่า ตะโพกคราก. | คราก [คฺราก] ก. ยืดขยายออกแล้วไม่คืนตัว เช่น กระเพาะคราก ท้องคราก; สึกกร่อน เช่น รูกลอนคราก รูรอดคราก; กระดูกตะโพกเคลื่อนที่แยกออก เรียกว่า ตะโพกคราก. |
คราง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [คฺราง] เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องเบา ๆ เรื่อย ๆ ด้วยความเจ็บปวดหรือเสียใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ครวญ เป็น ครวญคราง; ร้องเสียงลากยาว ๆ อย่างเสียงฟ้าร้อง เช่น อัมพรอุทรคราง เรียมคร่ำ ครวญแม่. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์. | คราง ๑ [คฺราง] ก. ร้องเบา ๆ เรื่อย ๆ ด้วยความเจ็บปวดหรือเสียใจ, มักใช้เข้าคู่กับคำ ครวญ เป็น ครวญคราง; ร้องเสียงลากยาว ๆ อย่างเสียงฟ้าร้อง เช่น อัมพรอุทรคราง เรียมคร่ำ ครวญแม่. (นิ. นรินทร์). |
คราง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [คฺราง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Scapharca inaequivalvis ในวงศ์ Arcidae ลักษณะคล้ายหอยแครงแต่ขนาดใหญ่กว่า ที่เปลือกมีขน อาศัยอยู่ตามบริเวณพื้นที่มีโคลนปนทราย. | คราง ๒ [คฺราง] น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Scapharca inaequivalvis ในวงศ์ Arcidae ลักษณะคล้ายหอยแครงแต่ขนาดใหญ่กว่า ที่เปลือกมีขน อาศัยอยู่ตามบริเวณพื้นที่มีโคลนปนทราย. |
คราญ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง | [คฺราน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งาม, สวย, น่ารัก, ใช้ประสมกับคําอื่น เช่น นงคราญ สะคราญ. | คราญ [คฺราน] ว. งาม, สวย, น่ารัก, ใช้ประสมกับคําอื่น เช่น นงคราญ สะคราญ. |
คราด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | [คฺราด] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือทําไร่ทํานาใช้วัวหรือควายลาก ลักษณะเป็นคาน มีซี่ห่าง ๆ กัน มีคันชักสําหรับลากขี้หญ้าและทําให้ดินที่ไถแล้วซุย, เครื่องมือสําหรับชักหรือลากขี้หญ้าหรือหยากเยื่อเป็นต้น ทําเป็นซี่ ๆ มีด้ามสําหรับจับชักหรือลากไป. เป็นคำกริยา หมายถึง ชักหรือลากขี้หญ้าเป็นต้นด้วยคราดนั้น. | คราด ๑ [คฺราด] น. เครื่องมือทําไร่ทํานาใช้วัวหรือควายลาก ลักษณะเป็นคาน มีซี่ห่าง ๆ กัน มีคันชักสําหรับลากขี้หญ้าและทําให้ดินที่ไถแล้วซุย, เครื่องมือสําหรับชักหรือลากขี้หญ้าหรือหยากเยื่อเป็นต้น ทําเป็นซี่ ๆ มีด้ามสําหรับจับชักหรือลากไป. ก. ชักหรือลากขี้หญ้าเป็นต้นด้วยคราดนั้น. |
คราด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | [คฺราด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในวงศ์ Compositae ขึ้นตามที่รกร้างว่างเปล่าในที่ชื้นแฉะ เรียกกันว่า ผักคราด หรือ ผักคราดหัวแหวน เช่น ชนิด Spilanthes acmella Murr. ดอกสีเหลืองทรงกรวยแหลม ขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย ชนิด S. oleracea (L.) Jacq. ใบหนากว่าชนิดแรกและดอกทรงป้านกว่า, พายัพเรียก ผักเผ็ด. | คราด ๒ [คฺราด] น. ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในวงศ์ Compositae ขึ้นตามที่รกร้างว่างเปล่าในที่ชื้นแฉะ เรียกกันว่า ผักคราด หรือ ผักคราดหัวแหวน เช่น ชนิด Spilanthes acmella Murr. ดอกสีเหลืองทรงกรวยแหลม ขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย ชนิด S. oleracea (L.) Jacq. ใบหนากว่าชนิดแรกและดอกทรงป้านกว่า, พายัพเรียก ผักเผ็ด. |
คร้าน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [คฺร้าน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความรู้สึกไม่อยากจะทําหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใด ๆ, ตามปรกติเมื่อใช้พูดมักมีคํา ขี้ ประกอบหน้า เช่น ขี้คร้าน และมักใช้เข้าคู่กับคํา เกียจ เป็น เกียจคร้าน ขี้เกียจขี้คร้าน หมายความว่า ไม่อยากทํางาน. | คร้าน [คฺร้าน] ว. มีความรู้สึกไม่อยากจะทําหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใด ๆ, ตามปรกติเมื่อใช้พูดมักมีคํา ขี้ ประกอบหน้า เช่น ขี้คร้าน และมักใช้เข้าคู่กับคํา เกียจ เป็น เกียจคร้าน ขี้เกียจขี้คร้าน หมายความว่า ไม่อยากทํางาน. |
คราบ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้ | [คฺราบ] เป็นคำนาม หมายถึง หนังหรือเปลือกนอกของสัตว์บางชนิดที่ลอกออกได้ เช่น คราบงู คราบกุ้ง, โดยปริยายหมายถึงลักษณาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คนบาปในคราบของนักบุญ; รอยเปื้อนติดกรังอยู่ เช่น คราบนํ้า คราบนํ้ามัน. | คราบ [คฺราบ] น. หนังหรือเปลือกนอกของสัตว์บางชนิดที่ลอกออกได้ เช่น คราบงู คราบกุ้ง, โดยปริยายหมายถึงลักษณาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คนบาปในคราบของนักบุญ; รอยเปื้อนติดกรังอยู่ เช่น คราบนํ้า คราบนํ้ามัน. |
คราบหมู เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อู | [คฺราบ] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกมะขามฝักที่จวนจะแก่ว่า มะขามคราบหมู. | คราบหมู [คฺราบ] น. เรียกมะขามฝักที่จวนจะแก่ว่า มะขามคราบหมู. |
คราม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | [คฺราม] เป็นคำนาม หมายถึง บ้าน, มักใช้ประกอบกับคําอื่น เช่น ราชคราม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี คาม เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | คราม ๑ [คฺราม] น. บ้าน, มักใช้ประกอบกับคําอื่น เช่น ราชคราม. (ส.; ป. คาม). |
คราม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | [คฺราม] เป็นคำนาม หมายถึง ผงสีนํ้าเงินที่ได้จากต้นคราม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีนํ้าเงิน. | คราม ๒ [คฺราม] น. ผงสีนํ้าเงินที่ได้จากต้นคราม. ว. สีนํ้าเงิน. |
คราม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า ความหมายที่ ๓ | [คฺราม] เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Indigofera tinctoria L. ในวงศ์ Leguminosae ปลูกเพื่อใช้ใบและต้นทําสีนํ้าเงิน ใช้ย้อมผ้า. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze ในวงศ์ Acanthaceae ใบใช้ทําสีนํ้าเงิน ใช้ย้อมผ้า, พายัพเรียก ห้อม หรือ ห้อมเมือง, เขียนเป็น ฮ่อม หรือ ฮ่อมเมือง ก็มี. | คราม ๓ [คฺราม] น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Indigofera tinctoria L. ในวงศ์ Leguminosae ปลูกเพื่อใช้ใบและต้นทําสีนํ้าเงิน ใช้ย้อมผ้า. (๒) ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Strobilanthes cusia (Nees) Kuntze ในวงศ์ Acanthaceae ใบใช้ทําสีนํ้าเงิน ใช้ย้อมผ้า, พายัพเรียก ห้อม หรือ ห้อมเมือง, เขียนเป็น ฮ่อม หรือ ฮ่อมเมือง ก็มี. |
คร้าม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | [คฺร้าม] เป็นคำกริยา หมายถึง ขยาด, ไม่กล้าสู้, กลัวเกรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ครั่น เป็น ครั่นคร้าม หมายความว่า เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว. | คร้าม [คฺร้าม] ก. ขยาด, ไม่กล้าสู้, กลัวเกรง, มักใช้เข้าคู่กับคำ ครั่น เป็น ครั่นคร้าม หมายความว่า เกรงขาม, รู้สึกพรั่นพรึง, สะทกสะท้านด้วยความกลัว. |
คร้ามเกรง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง เกรงกลัว. | คร้ามเกรง ก. เกรงกลัว. |
ครามครัน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [คฺรามคฺรัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มาก, หลาย, นัก. | ครามครัน [คฺรามคฺรัน] ว. มาก, หลาย, นัก. |
คราว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๑ | [คฺราว] เป็นคำนาม หมายถึง ครั้ง, หน, เช่น คราวหน้า คราวหลัง, รุ่น เช่น เด็ก ๒ คนนี้อายุคราวเดียวกัน, ใช้เป็นลักษณนาม เช่น สินค้าชนิดนี้ส่งเข้ามา ๓ คราว. | คราว ๑ [คฺราว] น. ครั้ง, หน, เช่น คราวหน้า คราวหลัง, รุ่น เช่น เด็ก ๒ คนนี้อายุคราวเดียวกัน, ใช้เป็นลักษณนาม เช่น สินค้าชนิดนี้ส่งเข้ามา ๓ คราว. |
คราว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ความหมายที่ ๒ | [คฺราว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกแมวตัวผู้ แก่ รูปร่างใหญ่ หน้าตาดุน่ากลัว และมีหนวดยาว ว่า แมวคราว. | คราว ๒ [คฺราว] ว. เรียกแมวตัวผู้ แก่ รูปร่างใหญ่ หน้าตาดุน่ากลัว และมีหนวดยาว ว่า แมวคราว. |
คร่าว เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | [คฺร่าว] เป็นคำนาม หมายถึง โครงสร้างซึ่งทำขึ้นด้วยวัสดุอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นไม้ โลหะ เพื่อใช้ในการยึดแผ่นวัสดุที่ทำเป็นฝา รั้ว หรือฝ้าเพดาน ส่วนใหญ่จะยึดกับโครงสร้างที่สำคัญมีเสาคาน เป็นต้น คร่าวตีได้ทั้งในแนวตั้ง แนวนอน หรือเป็นตาราง. | คร่าว [คฺร่าว] น. โครงสร้างซึ่งทำขึ้นด้วยวัสดุอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นไม้ โลหะ เพื่อใช้ในการยึดแผ่นวัสดุที่ทำเป็นฝา รั้ว หรือฝ้าเพดาน ส่วนใหญ่จะยึดกับโครงสร้างที่สำคัญมีเสาคาน เป็นต้น คร่าวตีได้ทั้งในแนวตั้ง แนวนอน หรือเป็นตาราง. |
คร่าว ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลา ๆ พอเห็นเป็นเค้า, ยังไม่เรียบร้อย. | คร่าว ๆ ว. เลา ๆ พอเห็นเป็นเค้า, ยังไม่เรียบร้อย. |
คราส เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ | [คฺราด] เป็นคำกริยา หมายถึง กิน เช่น จันทรคราส สุริยคราส (โบราณ เขียนเป็น จันทรคาธ สุริยคาธ โดยถือว่ามาจากบาลีว่า จนฺทคฺคาห สุริยคฺคาห); จับ, ถือ, เช่น สิบนิ้วคราสคนธกำจร เทียนธูปบวร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | คราส [คฺราด] ก. กิน เช่น จันทรคราส สุริยคราส (โบราณ เขียนเป็น จันทรคาธ สุริยคาธ โดยถือว่ามาจากบาลีว่า จนฺทคฺคาห สุริยคฺคาห); จับ, ถือ, เช่น สิบนิ้วคราสคนธกำจร เทียนธูปบวร. (สมุทรโฆษ). (ส.). |
ครำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อำ | [คฺรํา] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกน้ำเสียที่ขังอยู่ในพื้นดินที่เป็นแอ่งเช่นใต้ถุนครัว ในท่อระบายน้ำเสีย ว่า นํ้าครํา, ไขเสนียด ก็เรียก. | ครำ [คฺรํา] น. เรียกน้ำเสียที่ขังอยู่ในพื้นดินที่เป็นแอ่งเช่นใต้ถุนครัว ในท่อระบายน้ำเสีย ว่า นํ้าครํา, ไขเสนียด ก็เรียก. |
คร่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๑ | [คฺรํ่า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกของเหลวในถุงเยื่อหุ้มลูกในมดลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทําหน้าที่ลดผลการกระทบกระแทก และช่วยหล่อลื่นในตอนคลอดเป็นต้น ว่า นํ้าครํ่า เรียกถุงเยื่อหุ้มที่บรรจุน้ำคร่ำว่า ถุงน้ำคร่ำ. | คร่ำ ๑ [คฺรํ่า] ว. เรียกของเหลวในถุงเยื่อหุ้มลูกในมดลูกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ทําหน้าที่ลดผลการกระทบกระแทก และช่วยหล่อลื่นในตอนคลอดเป็นต้น ว่า นํ้าครํ่า เรียกถุงเยื่อหุ้มที่บรรจุน้ำคร่ำว่า ถุงน้ำคร่ำ. |
คร่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๒ | [คฺรํ่า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เก่ามาก เช่น โบสถ์หลังนี้เก่าคร่ำ. | คร่ำ ๒ [คฺรํ่า] ว. เก่ามาก เช่น โบสถ์หลังนี้เก่าคร่ำ. |
คร่ำคร่า เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เก่าแก่จนชํารุดทรุดโทรม เช่น กระท่อมเก่าคร่ำคร่า. | คร่ำคร่า ว. เก่าแก่จนชํารุดทรุดโทรม เช่น กระท่อมเก่าคร่ำคร่า. |
คร่ำครึ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เก่าเกินไป, ไม่ทันสมัย. | คร่ำครึ ว. เก่าเกินไป, ไม่ทันสมัย. |
คร่ำเครอะ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อะ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สกปรก, เปรอะเปื้อน. | คร่ำเครอะ ว. สกปรก, เปรอะเปื้อน. |
คร่ำหวอด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีประสบการณ์สูง, มีความชํานาญสูงมาก, เช่น เขาคร่ำหวอดอยู่ในวงการเมือง. | คร่ำหวอด (ปาก) ว. มีประสบการณ์สูง, มีความชํานาญสูงมาก, เช่น เขาคร่ำหวอดอยู่ในวงการเมือง. |
คร่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๓ | [คฺรํ่า] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ร้องไห้. | คร่ำ ๓ [คฺรํ่า] (กลอน) ก. ร้องไห้. |
คร่ำครวญ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-วอ-แหวน-ยอ-หยิง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร้องรํ่ารําพัน. | คร่ำครวญ ว. ร้องรํ่ารําพัน. |
คร่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๔ | [คฺร่ำ] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเส้นเงินหรือเส้นทองกดและตอกให้ติดบนผิวเหล็ก ทำเป็นลวดลาย, ถ้าเป็นลวดลายเงิน เรียก คร่ำเงิน, ถ้าเป็นลวดลายทอง เรียก คร่ำทอง. | คร่ำ ๔ [คฺร่ำ] ก. เอาเส้นเงินหรือเส้นทองกดและตอกให้ติดบนผิวเหล็ก ทำเป็นลวดลาย, ถ้าเป็นลวดลายเงิน เรียก คร่ำเงิน, ถ้าเป็นลวดลายทอง เรียก คร่ำทอง. |
คร่ำเคร่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมกมุ่นในการทํางานเป็นต้นอย่างหามรุ่งหามคํ่า. | คร่ำเคร่ง ว. หมกมุ่นในการทํางานเป็นต้นอย่างหามรุ่งหามคํ่า. |
คริปทอน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-ทอ-ทะ-หาน-ออ-อ่าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๖ สัญลักษณ์ Kr เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๖๗๐,๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ krypton เขียนว่า เค-อา-วาย-พี-ที-โอ-เอ็น. | คริปทอน น. ธาตุลําดับที่ ๓๖ สัญลักษณ์ Kr เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๖๗๐,๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. (อ. krypton). |
คริสต์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด | [คฺริด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหนึ่งของพระเยซู ผู้ตั้งศาสนาคริสต์. | คริสต์ [คฺริด] น. ชื่อหนึ่งของพระเยซู ผู้ตั้งศาสนาคริสต์. |
คริสตกาล เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง | เป็นคำนาม หมายถึง สมัยเมื่อพระเยซูยังมีพระชนม์อยู่. | คริสตกาล น. สมัยเมื่อพระเยซูยังมีพระชนม์อยู่. |
คริสตจักร เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-จอ-จาน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ | เป็นคำนาม หมายถึง ประชาคมที่เชื่อและรับพระเยซูเป็นพระผู้ไถ่บาป แบ่งเป็น ๓ นิกายใหญ่ ได้แก่ โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ และออร์ทอดอกซ์. | คริสตจักร น. ประชาคมที่เชื่อและรับพระเยซูเป็นพระผู้ไถ่บาป แบ่งเป็น ๓ นิกายใหญ่ ได้แก่ โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ และออร์ทอดอกซ์. |
คริสต์มาส เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง วันสมภพของพระเยซู. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ Christmas เขียนว่า ซี-เอช-อา-ไอ-เอส-ที-เอ็ม-เอ-เอส. | คริสต์มาส ๑ น. วันสมภพของพระเยซู. (อ. Christmas). |
คริสต์ศตวรรษ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-สอ-สา-ลา-ตอ-เต่า-วอ-แหวน-รอ-เรือ-รอ-เรือ-สอ-รือ-สี | เป็นคำนาม หมายถึง รอบ ๑๐๐ ปี นับตั้งแต่วันสมภพของพระเยซู. | คริสต์ศตวรรษ น. รอบ ๑๐๐ ปี นับตั้งแต่วันสมภพของพระเยซู. |
คริสต์ศักราช เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง | เป็นคำนาม หมายถึง ปีนับตั้งแต่วันสมภพของพระเยซู เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๕๔๓ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๕๔๓ เท่ากับคริสต์ศักราช). | คริสต์ศักราช น. ปีนับตั้งแต่วันสมภพของพระเยซู เริ่มตั้งภายหลังพุทธศักราช ๕๔๓ ปี (พุทธศักราชลบด้วย ๕๔๓ เท่ากับคริสต์ศักราช). |
คริสต์ศาสนิกชน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนา. | คริสต์ศาสนิกชน น. ผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนา. |
คริสตัง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก. | คริสตัง น. ผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก. |
คริสเตียน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์. | คริสเตียน น. ผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายโปรเตสแตนต์. |
คริสต์มาส เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อิ-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Euphorbia pulcherrima (R. Grah.) Willd. ex Klotzsch ในวงศ์ Euphorbiaceae ออกดอกในฤดูหนาว มีใบประดับสีแดง, สองฤดู หรือ โพผัน ก็เรียก. | คริสต์มาส ๒ น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Euphorbia pulcherrima (R. Grah.) Willd. ex Klotzsch ในวงศ์ Euphorbiaceae ออกดอกในฤดูหนาว มีใบประดับสีแดง, สองฤดู หรือ โพผัน ก็เรียก. |
ครี้ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท | ดู กระซิก เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒. | ครี้ ดู กระซิก ๒. |
ครีครอ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ออ-อ่าง | [คฺรีคฺรอ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง รีรอ เช่น จักเลี้ยงชีพเคร่าครีครอ อยู่เท่าเพียงพอ ชีพิตก็ยากยังฉงน. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘. | ครีครอ [คฺรีคฺรอ] (โบ; กลอน) ว. รีรอ เช่น จักเลี้ยงชีพเคร่าครีครอ อยู่เท่าเพียงพอ ชีพิตก็ยากยังฉงน. (สมุทรโฆษ). |
ครีบ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้ | [คฺรีบ] เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะที่เป็นแผ่นติดกันเป็นพืดอยู่ใต้ท้องและสันหลังของปลาเป็นต้น; เรียกของบางอย่างที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ครีบตาล คือ ครีบ ๒ ข้างของทางตาล มีลักษณะคล้ายฟันเลื่อย. | ครีบ [คฺรีบ] น. อวัยวะที่เป็นแผ่นติดกันเป็นพืดอยู่ใต้ท้องและสันหลังของปลาเป็นต้น; เรียกของบางอย่างที่มีลักษณะเช่นนั้น เช่น ครีบตาล คือ ครีบ ๒ ข้างของทางตาล มีลักษณะคล้ายฟันเลื่อย. |
ครีบสิงห์, ครีบหลังสิงห์ ครีบสิงห์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด ครีบหลังสิงห์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่ง. | ครีบสิงห์, ครีบหลังสิงห์ น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง. |
ครีม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-มอ-ม้า | [คฺรีม] เป็นคำนาม หมายถึง หัวนํ้านมส่วนที่ลอยขึ้นมา; อาหารที่ผสมด้วยครีมหรือมีลักษณะคล้ายครีม เช่น ครีมหน้าขนมเค้ก; สิ่งที่มีนํ้ามันผสมอยู่และมีลักษณะเหนียวข้นคล้ายครีม จะมีครีมผสมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม เช่น ครีมทาหน้า ครีมใส่ผม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีอย่างสีขาวออกเหลือง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cream เขียนว่า ซี-อา-อี-เอ-เอ็ม. | ครีม [คฺรีม] น. หัวนํ้านมส่วนที่ลอยขึ้นมา; อาหารที่ผสมด้วยครีมหรือมีลักษณะคล้ายครีม เช่น ครีมหน้าขนมเค้ก; สิ่งที่มีนํ้ามันผสมอยู่และมีลักษณะเหนียวข้นคล้ายครีม จะมีครีมผสมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม เช่น ครีมทาหน้า ครีมใส่ผม. ว. สีอย่างสีขาวออกเหลือง. (อ. cream). |
ครีษมายัน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [คฺรีดสะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง จุดสุดทางเหนือ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวันยาวที่สุด เรียกว่า ครีษมายัน (summer solstice), คู่กับ เหมายัน, อุตตรายัน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คฺรีษฺม เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-สอ-รือ-สี-พิน-ทุ-มอ-ม้า + อายน เขียนว่า ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-นอ-หนู . | ครีษมายัน [คฺรีดสะ] (ดารา) น. จุดสุดทางเหนือ เมื่อดวงอาทิตย์ปรากฏในราววันที่ ๒๒ มิถุนายน เป็นจุดในหน้าร้อน มีกลางวันยาวที่สุด เรียกว่า ครีษมายัน (summer solstice), คู่กับ เหมายัน, อุตตรายัน ก็เรียก. (ส. คฺรีษฺม + อายน). |
ครึ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ | [คฺรึ] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เก่าไม่ทันสมัย. | ครึ [คฺรึ] (ปาก) ว. เก่าไม่ทันสมัย. |
ครึกครื้น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู | [คฺรึกคฺรื้น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สนุกสนาน, ร่าเริง, เช่น ใจครึกครื้น; เอิกเกริก เช่น งานครึกครื้น ขบวนแห่ครึกครื้น. | ครึกครื้น [คฺรึกคฺรื้น] ว. สนุกสนาน, ร่าเริง, เช่น ใจครึกครื้น; เอิกเกริก เช่น งานครึกครื้น ขบวนแห่ครึกครื้น. |
ครึกโครม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [คฺรึกโคฺรม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อึกทึก, อื้ออึง, ชวนให้ตื่นเต้น, เป็นที่เล่าลือกันแพร่หลาย. | ครึกโครม [คฺรึกโคฺรม] ว. อึกทึก, อื้ออึง, ชวนให้ตื่นเต้น, เป็นที่เล่าลือกันแพร่หลาย. |
ครึ่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู | [คฺรึ่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กึ่ง, ๑ ส่วนใน ๒ ส่วน. | ครึ่ง [คฺรึ่ง] ว. กึ่ง, ๑ ส่วนใน ๒ ส่วน. |
ครึ่ง ๆ กลาง ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู ไม้-ยะ-มก กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตลอด, ไม่เต็มที่. | ครึ่ง ๆ กลาง ๆ ว. ไม่ตลอด, ไม่เต็มที่. |
ครึ่งชาติ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | เป็นคำนาม หมายถึง ลูกที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นคนต่างชาติกัน, ลูกครึ่ง ก็ว่า. | ครึ่งชาติ น. ลูกที่เกิดจากพ่อแม่ที่เป็นคนต่างชาติกัน, ลูกครึ่ง ก็ว่า. |
ครึ่งซีก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ซอ-โซ่-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครึ่งหนึ่ง เช่น มะพร้าวครึ่งซีก, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ครึ่งดวง, เรียกดวงจันทร์ในวัน ๘ ค่ำว่า พระจันทร์ครึ่งซีก. | ครึ่งซีก ว. ครึ่งหนึ่ง เช่น มะพร้าวครึ่งซีก, (ปาก) ครึ่งดวง, เรียกดวงจันทร์ในวัน ๘ ค่ำว่า พระจันทร์ครึ่งซีก. |
ครึ่งต่อครึ่ง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อย่างหรือฝ่ายละครึ่งเท่า ๆ กัน. | ครึ่งต่อครึ่ง ว. อย่างหรือฝ่ายละครึ่งเท่า ๆ กัน. |
ครึ่ด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก | [คฺรึ่ด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดาษไป, เกลื่อนไป, เช่น คนมากันครึ่ด สีแดงครึ่ด, ครืด ก็ว่า. | ครึ่ด [คฺรึ่ด] ว. ดาษไป, เกลื่อนไป, เช่น คนมากันครึ่ด สีแดงครึ่ด, ครืด ก็ว่า. |
ครึน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู | [คฺรึน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดักนกและไก่ทําเป็นบ่วง, ครืน ก็เรียก. | ครึน [คฺรึน] น. ชื่อเครื่องดักนกและไก่ทําเป็นบ่วง, ครืน ก็เรียก. |
ครึม, ครึมครุ ครึม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า ครึมครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-มอ-ม้า-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ | [คฺรึม, คฺรึมคฺรุ] เป็นคำนาม หมายถึง ป่าทึบ, ป่ารก. | ครึม, ครึมครุ [คฺรึม, คฺรึมคฺรุ] น. ป่าทึบ, ป่ารก. |
ครึ้ม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-มอ-ม้า | [คฺรึ้ม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มืดมัว เช่น อากาศครึ้ม; ร่มและเย็น เช่น ป่าครึ้ม; ดกและงาม (ใช้แก่หนวด); ทําให้เพลิดเพลิน เช่น เสียงมโหรีครึ้ม. เป็นคำกริยา หมายถึง กริ่ม, กระหยิ่ม, ร่าเริงในใจ, เช่น ครึ้มใจ. | ครึ้ม [คฺรึ้ม] ว. มืดมัว เช่น อากาศครึ้ม; ร่มและเย็น เช่น ป่าครึ้ม; ดกและงาม (ใช้แก่หนวด); ทําให้เพลิดเพลิน เช่น เสียงมโหรีครึ้ม. ก. กริ่ม, กระหยิ่ม, ร่าเริงในใจ, เช่น ครึ้มใจ. |
ครืด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | [คฺรืด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดาษไป, เกลื่อนไป, เช่น คนมากันครืด สีแดงครืด, ครึ่ด ก็ว่า. | ครืด ๑ [คฺรืด] ว. ดาษไป, เกลื่อนไป, เช่น คนมากันครืด สีแดงครืด, ครึ่ด ก็ว่า. |
ครืด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | [คฺรืด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงลากสิ่งของครูดไป หรือเสียงกรน. | ครืด ๒ [คฺรืด] ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงลากสิ่งของครูดไป หรือเสียงกรน. |
ครืดคราด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงหายใจไม่สะดวก. | ครืดคราด ๑ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงหายใจไม่สะดวก. |
ครืดคราด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | ดู ข้างลาย เขียนว่า ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก. | ครืดคราด ๒ ดู ข้างลาย. |
ครืน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ความหมายที่ ๑ | [คฺรืน]ดู ครึน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-นอ-หนู. | ครืน ๑ [คฺรืน] ดู ครึน. |
ครืน เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ความหมายที่ ๒ | [คฺรืน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังลั่นเช่นฟ้าร้อง. | ครืน ๒ [คฺรืน] ว. เสียงดังลั่นเช่นฟ้าร้อง. |
ครืน ๓, ครื้น, ครืนครั่น, ครื้นครั่น ครืน ความหมายที่ ๓ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู ครื้น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู ครืนครั่น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู ครื้นครั่น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | [คฺรืน, คฺรื้น, คฺรั่น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เอิกเกริก, กึกก้อง, สนั่น, มากด้วยกัน. | ครืน ๓, ครื้น, ครืนครั่น, ครื้นครั่น [คฺรืน, คฺรื้น, คฺรั่น] ว. เอิกเกริก, กึกก้อง, สนั่น, มากด้วยกัน. |
ครื้นครึก เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ | [คฺรื้นคฺรึก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ครึกครื้น, รื่นเริง, สนุกสนาน, เอิกเกริก. | ครื้นครึก [คฺรื้นคฺรึก] ว. ครึกครื้น, รื่นเริง, สนุกสนาน, เอิกเกริก. |
ครื้นเครง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งู | [คฺรื้นเคฺรง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังครึกครื้น, สนุกสนาน เช่น หัวเราะกันอย่างครื้นเครง, มีอารมณ์สนุกสนาน เช่น เขาเป็นคนครื้นเครง. | ครื้นเครง [คฺรื้นเคฺรง] ว. เสียงดังครึกครื้น, สนุกสนาน เช่น หัวเราะกันอย่างครื้นเครง, มีอารมณ์สนุกสนาน เช่น เขาเป็นคนครื้นเครง. |
ครือ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ความหมายที่ ๑ | [คฺรือ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง คือ. | ครือ ๑ [คฺรือ] (โบ) ก. คือ. |
ครือ ๒, ครือ ๆ ครือ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ครือ ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ไม้-ยะ-มก | [คฺรือ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่คับไม่หลวม เช่น เสื้อครือตัว, พอ ๆ กัน เช่น เด็ก ๒ คนนี้ขยันครือ ๆ กัน. | ครือ ๒, ครือ ๆ [คฺรือ] ว. ไม่คับไม่หลวม เช่น เสื้อครือตัว, พอ ๆ กัน เช่น เด็ก ๒ คนนี้ขยันครือ ๆ กัน. |
ครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ๑ | [คฺรุ] เป็นคำนาม หมายถึง ภาชนะสานชนิดหนึ่ง รูปกลม ๆ เหมือนกะลาตัด ยาชัน มีหูหิ้ว ใช้ตักน้ำ. | ครุ ๑ [คฺรุ] น. ภาชนะสานชนิดหนึ่ง รูปกลม ๆ เหมือนกะลาตัด ยาชัน มีหูหิ้ว ใช้ตักน้ำ. |
ครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ๒ | [คะรุ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนัก, ใช้ในตําราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวและสระเกินทั้ง ๔ คือ สระอำ ใอ ไอ เอา เช่น ตา ดำ (สระอำถือเป็น ครุ ก็ได้ ลหุ ก็ได้) และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น หัด เรียน ใช้เครื่องหมาย ั แทน, คู่กับ ลหุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย ุ แทน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ว่า หนัก; สำคัญ, ควรเคารพ, มีค่าสูง; ส. คุรุ ว่า หนัก ****(ป. ครุ ว่า หนัก; สำคัญ, ควรเคารพ, มีค่าสูง; ส. คุรุ ว่า หนัก; สำคัญ, ควรเคารพ, มีค่าสูง). | ครุ ๒ [คะรุ] ว. หนัก, ใช้ในตําราฉันทลักษณ์ หมายถึง พยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงยาวและสระเกินทั้ง ๔ คือ สระอำ ใอ ไอ เอา เช่น ตา ดำ (สระอำถือเป็น ครุ ก็ได้ ลหุ ก็ได้) และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น หัด เรียน ใช้เครื่องหมาย ั แทน, คู่กับ ลหุ ซึ่งใช้เครื่องหมาย ุ แทน. (ป. ครุ ว่า หนัก; สำคัญ, ควรเคารพ, มีค่าสูง; ส. คุรุ ว่า หนัก; สำคัญ, ควรเคารพ, มีค่าสูง). |
ครุกรรม เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า | [คะรุกำ] เป็นคำนาม หมายถึง กรรมหนัก มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล, การได้บรรลุฌานสมาบัติเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล การกระทำอนันตริยกรรมเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล. | ครุกรรม [คะรุกำ] น. กรรมหนัก มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล, การได้บรรลุฌานสมาบัติเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล การกระทำอนันตริยกรรมเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล. |
ครุกาบัติ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ | [คะรุกาบัด] เป็นคำนาม หมายถึง อาบัติหนัก ได้แก่ อาบัติปาราชิก เมื่อภิกษุต้องอาบัติปาราชิก ถือว่าขาดจากความเป็นภิกษุทันที แม้กลับมาบวชใหม่ก็ไม่เป็นภิกษุ. | ครุกาบัติ [คะรุกาบัด] น. อาบัติหนัก ได้แก่ อาบัติปาราชิก เมื่อภิกษุต้องอาบัติปาราชิก ถือว่าขาดจากความเป็นภิกษุทันที แม้กลับมาบวชใหม่ก็ไม่เป็นภิกษุ. |
ครุภัณฑ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-พอ-สำ-เพา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด | [คะรุพัน] เป็นคำนาม หมายถึง ของที่ใช้ทนทาน เช่น ตู้ โต๊ะ เก้าอี้. | ครุภัณฑ์ [คะรุพัน] น. ของที่ใช้ทนทาน เช่น ตู้ โต๊ะ เก้าอี้. |
ครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ความหมายที่ ๓ | [คะรุ] เป็นคำนาม หมายถึง ครู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ คุรุ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ว่า ครู และมาจากภาษาสันสกฤต คุรุ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ ว่า ครู . | ครุ ๓ [คะรุ] น. ครู. (ป. ครุ, คุรุ, ว่า ครู; ส. คุรุ ว่า ครู). |
ครุวาร เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ | [คะรุวาน] เป็นคำนาม หมายถึง วันพฤหัสบดี ถือว่าเป็นวันครู. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ครุวาร [คะรุวาน] น. วันพฤหัสบดี ถือว่าเป็นวันครู. (ป.). |
ครุศาสตร์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด | [คะรุสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น. | ครุศาสตร์ [คะรุสาด] น. วิชาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น. |
ครุก มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | [คะรุกะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หนัก เช่น ครุกาบัติ ว่า อาบัติหนัก. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี . | ครุก [คะรุกะ] (แบบ) ว. หนัก เช่น ครุกาบัติ ว่า อาบัติหนัก. (ป.). |
ครุคระ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [คฺรุคฺระ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ขรุขระ, ไม่เรียบเป็นตะปุ่มตะป่ำ, เช่น ทั้งคางเคราก็ครุคระขึ้นรำไรอกย่นขนเขียวขดแข็ง. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก. | ครุคระ [คฺรุคฺระ] ว. ขรุขระ, ไม่เรียบเป็นตะปุ่มตะป่ำ, เช่น ทั้งคางเคราก็ครุคระขึ้นรำไรอกย่นขนเขียวขดแข็ง. (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
ครุฑ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท | [คฺรุด] เป็นคำนาม หมายถึง พญานกในเทพนิยาย เป็นพาหนะของพระนารายณ์, ใช้เป็นตราแผ่นดินและเครื่องหมายทางราชการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี ครุฬ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา. | ครุฑ [คฺรุด] น. พญานกในเทพนิยาย เป็นพาหนะของพระนารายณ์, ใช้เป็นตราแผ่นดินและเครื่องหมายทางราชการ. (ส.; ป. ครุฬ). |
ครุฑพ่าห์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-พอ-พาน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ทัน-ทะ-คาด | [คฺรุดพ่า] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อธงมีลักษณะเป็นธงสามชาย ๓ ผืน ผืนธงทำด้วยผ้าปักไหมทองเป็นลวดลายเครือกระหนก สอดร่วมอยู่ในคันธงเดียวกันซึ่งเป็นเหล็กและทำเป็นกิ่งแยกจากคันกลางทางด้านซ้ายและด้านขวา ปลายคันธงทำเป็นรูปใบหอก ที่โคนคันธงตรงส่วนสวมต่อกับคันธงท่อนล่างติดรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เรียกเต็มว่า ธงพระครุฑพ่าห์ หรือ ธงชัยพระครุฑพ่าห์ หรือ ธงชัยพระครุฑพ่าห์ใหญ่, ใช้เข้าคู่กับ ธงกระบี่ธุช โดยธงพระครุฑพ่าห์อยู่ทางด้านขวา และธงกระบี่ธุชอยู่ทางด้านซ้าย. | ครุฑพ่าห์ [คฺรุดพ่า] น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นธงสามชาย ๓ ผืน ผืนธงทำด้วยผ้าปักไหมทองเป็นลวดลายเครือกระหนก สอดร่วมอยู่ในคันธงเดียวกันซึ่งเป็นเหล็กและทำเป็นกิ่งแยกจากคันกลางทางด้านซ้ายและด้านขวา ปลายคันธงทำเป็นรูปใบหอก ที่โคนคันธงตรงส่วนสวมต่อกับคันธงท่อนล่างติดรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ เรียกเต็มว่า ธงพระครุฑพ่าห์ หรือ ธงชัยพระครุฑพ่าห์ หรือ ธงชัยพระครุฑพ่าห์ใหญ่, ใช้เข้าคู่กับ ธงกระบี่ธุช โดยธงพระครุฑพ่าห์อยู่ทางด้านขวา และธงกระบี่ธุชอยู่ทางด้านซ้าย. |
ครุฑกระทง เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-งอ-งู | ดู เบญกานี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ยอ-หยิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี ความหมายที่ ๒. | ครุฑกระทง ดู เบญกานี ๒. |
ครุ่น เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู | [คฺรุ่น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง บ่อย ๆ เช่น เจ็บปวดครุ่นไปไข้ชราถอยกำลังวังชาลงทุกปี. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์, ซ้ำ ๆ, รํ่าไป, เช่น ครุ่นแค้น. | ครุ่น [คฺรุ่น] ว. บ่อย ๆ เช่น เจ็บปวดครุ่นไปไข้ชราถอยกำลังวังชาลงทุกปี. (สังข์ทอง), ซ้ำ ๆ, รํ่าไป, เช่น ครุ่นแค้น. |
ครุ่นคิด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง คิดซ้ำ ๆ ซาก ๆ. | ครุ่นคิด ๑ ก. คิดซ้ำ ๆ ซาก ๆ. |
ครุ่นคิด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-นอ-หนู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ๒ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. | ครุ่นคิด ๒ น. ชื่อเพลงไทยทํานองหนึ่ง. |
ครุมเครือ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | [คฺรุมเคฺรือ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คลุมเครือ. | ครุมเครือ [คฺรุมเคฺรือ] ว. คลุมเครือ. |
ครุย เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-ยอ-ยัก | [คฺรุย] เป็นคำนาม หมายถึง ชายผ้าที่ทําเป็นเส้น ๆ, ชายครุย ก็ว่า; ชื่อเสื้อจำพวกหนึ่ง ใช้สวมหรือคลุม มีหลายชนิด ใช้เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ. | ครุย [คฺรุย] น. ชายผ้าที่ทําเป็นเส้น ๆ, ชายครุย ก็ว่า; ชื่อเสื้อจำพวกหนึ่ง ใช้สวมหรือคลุม มีหลายชนิด ใช้เป็นเครื่องประกอบเกียรติยศหรือแสดงหน้าที่ในพิธีการหรือแสดงวิทยฐานะ. |
ครุวนา เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ-วอ-แหวน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา | [คะรุวะนา] เป็นคำนาม หมายถึง อุปมา, เปรียบ. | ครุวนา [คะรุวะนา] น. อุปมา, เปรียบ. |
ครู เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๑ | [คฺรู] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้สั่งสอนศิษย์, ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี ครุ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ คุรุ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ และมาจากภาษาสันสกฤต คุรุ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อุ. | ครู ๑ [คฺรู] น. ผู้สั่งสอนศิษย์, ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์. (ป. ครุ, คุรุ; ส. คุรุ). |
ครู เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู ความหมายที่ ๒ | [คะรู] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในโหราศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. ในวงเล็บ ดู ยาม เขียนว่า ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า. | ครู ๒ [คะรู] (โหร) น. ชื่อยาม ๑ ใน ๘ ยามในเวลากลางวัน. (ดู ยาม). |
ครู่ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ ๑ | [คฺรู่] เป็นคำนาม หมายถึง เวลาชั่วขณะหนึ่ง เช่น เวลาชั่วครู่. | ครู่ ๑ [คฺรู่] น. เวลาชั่วขณะหนึ่ง เช่น เวลาชั่วครู่. |
ครู่ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก ความหมายที่ ๒ | [คฺรู่] เป็นคำกริยา หมายถึง ลาก ถู หรือรู่ไปบนของแข็ง. | ครู่ ๒ [คฺรู่] ก. ลาก ถู หรือรู่ไปบนของแข็ง. |
ครูด เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ดอ-เด็ก | [คฺรูด] เป็นคำกริยา หมายถึง ขูดหรือครู่ไป. | ครูด [คฺรูด] ก. ขูดหรือครู่ไป. |
คฤโฆษ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-สะ-หระ-โอ-คอ-ระ-คัง-สอ-รือ-สี | [คะรึโคด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง กึกก้อง, ดังลั่น, เช่น คฤโฆษกลองฆ้องเคล้า คลี่ดูริย. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. | คฤโฆษ [คะรึโคด] (กลอน) ก. กึกก้อง, ดังลั่น, เช่น คฤโฆษกลองฆ้องเคล้า คลี่ดูริย. (ยวนพ่าย). |
คฤธระ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-ทอ-ทง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ | [คฺรึทฺระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง แร้ง, ในบทประพันธ์ใช้ว่า คฤธร ก็มี เช่น เกิดเป็นภักษแก่กังกโกรญจคฤธรกา บินมาวว่อนร่อนก็ร้อง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘. | คฤธระ [คฺรึทฺระ] (แบบ) น. แร้ง, ในบทประพันธ์ใช้ว่า คฤธร ก็มี เช่น เกิดเป็นภักษแก่กังกโกรญจคฤธรกา บินมาวว่อนร่อนก็ร้อง. (สมุทรโฆษ). |
คฤนถ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-นอ-หนู-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด | [คฺรึน] เป็นคำนาม หมายถึง ตัวอักษรแบบหนึ่งของอินเดียภาคใต้ที่ใช้เขียนตํารา. | คฤนถ์ [คฺรึน] น. ตัวอักษรแบบหนึ่งของอินเดียภาคใต้ที่ใช้เขียนตํารา. |
คฤห, คฤห คฤห เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ คฤห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ | [คฺรึ, คะรึหะ] เป็นคำนาม หมายถึง เรือน, ช่องคูหา, ที่นั่งบนเรือหรือรถมีลักษณะอย่างเรือน เช่น เรือคฤห รถคฤห. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต . | คฤห, คฤห [คฺรึ, คะรึหะ] น. เรือน, ช่องคูหา, ที่นั่งบนเรือหรือรถมีลักษณะอย่างเรือน เช่น เรือคฤห รถคฤห. (ส.). |
คฤหบดี เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-บอ-ไบ-ไม้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี | [คะรึหะบอดี] เป็นคำนาม หมายถึง ชายที่เป็นเจ้าบ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน, คหบดี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คฺฤหปตี เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี คหปติ เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ. | คฤหบดี [คะรึหะบอดี] น. ชายที่เป็นเจ้าบ้าน, ผู้มีอันจะกินซึ่งเป็นเจ้าบ้าน, คหบดี ก็ว่า. (ส. คฺฤหปตี; ป. คหปติ). |
คฤหปัตนี เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-นอ-หนู-สะ-หระ-อี | [คะรึหะปัดตะนี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง หญิงที่เป็นเจ้าบ้าน, ภรรยาของคฤหบดี, คหปตานี ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คฺฤหปตฺนี เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี และมาจากภาษาบาลี คหปตานี เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-ปอ-ปลา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-สะ-หระ-อี. | คฤหปัตนี [คะรึหะปัดตะนี] (แบบ) น. หญิงที่เป็นเจ้าบ้าน, ภรรยาของคฤหบดี, คหปตานี ก็ว่า. (ส. คฺฤหปตฺนี; ป. คหปตานี). |
คฤหัสถ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด | [คะรึหัด] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช, ฆราวาส. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คฺฤหสฺถ เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ถอ-ถุง และมาจากภาษาบาลี คหฏฺ เขียนว่า คอ-ควาย-หอ-หีบ-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน. | คฤหัสถ์ [คะรึหัด] น. ผู้ครองเรือน, ผู้ไม่ใช่นักบวช, ฆราวาส. (ส. คฺฤหสฺถ; ป. คหฏฺ). |
คฤหา เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง เรือน เช่น มักเที่ยวสู่คฤหา แห่งท่านนะพ่อ. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง. | คฤหา (กลอน) น. เรือน เช่น มักเที่ยวสู่คฤหา แห่งท่านนะพ่อ. (โลกนิติ). |
คฤหาสน์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | [คะรึหาด] เป็นคำนาม หมายถึง เรือน, โดยมากหมายถึงเรือนขนาดใหญ่และสง่าผ่าเผย. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต คฺฤหาสน เขียนว่า คอ-ควาย-พิน-ทุ-รอ-รึ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู. | คฤหาสน์ [คะรึหาด] น. เรือน, โดยมากหมายถึงเรือนขนาดใหญ่และสง่าผ่าเผย. (ส. คฺฤหาสน). |
คฤหัสถ์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-สอ-เสือ-ถอ-ถุง-ทัน-ทะ-คาด | ดู คฤห, คฤห คฤห เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ คฤห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ . | คฤหัสถ์ ดู คฤห, คฤห. |
คฤหา เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา | ดู คฤห, คฤห คฤห เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ คฤห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ . | คฤหา ดู คฤห, คฤห. |
คฤหาสน์ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-นอ-หนู-ทัน-ทะ-คาด | ดู คฤห, คฤห คฤห เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ คฤห มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า คอ-ควาย-รอ-รึ-หอ-หีบ . | คฤหาสน์ ดู คฤห, คฤห. |
คล เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง | [คน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต . | คล [คน] (แบบ) น. คอ เช่น เหลือกตาเมียงเอียงคล. (ม. คำหลวง กุมาร). (ป., ส.). |
คลวง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [คฺลวง] เป็นคำนาม หมายถึง เรือน, ที่นั่ง, ตําหนัก. | คลวง ๑ [คฺลวง] น. เรือน, ที่นั่ง, ตําหนัก. |
คลวง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [คฺลวง] เป็นคำนาม หมายถึง โรงถลุงดีบุก, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง กลวง. | คลวง ๒ [คฺลวง] น. โรงถลุงดีบุก, (ปาก) กลวง. |
คลอ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง | [คฺลอ] เป็นคำกริยา หมายถึง เคียงคู่กันไปอย่างคู่รักหรืออย่างสนิทสนม; ปริ่ม, ใกล้จะไหล, ในคำว่า น้ำตาคลอ หรือ น้ำตาคลอหน่วย; ทําเสียงดนตรีหรือร้องเพลงเบา ๆ ตามไปให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกัน เช่น ร้องคลอเสียงดนตรี. | คลอ [คฺลอ] ก. เคียงคู่กันไปอย่างคู่รักหรืออย่างสนิทสนม; ปริ่ม, ใกล้จะไหล, ในคำว่า น้ำตาคลอ หรือ น้ำตาคลอหน่วย; ทําเสียงดนตรีหรือร้องเพลงเบา ๆ ตามไปให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกัน เช่น ร้องคลอเสียงดนตรี. |
คลอเคลีย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เคล้าคู่กัน, เคียงเคล้ากันไป, เคลียคลอ ก็ว่า. | คลอเคลีย ก. เคล้าคู่กัน, เคียงเคล้ากันไป, เคลียคลอ ก็ว่า. |
คลอแคล เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | [แคฺล] เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ห่างออก, เคียงกัน, เช่น ปีกเจ้ายังอ่อนคลอแคล ตัวแม่จะสอนบิน. ในวงเล็บ มาจาก บทกลอนกล่อมเด็ก ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๗๐, ใช้ว่า คล้อแคล้ ก็มี. | คลอแคล [แคฺล] ก. ไม่ห่างออก, เคียงกัน, เช่น ปีกเจ้ายังอ่อนคลอแคล ตัวแม่จะสอนบิน. (กล่อมเด็ก), ใช้ว่า คล้อแคล้ ก็มี. |
คลอหน่วย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกน้ำตาที่ปริ่มอยู่ที่ขอบตาเมื่อร้องไห้ว่า น้ำตาคลอหน่วย, น้ำตาล่อหน่วย หรือ น้ำตาขังหน่วย ก็ว่า. | คลอหน่วย ว. เรียกน้ำตาที่ปริ่มอยู่ที่ขอบตาเมื่อร้องไห้ว่า น้ำตาคลอหน่วย, น้ำตาล่อหน่วย หรือ น้ำตาขังหน่วย ก็ว่า. |
คลอก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ | [คฺลอก] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ไฟล้อมเผาหนีออกไม่ได้ เช่น ถูกไฟคลอกตาย. | คลอก [คฺลอก] ก. อาการที่ไฟล้อมเผาหนีออกไม่ได้ เช่น ถูกไฟคลอกตาย. |
คล้อแคล้ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท | [คฺล้อแคฺล้] เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ห่างออก, เคียงกัน, เช่น คลิ้งโคลงคล้อแคล้ในรัง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, คลอแคล ก็ว่า. | คล้อแคล้ [คฺล้อแคฺล้] ก. ไม่ห่างออก, เคียงกัน, เช่น คลิ้งโคลงคล้อแคล้ในรัง. (สมุทรโฆษ), คลอแคล ก็ว่า. |
คลอง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู | [คฺลอง] เป็นคำนาม หมายถึง ทางนํ้าหรือลํานํ้าที่เกิดขึ้นเองหรือขุดเชื่อมกับแม่นํ้าหรือทะเล; ทาง, แนว, เช่น คลองธรรม. | คลอง [คฺลอง] น. ทางนํ้าหรือลํานํ้าที่เกิดขึ้นเองหรือขุดเชื่อมกับแม่นํ้าหรือทะเล; ทาง, แนว, เช่น คลองธรรม. |
คลองเลื่อย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ร่องไม้ที่เลื่อยเลื่อยเข้าไป, แนวฟันของเลื่อย. | คลองเลื่อย น. ร่องไม้ที่เลื่อยเลื่อยเข้าไป, แนวฟันของเลื่อย. |
คลองส่งน้ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-เอก-งอ-งู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | เป็นคำนาม หมายถึง ลํานํ้าที่ขุดขึ้นเพื่อใช้ในการชลประทาน. | คลองส่งน้ำ น. ลํานํ้าที่ขุดขึ้นเพื่อใช้ในการชลประทาน. |
คล่อง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู | [คฺล่อง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สะดวก เช่น หายใจได้คล่องขึ้น, ว่องไว เช่น เด็กคนนี้ใช้คล่อง, ไม่ฝืด เช่น คล่องคอ, ไม่ติดขัด เช่น พูดคล่อง. | คล่อง [คฺล่อง] ว. สะดวก เช่น หายใจได้คล่องขึ้น, ว่องไว เช่น เด็กคนนี้ใช้คล่อง, ไม่ฝืด เช่น คล่องคอ, ไม่ติดขัด เช่น พูดคล่อง. |
คล่องแคล่ว เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว่องไว, สามารถทําได้รวดเร็ว, แคล่วคล่อง ก็ว่า. | คล่องแคล่ว ว. ว่องไว, สามารถทําได้รวดเร็ว, แคล่วคล่อง ก็ว่า. |
คล่องตัว เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลื่อนไหวไปได้สะดวก, เป็นไปได้โดยสะดวกไม่ติดขัด. | คล่องตัว ว. เคลื่อนไหวไปได้สะดวก, เป็นไปได้โดยสะดวกไม่ติดขัด. |
คล่องปาก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เจนปาก, ขึ้นปาก ก็ว่า. | คล่องปาก ว. เจนปาก, ขึ้นปาก ก็ว่า. |
คล่องมือ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ถนัดมือ, เหมาะกับมือ, เช่น มีดเล่มนี้ใช้คล่องมือ; สะดวก, ไม่ขาดแคลน, เช่น เขามีเงินใช้คล่องมืออยู่เสมอ. | คล่องมือ ว. ถนัดมือ, เหมาะกับมือ, เช่น มีดเล่มนี้ใช้คล่องมือ; สะดวก, ไม่ขาดแคลน, เช่น เขามีเงินใช้คล่องมืออยู่เสมอ. |
คล้อง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | [คฺล้อง] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาของที่มีลักษณะเป็นเส้น เป็นวงหรือเป็นบ่วง คาด เกี่ยว หรือสวมสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้า เช่น ผ้าคล้องคอ คล้องพวงมาลัย คล้องช้าง, เอาของที่เป็นวงหรือโค้งเกี่ยวหรือเกี่ยวกัน เช่น ลูกโซ่คล้องกัน คล้องแขน, รับกัน เช่น ชื่อคล้องกัน. | คล้อง [คฺล้อง] ก. เอาของที่มีลักษณะเป็นเส้น เป็นวงหรือเป็นบ่วง คาด เกี่ยว หรือสวมสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้า เช่น ผ้าคล้องคอ คล้องพวงมาลัย คล้องช้าง, เอาของที่เป็นวงหรือโค้งเกี่ยวหรือเกี่ยวกัน เช่น ลูกโซ่คล้องกัน คล้องแขน, รับกัน เช่น ชื่อคล้องกัน. |
คล้องจอง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู-จอ-จาน-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง สัมผัสกัน, มีเสียงสระเดียวกันหรือถ้ามีตัวสะกดก็ต้องอยู่ในมาตราเดียวกัน เช่น มีปี จันทร์ฉัน การบาน; ไม่ขัดกัน เช่น พยานให้การคล้องจองกัน. | คล้องจอง ก. สัมผัสกัน, มีเสียงสระเดียวกันหรือถ้ามีตัวสะกดก็ต้องอยู่ในมาตราเดียวกัน เช่น มีปี จันทร์ฉัน การบาน; ไม่ขัดกัน เช่น พยานให้การคล้องจองกัน. |
คลอด เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | [คฺลอด] เป็นคำกริยา หมายถึง ออกลูก, ออกจากครรภ์, ราชาศัพท์ว่า ประสูติ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ออก เช่น กฎหมายใหม่ยังไม่คลอด. | คลอด [คฺลอด] ก. ออกลูก, ออกจากครรภ์, ราชาศัพท์ว่า ประสูติ; (ปาก) ออก เช่น กฎหมายใหม่ยังไม่คลอด. |
คลอน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู | [คฺลอน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เคลื่อนไปมาได้ในที่บังคับ เช่น ฟันคลอน. (อะหม คอน ว่า เคลื่อน). | คลอน [คฺลอน] ว. เคลื่อนไปมาได้ในที่บังคับ เช่น ฟันคลอน. (อะหม คอน ว่า เคลื่อน). |
คลอนแคลน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-นอ-หนู | [แคฺลน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ง่อนแง่น, ไม่มั่นคง, เช่น ฐานะคลอนแคลน. | คลอนแคลน [แคฺลน] ว. ง่อนแง่น, ไม่มั่นคง, เช่น ฐานะคลอนแคลน. |
คล้อย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | [คฺล้อย] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เพิ่งพ้นจากที่กําหนดไป เช่น เขาเพิ่งเดินคล้อยไปเมื่อสักครู่นี้. เป็นคำกริยา หมายถึง บ่าย, ชาย, เรียกอาการที่ดวงตะวันเลยเที่ยงไปแล้วว่า ตะวันคล้อย, เรียกอาการที่ดวงจันทร์เลยเที่ยงคืนไปแล้วว่า เดือนคล้อย; หย่อนลง, ลดต่ำ, เรียกนมที่หย่อนลงเล็กน้อยว่า นมคล้อย. | คล้อย [คฺล้อย] ว. เพิ่งพ้นจากที่กําหนดไป เช่น เขาเพิ่งเดินคล้อยไปเมื่อสักครู่นี้. ก. บ่าย, ชาย, เรียกอาการที่ดวงตะวันเลยเที่ยงไปแล้วว่า ตะวันคล้อย, เรียกอาการที่ดวงจันทร์เลยเที่ยงคืนไปแล้วว่า เดือนคล้อย; หย่อนลง, ลดต่ำ, เรียกนมที่หย่อนลงเล็กน้อยว่า นมคล้อย. |
คล้อยคล้อย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง ไกลออกไปทุกที, เคลื่อนออกไปไกล. (อะหม คล้อย ว่า ไปช้า ๆ). | คล้อยคล้อย ก. ไกลออกไปทุกที, เคลื่อนออกไปไกล. (อะหม คล้อย ว่า ไปช้า ๆ). |
คล้อยตาม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง สอดคล้องไปในทางเดียวกัน, มีความเห็นอย่างเดียวกัน, เช่น ฉันเห็นคล้อยตามเขา. | คล้อยตาม ก. สอดคล้องไปในทางเดียวกัน, มีความเห็นอย่างเดียวกัน, เช่น ฉันเห็นคล้อยตามเขา. |
คล้อยหลัง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผ่านพ้นไปยังพอเห็นหลังไว ๆ เช่น เขาเพิ่งเดินคล้อยหลังไปไม่นาน. | คล้อยหลัง ว. ผ่านพ้นไปยังพอเห็นหลังไว ๆ เช่น เขาเพิ่งเดินคล้อยหลังไปไม่นาน. |
คลอรีน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-นอ-หนู | [คฺลอ] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๑๗ สัญลักษณ์ Cl เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีกลิ่นฉุนชวนสําลัก เป็นแก๊สพิษ ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าในอุตสาหกรรมผลิตกรดเกลือในการผลิตผงฟอกจาง ยาฆ่าแมลงหลายชนิด เช่น ดีดีที มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบสําคัญ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ chlorine เขียนว่า ซี-เอช-แอล-โอ-อา-ไอ-เอ็น-อี. | คลอรีน [คฺลอ] น. ธาตุลําดับที่ ๑๗ สัญลักษณ์ Cl เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีกลิ่นฉุนชวนสําลัก เป็นแก๊สพิษ ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าในอุตสาหกรรมผลิตกรดเกลือในการผลิตผงฟอกจาง ยาฆ่าแมลงหลายชนิด เช่น ดีดีที มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบสําคัญ. (อ. chlorine). |
คลอโรฟอร์ม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด-มอ-ม้า | [คฺลอ] เป็นคำนาม หมายถึง ของเหลวไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นหอมหวาน มีสูตร CHCl3 ใช้เป็นยาสลบและตัวทําละลาย. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ chloroform เขียนว่า ซี-เอช-แอล-โอ-อา-โอ-เอฟ-โอ-อา-เอ็ม. | คลอโรฟอร์ม [คฺลอ] น. ของเหลวไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นหอมหวาน มีสูตร CHCl3 ใช้เป็นยาสลบและตัวทําละลาย. (อ. chloroform). |
คลอโรฟิลล์ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-ฟอ-ฟัน-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ทัน-ทะ-คาด | [คฺลอ] เป็นคำนาม หมายถึง สารสีเขียว มีปรากฏในพืช ซึ่งสามารถดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้นํ้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาผลิตคาร์โบไฮเดรตได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ chlorophyll เขียนว่า ซี-เอช-แอล-โอ-อา-โอ-พี-เอช-วาย-แอล-แอล. | คลอโรฟิลล์ [คฺลอ] น. สารสีเขียว มีปรากฏในพืช ซึ่งสามารถดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้นํ้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาผลิตคาร์โบไฮเดรตได้. (อ. chlorophyll). |
คละ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ | [คฺละ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ปนกัน ทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ทั้งดีและไม่ดี เช่น ผลไม้ผลเล็กผลใหญ่ปนกัน เรียกว่า คละกัน. | คละ [คฺละ] ว. ลักษณะที่ปนกัน ทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ทั้งดีและไม่ดี เช่น ผลไม้ผลเล็กผลใหญ่ปนกัน เรียกว่า คละกัน. |
คละคล่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ | [คฺลํ่า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปนกันไป, ดื่นไป. | คละคล่ำ [คฺลํ่า] ว. ปนกันไป, ดื่นไป. |
คละปน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ปนกันทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ทั้งดีและเลว เป็นต้น. | คละปน ก. ปนกันทั้งขนาดเล็กและใหญ่ ทั้งดีและเลว เป็นต้น. |
คละคลุ้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู | [คฺลุ้ง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คลุ้ง, เหม็นคล้ายกลิ่นของเค็มปนกับของเน่า, เช่น ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง. | คละคลุ้ง [คฺลุ้ง] (กลอน) ก. คลุ้ง, เหม็นคล้ายกลิ่นของเค็มปนกับของเน่า, เช่น ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง. (โลกนิติ). |
คลัก ๑, คลั่ก ๑ คลัก ความหมายที่ ๑ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ คลั่ก ความหมายที่ ๑ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ | [คฺลัก, คฺลั่ก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยัดเยียด, ออกันอยู่, รวมกันอยู่มาก ๆ, เช่น หนอนคลัก คนคลั่ก, มาก ๆ เช่น น้ำยาหม้อนี้ข้นคลั่ก. | คลัก ๑, คลั่ก ๑ [คฺลัก, คฺลั่ก] ว. ยัดเยียด, ออกันอยู่, รวมกันอยู่มาก ๆ, เช่น หนอนคลัก คนคลั่ก, มาก ๆ เช่น น้ำยาหม้อนี้ข้นคลั่ก. |
คลัก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | [คฺลัก] เป็นคำนาม หมายถึง ตาที่จะสุก (ใช้แก่การเล่นดวด); ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ หมายถึง ที่ที่ไก่หรือนกเขี่ยเป็นหลุม แล้วนอนในหลุมนั้น, ที่ที่ปลามารวมกันอยู่ในบ่อหรือหนองที่น้ำงวด. | คลัก ๒ [คฺลัก] น. ตาที่จะสุก (ใช้แก่การเล่นดวด); (ถิ่นปักษ์ใต้) ที่ที่ไก่หรือนกเขี่ยเป็นหลุม แล้วนอนในหลุมนั้น, ที่ที่ปลามารวมกันอยู่ในบ่อหรือหนองที่น้ำงวด. |
คลัก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๓ | [คฺลัก] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้สกปรก เช่น ตัวเปื้อนอย่ามาคลักที่นอน. | คลัก ๓ [คฺลัก] (ถิ่นปักษ์ใต้) ก. ทำให้สกปรก เช่น ตัวเปื้อนอย่ามาคลักที่นอน. |
คลั่ก ๒, คลั่ก ๆ คลั่ก ความหมายที่ ๒ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ คลั่ก ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ ไม้-ยะ-มก | [คฺลั่ก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้น เช่น หม้อข้าวเดือดคลั่ก ๆ. | คลั่ก ๒, คลั่ก ๆ [คฺลั่ก] ว. เสียงดังเช่นนั้น เช่น หม้อข้าวเดือดคลั่ก ๆ. |
คลัง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [คฺลัง] เป็นคำนาม หมายถึง ที่เก็บรักษาและรับจ่ายเงิน เช่น แผนกคลัง, สถานที่เก็บรักษาสิ่งของเป็นจํานวนมาก ๆ เช่น คลังพัสดุ. | คลัง ๑ [คฺลัง] น. ที่เก็บรักษาและรับจ่ายเงิน เช่น แผนกคลัง, สถานที่เก็บรักษาสิ่งของเป็นจํานวนมาก ๆ เช่น คลังพัสดุ. |
คลังสินค้า เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง สถานที่เก็บรักษาสินค้า. | คลังสินค้า น. สถานที่เก็บรักษาสินค้า. |
คลังสินค้าทัณฑ์บน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำนาม หมายถึง คลังสินค้าของทางราชการศุลกากรที่รับเก็บสินค้าเข้า โดยยังไม่ต้องชําระอากรขาเข้าจนกว่าจะได้มีการนําสินค้านั้นออกจากคลังสินค้า. | คลังสินค้าทัณฑ์บน (กฎ) น. คลังสินค้าของทางราชการศุลกากรที่รับเก็บสินค้าเข้า โดยยังไม่ต้องชําระอากรขาเข้าจนกว่าจะได้มีการนําสินค้านั้นออกจากคลังสินค้า. |
คลังเสบียง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ที่เก็บสะสมอาหาร. | คลังเสบียง น. ที่เก็บสะสมอาหาร. |
คลังแสง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-สอ-เสือ-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง คลังอาวุธของทางราชการ เช่น คลังแสงสรรพาวุธของกองทัพบก. | คลังแสง น. คลังอาวุธของทางราชการ เช่น คลังแสงสรรพาวุธของกองทัพบก. |
คลัง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [คฺลัง] เป็นคำนาม หมายถึง ไม้กระบอกที่ร้อยโซ่หรือเชือกสําหรับล่ามสัตว์หรือเรือ, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง กลัง. เป็นคำกริยา หมายถึง ผูกคอสัตว์ให้เข้าคู่กัน เพื่อไม่ให้พรากกัน หรือฝึกหัดตัวที่ไม่ชํานาญงาน เช่น เอาวัวไปผูกเข้าคู่กัน ว่า เอาวัวไปคลัง. | คลัง ๒ [คฺลัง] น. ไม้กระบอกที่ร้อยโซ่หรือเชือกสําหรับล่ามสัตว์หรือเรือ, (โบ) กลัง. ก. ผูกคอสัตว์ให้เข้าคู่กัน เพื่อไม่ให้พรากกัน หรือฝึกหัดตัวที่ไม่ชํานาญงาน เช่น เอาวัวไปผูกเข้าคู่กัน ว่า เอาวัวไปคลัง. |
คลั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [คฺลั่ง] เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงอาการผิดปรกติอย่างคนบ้า, เสียสติ; โดยปริยายหมายความว่า หลงใหลในบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น คลั่งดารา, หมกมุ่นอยู่กับงานหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น คลั่งอำนาจ คลั่งเล่นกล้วยไม้, คลั่งไคล้ ก็ว่า. | คลั่ง ๑ [คฺลั่ง] ก. แสดงอาการผิดปรกติอย่างคนบ้า, เสียสติ; โดยปริยายหมายความว่า หลงใหลในบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น คลั่งดารา, หมกมุ่นอยู่กับงานหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น คลั่งอำนาจ คลั่งเล่นกล้วยไม้, คลั่งไคล้ ก็ว่า. |
คลั่งไคล้ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท | [ไคฺล้] เป็นคำกริยา หมายถึง หลงใหลในบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, หมกมุ่นอยู่กับงานหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, คลั่ง ก็ว่า. | คลั่งไคล้ [ไคฺล้] ก. หลงใหลในบุคคลหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, หมกมุ่นอยู่กับงานหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, คลั่ง ก็ว่า. |
คลั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [คฺลั่ง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คั่ง เช่น ชลเนตรคลั่งคลอนัยนา. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔. | คลั่ง ๒ [คฺลั่ง] (กลอน) ก. คั่ง เช่น ชลเนตรคลั่งคลอนัยนา. (อิเหนา). |
คลัตช์ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-ชอ-ช้าง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง อุปกรณ์ที่ทําหน้าที่ส่งพลังงานซึ่งถ่ายทอดมาจากเครื่องยนต์ไปยังเกียร์ หรือตัดพลังงานนั้นตามต้องการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ clutch เขียนว่า ซี-แอล-ยู-ที-ซี-เอช. | คลัตช์ น. อุปกรณ์ที่ทําหน้าที่ส่งพลังงานซึ่งถ่ายทอดมาจากเครื่องยนต์ไปยังเกียร์ หรือตัดพลังงานนั้นตามต้องการ. (อ. clutch). |
คลับคล้าย, คลับคล้ายคลับคลา คลับคล้าย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก คลับคล้ายคลับคลา เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [คฺลับคฺล้าย, คฺลับคฺลา] เป็นคำกริยา หมายถึง จำได้แต่ไม่แน่ใจ, จำได้อย่างเลือนลาง, ไม่แน่ใจว่าใช่, เช่น คลับคล้ายว่าเป็นคนคนเดียวกัน, ฉันคลับคล้ายคลับคลาว่าจะเคยพบเขามาก่อน. | คลับคล้าย, คลับคล้ายคลับคลา [คฺลับคฺล้าย, คฺลับคฺลา] ก. จำได้แต่ไม่แน่ใจ, จำได้อย่างเลือนลาง, ไม่แน่ใจว่าใช่, เช่น คลับคล้ายว่าเป็นคนคนเดียวกัน, ฉันคลับคล้ายคลับคลาว่าจะเคยพบเขามาก่อน. |
คลา เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา | [คฺลา] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง เดิน, เคลื่อน, เช่น พาชีขี่คล่องคล้อย ควรคลา. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง; คลาด เช่น อายแก่ราชาคลา ยศแท้. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง. | คลา [คฺลา] (กลอน) ก. เดิน, เคลื่อน, เช่น พาชีขี่คล่องคล้อย ควรคลา. (โลกนิติ); คลาด เช่น อายแก่ราชาคลา ยศแท้. (โลกนิติ). |
คลาคล่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ | เป็นคำกริยา หมายถึง ไปหรือมาเป็นจำนวนมาก เช่น ฝูงชนคลาคล่ำเต็มท้องถนน. | คลาคล่ำ ก. ไปหรือมาเป็นจำนวนมาก เช่น ฝูงชนคลาคล่ำเต็มท้องถนน. |
คลาไคล เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-คอ-ควาย-ลอ-ลิง | เป็นคำกริยา หมายถึง เดินไป, เคลื่อนไป, ไคลคลา ก็ว่า. | คลาไคล ก. เดินไป, เคลื่อนไป, ไคลคลา ก็ว่า. |
คล้า เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | [คฺล้า] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Schumannianthus dichotomus (Roxb.) Gagnep. ในวงศ์ Marantaceae ต้นสูง ๑๒ เมตร แตกแขนงตามลําต้น ใบกว้าง. | คล้า [คฺล้า] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Schumannianthus dichotomus (Roxb.) Gagnep. ในวงศ์ Marantaceae ต้นสูง ๑๒ เมตร แตกแขนงตามลําต้น ใบกว้าง. |
คลางแคลง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-งอ-งู | [คฺลางแคฺลง] เป็นคำกริยา หมายถึง แคลงใจ, ไม่แน่ใจหรือวางใจลงไปได้เพราะออกจะสงสัย, แคลงคลาง ก็ว่า, บางทีก็พูดสั้น ๆ ว่า แคลง. | คลางแคลง [คฺลางแคฺลง] ก. แคลงใจ, ไม่แน่ใจหรือวางใจลงไปได้เพราะออกจะสงสัย, แคลงคลาง ก็ว่า, บางทีก็พูดสั้น ๆ ว่า แคลง. |
คลาด เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | [คฺลาด] เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนจากที่หมาย, เคลื่อนจากกําหนดเวลา; ไม่พบ ในคําว่า คลาดกัน. | คลาด [คฺลาด] ก. เคลื่อนจากที่หมาย, เคลื่อนจากกําหนดเวลา; ไม่พบ ในคําว่า คลาดกัน. |
คลาดเคลื่อน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู | [เคฺลื่อน] เป็นคำกริยา หมายถึง ผิดจากความเป็นจริง, ไม่ตรงตามความเป็นจริง, เคลื่อนคลาด ก็ว่า. | คลาดเคลื่อน [เคฺลื่อน] ก. ผิดจากความเป็นจริง, ไม่ตรงตามความเป็นจริง, เคลื่อนคลาด ก็ว่า. |
คลาดแคล้ว เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน | [แคฺล้ว] เป็นคำกริยา หมายถึง รอดไป, พ้นไป, แคล้วคลาด ก็ว่า. | คลาดแคล้ว [แคฺล้ว] ก. รอดไป, พ้นไป, แคล้วคลาด ก็ว่า. |
คลาน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [คฺลาน] เป็นคำกริยา หมายถึง ไปด้วยมือและเข่าอย่างเด็ก; กิริยาที่ใช้มือและเท้าทั้ง ๒ ทาบพื้นแล้วเคลื่อนไป เรียกว่า คลานสี่เท้า; กิริยาที่เคลื่อนไปด้วยเข่าและศอก เรียกว่า คลานศอก, ด้วยเข่า เรียกว่า คลานเข่า; กิริยาที่เดินไปอย่างช้า ๆ ของสัตว์บางชนิด เช่น เต่า จระเข้, เคลื่อนไปอย่างช้า ๆ เช่น รถยนต์ค่อย ๆ คลานไป. | คลาน [คฺลาน] ก. ไปด้วยมือและเข่าอย่างเด็ก; กิริยาที่ใช้มือและเท้าทั้ง ๒ ทาบพื้นแล้วเคลื่อนไป เรียกว่า คลานสี่เท้า; กิริยาที่เคลื่อนไปด้วยเข่าและศอก เรียกว่า คลานศอก, ด้วยเข่า เรียกว่า คลานเข่า; กิริยาที่เดินไปอย่างช้า ๆ ของสัตว์บางชนิด เช่น เต่า จระเข้, เคลื่อนไปอย่างช้า ๆ เช่น รถยนต์ค่อย ๆ คลานไป. |
คลาย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | [คฺลาย] เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้หลวม, ขยายให้หลวม, เช่น คลายนอต คลายเกลียวเชือก; ลดลง, ทุเลา, บรรเทาลง, เช่น คลายทุกข์ คลายรัก พิษไข้คลาย คลายกังวล. | คลาย [คฺลาย] ก. ทำให้หลวม, ขยายให้หลวม, เช่น คลายนอต คลายเกลียวเชือก; ลดลง, ทุเลา, บรรเทาลง, เช่น คลายทุกข์ คลายรัก พิษไข้คลาย คลายกังวล. |
คลายคล้าย, คล้ายคล้าย คลายคล้าย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก คล้ายคล้าย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนเรื่อย ๆ ไป, คล้อย, เช่น หมอมิกลัวกลายจระคล่าย เข้าป่าไปคลายคล้ายด่วนดั้นโดยทาง. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน, คลี่ไคลพลคล้ายคล้าย แลนา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง ย้าย. (อะหม คล้ายคล้าย ว่า โดยลําดับ). | คลายคล้าย, คล้ายคล้าย ก. เคลื่อนเรื่อย ๆ ไป, คล้อย, เช่น หมอมิกลัวกลายจระคล่าย เข้าป่าไปคลายคล้ายด่วนดั้นโดยทาง. (ลอ), คลี่ไคลพลคล้ายคล้าย แลนา. (ลอ); (ถิ่นพายัพ) ย้าย. (อะหม คล้ายคล้าย ว่า โดยลําดับ). |
คลายเคล่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-งอ-งู | [เคฺล่ง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ขยายตรงออกไป, เดินตรงไป, เช่น ครองคลายเคล่งอาศรมบทนั้น. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์. | คลายเคล่ง [เคฺล่ง] (โบ; กลอน) ก. ขยายตรงออกไป, เดินตรงไป, เช่น ครองคลายเคล่งอาศรมบทนั้น. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
คล้าย, คล้าย ๆ, คล้ายคลึง คล้าย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก คล้าย ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ไม้-ยะ-มก คล้ายคลึง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | [คฺล้าย, คฺลึง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกือบเหมือน. | คล้าย, คล้าย ๆ, คล้ายคลึง [คฺล้าย, คฺลึง] ว. เกือบเหมือน. |
คล่าว เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | [คฺล่าว] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ไหล, หลั่งไหล, เช่น บางบ่รับคำคล้อง คล่าวน้ำตาคลอ. ในวงเล็บ มาจาก นิราศนรินทร์ แบบเรียนกวีนิพนธ์. | คล่าว [คฺล่าว] (กลอน) ก. ไหล, หลั่งไหล, เช่น บางบ่รับคำคล้อง คล่าวน้ำตาคลอ. (นิ. นรินทร์). |
คลาศ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-สา-ลา | [คฺลาด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง คลาด, เคลื่อนจากที่หมาย, เช่น เร่งผ้ายเร่งคลาศคลา แลนา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน. | คลาศ [คฺลาด] (โบ) ก. คลาด, เคลื่อนจากที่หมาย, เช่น เร่งผ้ายเร่งคลาศคลา แลนา. (ลอ). |
คลำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ | [คฺลํา] เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่ใช้อวัยวะเช่นมือ แตะ ลูบ หรือควานอย่างช้า ๆ เพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรอยู่ที่ไหน เช่น คลำหาทางออก คลำหาสวิตช์ไฟ; โดยปริยายหมายความว่า ค้นหา เช่น คลําหาเงื่อนงําไม่พบ. | คลำ [คฺลํา] ก. กิริยาที่ใช้อวัยวะเช่นมือ แตะ ลูบ หรือควานอย่างช้า ๆ เพื่อให้รู้ว่าเป็นอะไรอยู่ที่ไหน เช่น คลำหาทางออก คลำหาสวิตช์ไฟ; โดยปริยายหมายความว่า ค้นหา เช่น คลําหาเงื่อนงําไม่พบ. |
คลำป้อย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-ปอ-ปลา-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่คลำและลูบแล้ว ๆ เล่า ๆ ตรงที่เจ็บ. | คลำป้อย ก. อาการที่คลำและลูบแล้ว ๆ เล่า ๆ ตรงที่เจ็บ. |
คล่ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-อำ | [คฺลํ่า] เป็นคำนาม หมายถึง หมู่. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สับสน, เกลื่อนกล่น, มาก, มักใช้คู่กับคำ คลา เป็น คลาคล่ำ. | คล่ำ [คฺลํ่า] น. หมู่. ว. สับสน, เกลื่อนกล่น, มาก, มักใช้คู่กับคำ คลา เป็น คลาคล่ำ. |
คล้ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ | [คฺลํ้า] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ค่อนข้างดํา, ไม่ผ่องใส, หม่นหมอง, เช่น ผิวคลํ้า หน้าคลํ้า. | คล้ำ [คฺลํ้า] ว. ค่อนข้างดํา, ไม่ผ่องใส, หม่นหมอง, เช่น ผิวคลํ้า หน้าคลํ้า. |
คลิง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู | [คฺลิง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คลึง เช่น นกปลิงคลิงคน ธบุษปรัตนบังอร. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘. | คลิง [คฺลิง] (โบ; กลอน) ก. คลึง เช่น นกปลิงคลิงคน ธบุษปรัตนบังอร. (สมุทรโฆษ). |
คลิ้งโคลง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-งอ-งู | [คฺลิ้งโคฺลง] เป็นคำนาม หมายถึง นกกิ้งโครง เช่น คลิ้งโคลงคล้อแคล้ในรัง นกเจ่าเหงาฟัง แลสารกระสาสรวลตาง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘. ในวงเล็บ ดู กิ้งโครง เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-งอ-งู ความหมายที่ ๑. | คลิ้งโคลง [คฺลิ้งโคฺลง] น. นกกิ้งโครง เช่น คลิ้งโคลงคล้อแคล้ในรัง นกเจ่าเหงาฟัง แลสารกระสาสรวลตาง. (สมุทรโฆษ). (ดู กิ้งโครง ๑). |
คลิด เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | [คฺลิด] เป็นคำกริยา หมายถึง ขัด, แคลง, เคลื่อน, เคล็ด, เช่น มาอย่าคลิดอย่าคลาด. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช. | คลิด [คฺลิด] ก. ขัด, แคลง, เคลื่อน, เคล็ด, เช่น มาอย่าคลิดอย่าคลาด. (ม. คำหลวง มหาราช). |
คลินิก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ | เป็นคำนาม หมายถึง สถานรักษาพยาบาล โดยมากเป็นของเอกชน มักไม่รับผู้ป่วยให้พักรักษาตัวประจํา; แผนกของโรงพยาบาลที่รักษาโรคเฉพาะทาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ clinic เขียนว่า ซี-แอล-ไอ-เอ็น-ไอ-ซี. | คลินิก น. สถานรักษาพยาบาล โดยมากเป็นของเอกชน มักไม่รับผู้ป่วยให้พักรักษาตัวประจํา; แผนกของโรงพยาบาลที่รักษาโรคเฉพาะทาง. (อ. clinic). |
คลี เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | [คฺลี] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ลูกกลม เช่น เล่นคลี โยนคลี, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง การเล่นแข่งขันอย่างหนึ่ง ผู้เล่นขี่ม้าตีลูกกลมด้วยไม้ เช่น ให้พระยาสามนต์คนดี มาตีคลีพนันในสนาม. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน หมายถึง การเล่นแข่งขันอย่างหนึ่งแต่ละฝ่ายใช้ไม้ตีลูกกลมซึ่งทำด้วยไม้ขนาดลูกมะนาวหรือโตกว่าเล็กน้อย ฝ่ายที่ตีลูกไปสู่ที่หมายทางฝ่ายของตนได้ก่อนเป็นฝ่ายชนะ; การเล่นลูกกลมด้วยลีลาเยื้องกรายเพื่อบูชาเทพเจ้า เช่น นางเริ่มเดาะคลีบูชาพระศรีเทวี. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือเรื่องกามนิต ของ เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป ฉบับ เจริญวิทย์การพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๒๐ ในวงเล็บ เทียบ ภาษาสันสกฤต คุฑ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ทอ-มน-โท คุล เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง โคล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง และมาจากภาษาบาลี คุฬ เขียนว่า คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา ว่า ลูกกลม . | คลี [คฺลี] (โบ) น. ลูกกลม เช่น เล่นคลี โยนคลี, (โบ) การเล่นแข่งขันอย่างหนึ่ง ผู้เล่นขี่ม้าตีลูกกลมด้วยไม้ เช่น ให้พระยาสามนต์คนดี มาตีคลีพนันในสนาม. (สังข์ทอง); (ถิ่นอีสาน) การเล่นแข่งขันอย่างหนึ่งแต่ละฝ่ายใช้ไม้ตีลูกกลมซึ่งทำด้วยไม้ขนาดลูกมะนาวหรือโตกว่าเล็กน้อย ฝ่ายที่ตีลูกไปสู่ที่หมายทางฝ่ายของตนได้ก่อนเป็นฝ่ายชนะ; การเล่นลูกกลมด้วยลีลาเยื้องกรายเพื่อบูชาเทพเจ้า เช่น นางเริ่มเดาะคลีบูชาพระศรีเทวี. (กามนิต). (เทียบ ส. คุฑ, คุล, โคล; ป. คุฬ ว่า ลูกกลม). |
คลี่ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | [คฺลี่] เป็นคำกริยา หมายถึง คลายสิ่งที่ม้วนหรือพับอยู่ เช่น คลี่ผ้า คลี่มวยผม, ทำให้แผ่ออก เช่น คลี่พัด คลี่ไพ่, ขยายออก เช่น ดอกไม้คลี่กลีบ. | คลี่ [คฺลี่] ก. คลายสิ่งที่ม้วนหรือพับอยู่ เช่น คลี่ผ้า คลี่มวยผม, ทำให้แผ่ออก เช่น คลี่พัด คลี่ไพ่, ขยายออก เช่น ดอกไม้คลี่กลีบ. |
คลี่คลาย เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำกริยา หมายถึง บรรเทาลงโดยลำดับ เช่น เหตุการณ์รุนแรงคลี่คลายลง; ทำให้กระจ่างโดยลำดับ เช่น ตำรวจคลี่คลายเงื่อนงำในคดีฆาตกรรม. | คลี่คลาย ก. บรรเทาลงโดยลำดับ เช่น เหตุการณ์รุนแรงคลี่คลายลง; ทำให้กระจ่างโดยลำดับ เช่น ตำรวจคลี่คลายเงื่อนงำในคดีฆาตกรรม. |
คลี่ทัพ, คลี่พล คลี่ทัพ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-พอ-พาน คลี่พล เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-พอ-พาน-ลอ-ลิง | ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง เคลื่อนพล, เคลื่อนกำลังไป, เช่น ยังยโสธรคล้อย คลี่พล. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐. | คลี่ทัพ, คลี่พล (โบ) ก. เคลื่อนพล, เคลื่อนกำลังไป, เช่น ยังยโสธรคล้อย คลี่พล. (ยวนพ่าย). |
คลึง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู | [คฺลึง] เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ฝ่ามือกดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเบา ๆ แล้วเคลื่อนมือหมุนไปมา เพื่อให้กลมหรือให้เรียบเป็นต้น, อาการที่ทําเช่นนั้นด้วยสิ่งอื่น เช่น คลึงด้วยลูกประคบ. | คลึง [คฺลึง] ก. ใช้ฝ่ามือกดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเบา ๆ แล้วเคลื่อนมือหมุนไปมา เพื่อให้กลมหรือให้เรียบเป็นต้น, อาการที่ทําเช่นนั้นด้วยสิ่งอื่น เช่น คลึงด้วยลูกประคบ. |
คลึงเคล้น เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง ลูบคลําและบีบเน้นไปมา. | คลึงเคล้น ก. ลูบคลําและบีบเน้นไปมา. |
คลึงเคล้า เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง ลูบคลํา, ทั้งคลึงทั้งเคล้า, ลูบคลํากอดรัด, เกลือกกลั้วอย่างกิริยาที่แมลงภู่คลึงเคล้าดอกไม้. | คลึงเคล้า ก. ลูบคลํา, ทั้งคลึงทั้งเคล้า, ลูบคลํากอดรัด, เกลือกกลั้วอย่างกิริยาที่แมลงภู่คลึงเคล้าดอกไม้. |
คลื่น เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู | [คฺลื่น] เป็นคำนาม หมายถึง นํ้าในทะเลหรือแม่นํ้าลําคลองเป็นต้น ซึ่งบางส่วนมีอาการเคลื่อนไหวนูนสูงกว่าระดับโดยปรกติแล้วลดลงและแลเห็นเคลื่อนไปเป็นระยะยาวหรือสั้นบนผิวนํ้า, โดยปริยายใช้แก่สิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลื่นเสียง คลื่นมนุษย์ ผมดัดเป็นคลื่น ถนนเป็นคลื่น. | คลื่น [คฺลื่น] น. นํ้าในทะเลหรือแม่นํ้าลําคลองเป็นต้น ซึ่งบางส่วนมีอาการเคลื่อนไหวนูนสูงกว่าระดับโดยปรกติแล้วลดลงและแลเห็นเคลื่อนไปเป็นระยะยาวหรือสั้นบนผิวนํ้า, โดยปริยายใช้แก่สิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลื่นเสียง คลื่นมนุษย์ ผมดัดเป็นคลื่น ถนนเป็นคลื่น. |
คลื่นกระทบฝั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. | คลื่นกระทบฝั่ง ๑ น. ชื่อเพลงไทยทำนองหนึ่ง. |
คลื่นกระทบฝั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-บอ-ไบ-ไม้-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป. | คลื่นกระทบฝั่ง ๒ (สำ) น. เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป. |
คลื่นใต้น้ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นในมหาสมุทรที่มีช่วงคลื่นยาวสมํ่าเสมอและยอดเรียบเคลื่อนตัวมาจากแหล่งกําเนิดที่อยู่ไกลมาก ชาวเรือถือเป็นสัญญาณบอกเหตุว่าจะเกิดพายุ. | คลื่นใต้น้ำ ๑ น. คลื่นในมหาสมุทรที่มีช่วงคลื่นยาวสมํ่าเสมอและยอดเรียบเคลื่อนตัวมาจากแหล่งกําเนิดที่อยู่ไกลมาก ชาวเรือถือเป็นสัญญาณบอกเหตุว่าจะเกิดพายุ. |
คลื่นใต้น้ำ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-ตอ-เต่า-ไม้-โท-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ ความหมายที่ ๒ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง เหตุการณ์ที่กรุ่นอยู่ภายใน แต่ภายนอกดูเสมือนสงบเรียบร้อย. | คลื่นใต้น้ำ ๒ (สำ) น. เหตุการณ์ที่กรุ่นอยู่ภายใน แต่ภายนอกดูเสมือนสงบเรียบร้อย. |
คลื่นปานกลาง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ปานกลางตั้งแต่ ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓ เมกะเฮิรตซ์ (หรือ ๓,๐๐๐ กิโลเฮิรตซ์). | คลื่นปานกลาง น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ปานกลางตั้งแต่ ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓ เมกะเฮิรตซ์ (หรือ ๓,๐๐๐ กิโลเฮิรตซ์). |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มของสนามแม่เหล็กและไฟฟ้าที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ได้แก่ คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ อัลตราไวโอเลต เอกซเรย์ รังสีแกมมา และ รังสีคอสมิก. | คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า น. คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มของสนามแม่เหล็กและไฟฟ้าที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ได้แก่ คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ อัลตราไวโอเลต เอกซเรย์ รังสีแกมมา และ รังสีคอสมิก. |
คลื่นยาว เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ตํ่าตั้งแต่ ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์. | คลื่นยาว น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ตํ่าตั้งแต่ ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์. |
คลื่นวิทยุ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ. | คลื่นวิทยุ น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ. |
คลื่นสั้น เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง ตั้งแต่ ๓ เมกะเฮิรตซ์ ถึง ๓๐ เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารระยะไกล. | คลื่นสั้น น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง ตั้งแต่ ๓ เมกะเฮิรตซ์ ถึง ๓๐ เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารระยะไกล. |
คลื่นไส้ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ไม้-โท | [คฺลื่น] เป็นคำกริยา หมายถึง ปั่นป่วนในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ชวนให้อาเจียน, โดยปริยายหมายความว่า น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน. | คลื่นไส้ [คฺลื่น] ก. ปั่นป่วนในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ชวนให้อาเจียน, โดยปริยายหมายความว่า น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน. |
คลื่นเหียน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง มีอาการคลื่นไส้จะอาเจียน. | คลื่นเหียน ก. มีอาการคลื่นไส้จะอาเจียน. |
คลุก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | [คฺลุก] เป็นคำกริยา หมายถึง เคล้าให้เข้ากัน, ขยําให้ระคนเข้ากัน; ประชิดติดพันเข้าไป เช่น เข้าคลุกวงใน, เกลือก เช่น คลุกเกลือ คลุกน้ำตาล. | คลุก [คฺลุก] ก. เคล้าให้เข้ากัน, ขยําให้ระคนเข้ากัน; ประชิดติดพันเข้าไป เช่น เข้าคลุกวงใน, เกลือก เช่น คลุกเกลือ คลุกน้ำตาล. |
คลุกคลี เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าปะปนระคนกัน, เข้าใกล้ชิดกัน. | คลุกคลี ก. เข้าปะปนระคนกัน, เข้าใกล้ชิดกัน. |
คลุกคลีตีโมง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-โอ-มอ-ม้า-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง มั่วสุมหรืออยู่ร่วมคลุกคลีพัวพันกันอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา. | คลุกคลีตีโมง ก. มั่วสุมหรืออยู่ร่วมคลุกคลีพัวพันกันอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา. |
คลุ้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๑ | [คฺลุ้ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กระจาย เช่น ฝุ่นคลุ้ง ควันคลุ้ง; มีกลิ่นตลบ (มักใช้แก่กลิ่นเหม็น). | คลุ้ง ๑ [คฺลุ้ง] ว. กระจาย เช่น ฝุ่นคลุ้ง ควันคลุ้ง; มีกลิ่นตลบ (มักใช้แก่กลิ่นเหม็น). |
คลุ้ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู ความหมายที่ ๒ | [คฺลุ้ง]ดู พลวง เขียนว่า พอ-พาน-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู ความหมายที่ ๒. | คลุ้ง ๒ [คฺลุ้ง] ดู พลวง ๒. |
คลุบ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-บอ-ไบ-ไม้ | [คฺลุบ] เป็นคำนาม หมายถึง ลูกขลุบ เช่น ม้าคลุบคลีกระบี่ม้า วิ่งม้าพนันเร็ว. ในวงเล็บ มาจาก โคลงยอพระเกียรติพระเจ้ากรุงธนบุรี นายสวน มหาดเล็ก แต่งฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕. | คลุบ [คฺลุบ] น. ลูกขลุบ เช่น ม้าคลุบคลีกระบี่ม้า วิ่งม้าพนันเร็ว. (ยอพระเกียรติกรุงธน). |
คลุม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | [คฺลุม] เป็นคำกริยา หมายถึง ปกหรือปิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อป้องกันไม่ให้เสียหายหรือทำให้มองไม่เห็นเป็นต้น เช่น เอาผ้าใบคลุมรถยนต์ไว้ ไม้เลื้อยคลุมหลังคา; ครอบไปถึง เช่น คำนี้คลุมไม่ถึง. | คลุม [คฺลุม] ก. ปกหรือปิดสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อป้องกันไม่ให้เสียหายหรือทำให้มองไม่เห็นเป็นต้น เช่น เอาผ้าใบคลุมรถยนต์ไว้ ไม้เลื้อยคลุมหลังคา; ครอบไปถึง เช่น คำนี้คลุมไม่ถึง. |
คลุม ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พูดไม่บ่งชัดให้จะแจ้ง เช่น พูดคลุม ๆ. | คลุม ๆ ว. พูดไม่บ่งชัดให้จะแจ้ง เช่น พูดคลุม ๆ. |
คลุมเครือ เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่กํ้ากึ่งเอาแน่นอนทางใดทางหนึ่งไม่ได้ เช่น อากาศที่จะมืดก็ไม่มืด จะสว่างก็ไม่สว่าง เรียกว่า อากาศคลุมเครือ, อาการไข้ที่จะหายก็ไม่หาย จะหนักก็ไม่หนัก เรียกว่า ไข้คลุมเครือ, พูดไม่บ่งชัดไปทางใดให้จะแจ้ง เรียกว่า พูดคลุมเครือ. | คลุมเครือ ว. ลักษณะที่กํ้ากึ่งเอาแน่นอนทางใดทางหนึ่งไม่ได้ เช่น อากาศที่จะมืดก็ไม่มืด จะสว่างก็ไม่สว่าง เรียกว่า อากาศคลุมเครือ, อาการไข้ที่จะหายก็ไม่หาย จะหนักก็ไม่หนัก เรียกว่า ไข้คลุมเครือ, พูดไม่บ่งชัดไปทางใดให้จะแจ้ง เรียกว่า พูดคลุมเครือ. |
คลุมถุงชน เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ชอ-ช้าง-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะการแต่งงานที่ผู้ใหญ่จัดการให้ โดยที่เจ้าตัวไม่รู้จักคุ้นเคยหรือรักกันมาก่อน. | คลุมถุงชน (สำ) น. ลักษณะการแต่งงานที่ผู้ใหญ่จัดการให้ โดยที่เจ้าตัวไม่รู้จักคุ้นเคยหรือรักกันมาก่อน. |
คลุมบรรทม, คลุมประทม, คลุมผทม คลุมบรรทม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-รอ-เรือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า คลุมประทม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า คลุมผทม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ผอ-ผึ้ง-ทอ-ทะ-หาน-มอ-ม้า | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าห่มนอน. | คลุมบรรทม, คลุมประทม, คลุมผทม (ราชา) น. ผ้าห่มนอน. |
คลุมปัก, คลุมปิด คลุมปัก เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ คลุมปิด เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง กรวยทำด้วยผ้าปักสำหรับครอบพาน. | คลุมปัก, คลุมปิด (ราชา) น. กรวยทำด้วยผ้าปักสำหรับครอบพาน. |
คลุมโปง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-ปอ-ปลา-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอาวัตถุเช่นผ้าคลุมมิดทั้งหัวทั้งตัวหรือเกือบทั้งตัว. | คลุมโปง ก. กิริยาที่เอาวัตถุเช่นผ้าคลุมมิดทั้งหัวทั้งตัวหรือเกือบทั้งตัว. |
คลุ่ม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-มอ-ม้า | [คฺลุ่ม] เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะของปากภาชนะที่งุ้มหรือโค้งเข้าอย่างปากตะลุ่ม. | คลุ่ม [คฺลุ่ม] น. ลักษณะของปากภาชนะที่งุ้มหรือโค้งเข้าอย่างปากตะลุ่ม. |
คลุ้ม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑ | [คฺลุ้ม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มืดมัว, ไม่แจ่มใส. | คลุ้ม ๑ [คฺลุ้ม] ว. มืดมัว, ไม่แจ่มใส. |
คลุ้มคลั่ง เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง กลัดกลุ้มในใจจนแสดงอาการอย่างคนบ้า. | คลุ้มคลั่ง ก. กลัดกลุ้มในใจจนแสดงอาการอย่างคนบ้า. |
คลุ้ม เขียนว่า คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๒ | [คฺลุ้ม] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Donax grandis Ridl. ในวงศ์ Marantaceae ต้นสูงถึง ๓ เมตร สีเขียวเข้ม แตกแขนงตอนปลาย ผิวแข็ง ใช้สานเสื่อได้ ใบคล้ายคล้าแต่ขนาดใหญ่กว่า. | คลุ้ม ๒ [คฺลุ้ม] น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Donax grandis Ridl. ในวงศ์ Marantaceae ต้นสูงถึง ๓ เมตร สีเขียวเข้ม แตกแขนงตอนปลาย ผิวแข็ง ใช้สานเสื่อได้ ใบคล้ายคล้าแต่ขนาดใหญ่กว่า. |
ควง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง แกว่งหรือทําให้หมุนไปโดยรอบ เช่น ควงกระบอง ควงดาบ ควงจาน, เดินเข้าคู่คลอเคลียกันไป เรียกว่า เดินควงกัน; รวมหรือโยงเข้าในกลุ่มเดียวกัน เช่น เครื่องหมายปีกกาใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน; โดยปริยายหมายถึงคบหาสนิทสนมในเชิงคู่รัก เช่น คู่นี้ควงกันมาหลายปีแล้ว; เข้าคู่ไปด้วยกัน เช่น ควงกันไปเที่ยว. เป็นคำนาม หมายถึง เรียกตะปูที่มีเกลียวว่า ตะปูควง, เรียกเครื่องมือที่ใช้ไขตะปูควงว่า ไขควง; เครื่องมือสำหรับอัดใบลานเป็นต้นให้แน่น; บริเวณ เช่น ในควงไม้ศรีมหาโพธิ์. | ควง ก. แกว่งหรือทําให้หมุนไปโดยรอบ เช่น ควงกระบอง ควงดาบ ควงจาน, เดินเข้าคู่คลอเคลียกันไป เรียกว่า เดินควงกัน; รวมหรือโยงเข้าในกลุ่มเดียวกัน เช่น เครื่องหมายปีกกาใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกัน; โดยปริยายหมายถึงคบหาสนิทสนมในเชิงคู่รัก เช่น คู่นี้ควงกันมาหลายปีแล้ว; เข้าคู่ไปด้วยกัน เช่น ควงกันไปเที่ยว. น. เรียกตะปูที่มีเกลียวว่า ตะปูควง, เรียกเครื่องมือที่ใช้ไขตะปูควงว่า ไขควง; เครื่องมือสำหรับอัดใบลานเป็นต้นให้แน่น; บริเวณ เช่น ในควงไม้ศรีมหาโพธิ์. |
ควงแขน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ขอ-ไข่-นอ-หนู | เป็นคำกริยา หมายถึง เอาแขนคล้องกัน. | ควงแขน ก. เอาแขนคล้องกัน. |
ควงสว่าน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-งอ-งู-สอ-เสือ-วอ-แหวน-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [สะหฺว่าน] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่หมุนเหมือนเกลียวสว่าน เช่น เครื่องบินควงสว่าน. | ควงสว่าน [สะหฺว่าน] ก. อาการที่หมุนเหมือนเกลียวสว่าน เช่น เครื่องบินควงสว่าน. |
ควณ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-นอ-เนน | เป็นคำกริยา หมายถึง คํานวณ เช่น ขับควณทวนเทียบด้วยตำรา พิเคราะห์พระชันษาชะตาเมือง. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔. | ควณ ก. คํานวณ เช่น ขับควณทวนเทียบด้วยตำรา พิเคราะห์พระชันษาชะตาเมือง. (อิเหนา). |
ควน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง เนิน, เขาดิน. ในวงเล็บ มาจากภาษามลายู gual เขียนว่า จี-ยู-เอ-แอล guar เขียนว่า จี-ยู-เอ-อา . | ควน (ถิ่นปักษ์ใต้) น. เนิน, เขาดิน. (ม. gual, guar). |
ควบ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๑ | เป็นคำกริยา หมายถึง เอารวมเข้าเป็นอันเดียวกันหรือเข้าคู่กัน เช่น ควบเชือก ควบด้าย สอบควบ กินยาควบกัน. | ควบ ๑ ก. เอารวมเข้าเป็นอันเดียวกันหรือเข้าคู่กัน เช่น ควบเชือก ควบด้าย สอบควบ กินยาควบกัน. |
ควบคุม เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | เป็นคำกริยา หมายถึง ดูแล, กํากับดูแล, กักขัง; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึง คุมตัวหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจในระหว่างสืบสวน. | ควบคุม ก. ดูแล, กํากับดูแล, กักขัง; (กฎ) คุมตัวหรือกักขังผู้ถูกจับโดยพนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจในระหว่างสืบสวน. |
ควบคู่ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-คอ-ควาย-สะ-หระ-อู-ไม้-เอก | เป็นคำกริยา หมายถึง เข้าคู่กัน, ทำพร้อมกัน, เช่น เขาเรียนหนังสือควบคู่กับทำงาน. | ควบคู่ ก. เข้าคู่กัน, ทำพร้อมกัน, เช่น เขาเรียนหนังสือควบคู่กับทำงาน. |
ควบ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่วิ่งเต็มที่จนดูเหมือนเท้าหรือล้อไม่ติดดิน. | ควบ ๒ ก. อาการที่วิ่งเต็มที่จนดูเหมือนเท้าหรือล้อไม่ติดดิน. |
ควบม้า เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่คนขี่หลังม้ากระตุ้นให้ม้าวิ่งไปอย่างเร็ว. | ควบม้า ก. อาการที่คนขี่หลังม้ากระตุ้นให้ม้าวิ่งไปอย่างเร็ว. |
ควบแน่น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-ไม้-เอก-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ ๒ โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของนํ้าหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป; (ความร้อน) กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของไอเป็นของเหลวโดยวิธีลดอุณหภูมิลง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ condense เขียนว่า ซี-โอ-เอ็น-ดี-อี-เอ็น-เอส-อี. | ควบแน่น (เคมี) น. กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในลักษณะซึ่งโมเลกุลของสารตั้งแต่ ๒ โมเลกุลขึ้นไปเข้ารวมตัวกันเป็นโมเลกุลใหญ่ขึ้นของสารใหม่ โดยวิธีขจัดโมเลกุลของนํ้าหรือโมเลกุลของสารอื่นออกไป; (ความร้อน) กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของไอเป็นของเหลวโดยวิธีลดอุณหภูมิลง. (อ. condense). |
ควย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด. | ควย น. อวัยวะสืบพันธุ์ของชายหรือสัตว์เพศผู้บางชนิด. |
ควร เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-รอ-เรือ | [ควน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เหมาะ เช่น กินแต่พอควร; ชอบ, ถูกต้อง, เช่น เห็นควรแล้ว; เป็นคําช่วยกริยาในความคล้อยตาม เช่น ควรทํา ควรกิน. | ควร [ควน] ว. เหมาะ เช่น กินแต่พอควร; ชอบ, ถูกต้อง, เช่น เห็นควรแล้ว; เป็นคําช่วยกริยาในความคล้อยตาม เช่น ควรทํา ควรกิน. |
ควัก เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่ | [คฺวัก] เป็นคำกริยา หมายถึง ดึงหรือล้วงสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมา, เอามือล้วงลงไปในที่ใดที่หนึ่ง แล้วเอาสิ่งที่อยู่ในนั้นออกมา, ใช้เครื่องมือปลายโค้งหรืองอทําอาการเช่นนั้น เช่น ควักหู, ใช้เข็มควักถักด้ายให้เป็นลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า ควักลูกไม้, เอาเครื่องมือรูปพายขนาดเล็กตักสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา เช่น ควักปูน ควักกะปิ, ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ดึงเอาตัวออกมา เช่น ควักเอาตัวมาจากที่นอน. | ควัก [คฺวัก] ก. ดึงหรือล้วงสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมา, เอามือล้วงลงไปในที่ใดที่หนึ่ง แล้วเอาสิ่งที่อยู่ในนั้นออกมา, ใช้เครื่องมือปลายโค้งหรืองอทําอาการเช่นนั้น เช่น ควักหู, ใช้เข็มควักถักด้ายให้เป็นลวดลายต่าง ๆ เรียกว่า ควักลูกไม้, เอาเครื่องมือรูปพายขนาดเล็กตักสิ่งใดสิ่งหนึ่งขึ้นมา เช่น ควักปูน ควักกะปิ, (ปาก) ดึงเอาตัวออกมา เช่น ควักเอาตัวมาจากที่นอน. |
ควักกระเป๋า เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา | เป็นคำกริยา หมายถึง จ่ายเงินหรือออกเงิน เช่น ควักกระเป๋าเลี้ยงเพื่อน. | ควักกระเป๋า ก. จ่ายเงินหรือออกเงิน เช่น ควักกระเป๋าเลี้ยงเพื่อน. |
ควักกะปิ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่รำเอามือวักไปวักมาอย่างคนรำไม่เป็น. | ควักกะปิ (ปาก) ก. อาการที่รำเอามือวักไปวักมาอย่างคนรำไม่เป็น. |
ควักลงหลุม เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-งอ-งู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า | เป็นคำนาม หมายถึง การเล่นชนิดหนึ่งของเด็ก ดีดเบี้ยลงหลุม. | ควักลงหลุม น. การเล่นชนิดหนึ่งของเด็ก ดีดเบี้ยลงหลุม. |
ควั่ก เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-กอ-ไก่ | [คฺวั่ก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง วุ่น, ชุลมุน, เช่น วิ่งหากันให้ควั่ก. | ควั่ก [คฺวั่ก] ว. วุ่น, ชุลมุน, เช่น วิ่งหากันให้ควั่ก. |
ควักค้อน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-คอ-ควาย-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู | [คฺวัก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง ค้อนจนหน้าควํ่า เช่น ขืนจะมาควักค้อนค่อนว่า เงาะของข้าเคยใส่ทำไมสิ. ในวงเล็บ มาจากเรื่อง สังข์ทอง ใน แบบเรียนกวีนิพนธ์, ค้อนควัก ก็ว่า. | ควักค้อน [คฺวัก] (กลอน) ก. ค้อนจนหน้าควํ่า เช่น ขืนจะมาควักค้อนค่อนว่า เงาะของข้าเคยใส่ทำไมสิ. (สังข์ทอง), ค้อนควัก ก็ว่า. |
ควั่งคว้าง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-งอ-งู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | [คฺวั่งคฺว้าง] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แกว่งไปมา, กวัดแกว่ง, ไหลวน, โบราณเขียนเป็น คว่งงคว้งง ก็มี เช่น สระเหนาะน้ำคว่งงคว้งง ควิวแด. (กำสรวล). | ควั่งคว้าง [คฺวั่งคฺว้าง] (กลอน) ว. แกว่งไปมา, กวัดแกว่ง, ไหลวน, โบราณเขียนเป็น คว่งงคว้งง ก็มี เช่น สระเหนาะน้ำคว่งงคว้งง ควิวแด. (กำสรวล). |
ควัน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู | [คฺวัน] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่เห็นเป็นสีดําหรือขาวคล้ายหมอกลอยออกมาจากของที่กําลังไหม้ไฟ หรือจากการเผาไหม้, สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง แก๊สที่มีอนุภาคละเอียดของของแข็งแขวนลอยอยู่. | ควัน [คฺวัน] น. สิ่งที่เห็นเป็นสีดําหรือขาวคล้ายหมอกลอยออกมาจากของที่กําลังไหม้ไฟ หรือจากการเผาไหม้, สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น; (วิทยา) แก๊สที่มีอนุภาคละเอียดของของแข็งแขวนลอยอยู่. |
ควันหลง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง ควันเหลือค้างอยู่, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นแล้วและกลับปรากฏกระเส็นกระสายขึ้นอีก. | ควันหลง น. ควันเหลือค้างอยู่, โดยปริยายหมายถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นแล้วและกลับปรากฏกระเส็นกระสายขึ้นอีก. |
ควั่น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู | [คฺวั่น] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ต่อขั้วผลไม้หรือดอกที่เป็นรอยรอบเช่นที่ก้านผลขนุนหรือทุเรียนเป็นต้น. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เป็นรอยด้วยคมมีดโดยรอบ. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอ้อยที่ควั่นให้ขาดออกเป็นข้อ ๆ ว่า อ้อยควั่น. | ควั่น [คฺวั่น] น. ที่ต่อขั้วผลไม้หรือดอกที่เป็นรอยรอบเช่นที่ก้านผลขนุนหรือทุเรียนเป็นต้น. ก. ทําให้เป็นรอยด้วยคมมีดโดยรอบ. ว. เรียกอ้อยที่ควั่นให้ขาดออกเป็นข้อ ๆ ว่า อ้อยควั่น. |
ควั่นจุก เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-กอ-ไก่ | เป็นคำกริยา หมายถึง กันผมให้เป็นฐานกลมเพื่อให้ผมงอกยาวสําหรับไว้จุก. | ควั่นจุก ก. กันผมให้เป็นฐานกลมเพื่อให้ผมงอกยาวสําหรับไว้จุก. |
คว้า เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | [คฺว้า] เป็นคำกริยา หมายถึง ยื่นมือไปจับหรือฉวยมาโดยเร็ว, ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ศัพท์นี้ไปคว้ามาจากไหน; กิริยาชักว่าวกระตุกให้หัวว่าวปักลงแล้วช้อนขึ้นไปทางใดทางหนึ่งตามความต้องการ เช่น ว่าวจุฬากับว่าวปักเป้าคว้ากัน. | คว้า [คฺว้า] ก. ยื่นมือไปจับหรือฉวยมาโดยเร็ว, ลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ศัพท์นี้ไปคว้ามาจากไหน; กิริยาชักว่าวกระตุกให้หัวว่าวปักลงแล้วช้อนขึ้นไปทางใดทางหนึ่งตามความต้องการ เช่น ว่าวจุฬากับว่าวปักเป้าคว้ากัน. |
คว้าไขว่ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ไม้-เอก | [ไขฺว่] เป็นคำกริยา หมายถึง เอื้อมมือฉวยเอาอย่างสับสน, พยายามจับหรือถือเอา, ไขว่คว้า ก็ว่า. | คว้าไขว่ [ไขฺว่] ก. เอื้อมมือฉวยเอาอย่างสับสน, พยายามจับหรือถือเอา, ไขว่คว้า ก็ว่า. |
คว้าน้ำเหลว เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ไม่ได้ผลตามต้องการ. | คว้าน้ำเหลว (สำ) ก. ไม่ได้ผลตามต้องการ. |
ควาก เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๑ | [คฺวาก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กว้างออกไปโตออกไปเพราะแรงดัน (ใช้เฉพาะรูและช่อง). | ควาก ๑ [คฺวาก] ว. กว้างออกไปโตออกไปเพราะแรงดัน (ใช้เฉพาะรูและช่อง). |
ควาก เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่ ความหมายที่ ๒ | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงฉีกผ้า. | ควาก ๒ ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงฉีกผ้า. |
คว้าง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู | [คฺว้าง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว เช่น ลอยคว้าง หมุนคว้าง; ลักษณะที่ละลายเหลวอย่างนํ้า เช่น ทองละลายคว้างอยู่ในเบ้า. | คว้าง [คฺว้าง] ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว เช่น ลอยคว้าง หมุนคว้าง; ลักษณะที่ละลายเหลวอย่างนํ้า เช่น ทองละลายคว้างอยู่ในเบ้า. |
คว้าง ๆ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู ไม้-ยะ-มก | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่ลอยหรือหมุนไปอย่างรวดเร็ว. | คว้าง ๆ ว. อาการที่ลอยหรือหมุนไปอย่างรวดเร็ว. |
คว้างเคว้ง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-งอ-งู | เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินคว้างเคว้งไม่รู้จะไปไหนดี, เคว้งคว้าง ก็ว่า. | คว้างเคว้ง ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินคว้างเคว้งไม่รู้จะไปไหนดี, เคว้งคว้าง ก็ว่า. |
ควาญ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-ยอ-หยิง | [คฺวาน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้เลี้ยงและขี่ขับช้าง, คนบังคับช้าง, ใช้กับสัตว์อื่นก็มี เช่น ควาญแรด. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘, ควาญแกะ ควาญม้า. ในวงเล็บ มาจาก อักขราภิธานศรับท์ ของ หมอปรัดเล. | ควาญ [คฺวาน] น. ผู้เลี้ยงและขี่ขับช้าง, คนบังคับช้าง, ใช้กับสัตว์อื่นก็มี เช่น ควาญแรด. (สมุทรโฆษ), ควาญแกะ ควาญม้า. (ปรัดเล). |
ควาน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [คฺวาน] เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นค้นหาสิ่งของในนํ้าหรือในที่มืดเป็นต้น. | ควาน [คฺวาน] ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นค้นหาสิ่งของในนํ้าหรือในที่มืดเป็นต้น. |
คว้าน เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู | [คฺว้าน] เป็นคำกริยา หมายถึง เอาสิ่งที่มีคมแหวะให้กว้าง, แขวะให้เป็นช่องเพื่อเอาส่วนข้างในออก เช่น คว้านผลมะปราง คว้านไส้, ทําให้กว้าง เช่น คว้านคอเสื้อ. | คว้าน [คฺว้าน] ก. เอาสิ่งที่มีคมแหวะให้กว้าง, แขวะให้เป็นช่องเพื่อเอาส่วนข้างในออก เช่น คว้านผลมะปราง คว้านไส้, ทําให้กว้าง เช่น คว้านคอเสื้อ. |
คว้านท้อง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู | เป็นคำกริยา หมายถึง ฆ่าตัวตายแบบญี่ปุ่น โดยใช้มีดแทงที่ท้องแล้วคว้าน. ในวงเล็บ เทียบ ภาษาญี่ปุ่น harakiri เขียนว่า เอช-เอ-อา-เอ-เค-ไอ-อา-ไอ. | คว้านท้อง ก. ฆ่าตัวตายแบบญี่ปุ่น โดยใช้มีดแทงที่ท้องแล้วคว้าน. (เทียบ ญิ. harakiri). |
ความ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า | [คฺวาม] เป็นคำนาม หมายถึง เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว. | ความ [คฺวาม] น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คํานําหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว. |
ความชอบ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ | เป็นคำนาม หมายถึง คุณงามความดีที่ควรได้รับบําเหน็จรางวัล. | ความชอบ น. คุณงามความดีที่ควรได้รับบําเหน็จรางวัล. |
ความเป็นความตาย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจเป็นความเป็นความตายของชาติ. | ความเป็นความตาย น. เรื่องสำคัญมาก เช่น เรื่องภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจเป็นความเป็นความตายของชาติ. |
ความมุ่งหมาย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู-หอ-หีบ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก | เป็นคำนาม หมายถึง ความตั้งใจ, เจตนา, เช่น ถนนสายนี้สร้างขึ้นด้วยความมุ่งหมายเพื่อย่นระยะทาง. | ความมุ่งหมาย น. ความตั้งใจ, เจตนา, เช่น ถนนสายนี้สร้างขึ้นด้วยความมุ่งหมายเพื่อย่นระยะทาง. |
ความหลัง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง เรื่องราวในอดีต. | ความหลัง น. เรื่องราวในอดีต. |
ความเห็น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ข้อวินิจฉัยหรือความเชื่อที่แสดงออกตามที่เห็น รู้ หรือ คิด เช่น ฉันมีความเห็นว่านักมวยไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ผมมีความเห็นว่าเขาเป็นคนน่าเชื่อถือ. | ความเห็น น. ข้อวินิจฉัยหรือความเชื่อที่แสดงออกตามที่เห็น รู้ หรือ คิด เช่น ฉันมีความเห็นว่านักมวยไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ผมมีความเห็นว่าเขาเป็นคนน่าเชื่อถือ. |
ความคลาด เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิชาแสง เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะที่แสงหักเหออกจากผิวเลนส์ และลักษณะที่แสงสะท้อนออกจากผิวโค้งของกระจกแล้วไม่ตัดร่วม ณ จุดเดียวกัน หรือลักษณะที่แสงขาวผ่านเลนส์แล้วเกิดการกระจายออกเป็นสีต่าง ๆ; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในดาราศาสตร์ หมายถึง ความแตกต่างระหว่างตําแหน่งของดาวฤกษ์ หรือเทห์ฟากฟ้าที่สังเกตเห็นกับตําแหน่งจริงของมันในขณะนั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ aberration เขียนว่า เอ-บี-อี-อา-อา-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | ความคลาด (แสง) น. ลักษณะที่แสงหักเหออกจากผิวเลนส์ และลักษณะที่แสงสะท้อนออกจากผิวโค้งของกระจกแล้วไม่ตัดร่วม ณ จุดเดียวกัน หรือลักษณะที่แสงขาวผ่านเลนส์แล้วเกิดการกระจายออกเป็นสีต่าง ๆ; (ดารา) ความแตกต่างระหว่างตําแหน่งของดาวฤกษ์ หรือเทห์ฟากฟ้าที่สังเกตเห็นกับตําแหน่งจริงของมันในขณะนั้น. (อ. aberration). |
ความคิด เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-คอ-ควาย-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ; ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหาความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์; สติปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลายของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด. | ความคิด น. สิ่งที่นึกรู้ขึ้นในใจ; ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ก่อให้เกิดการแสวงหาความรู้ต่อไป เช่น เครื่องบินเกิดขึ้นได้เพราะความคิดของมนุษย์; สติปัญญาที่จะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถูกต้องและสมควร เช่น คนทำลายของสาธารณะเป็นพวกไม่มีความคิด. |
ความเค้น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง แรงที่กระทําต่อ ๑ หน่วยพื้นที่ของเทหวัตถุ เมื่อเทหวัตถุใดถูกความเค้นมากระทําจะเกิดความเครียดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ stress เขียนว่า เอส-ที-อา-อี-เอส-เอส. | ความเค้น (ฟิสิกส์) น. แรงที่กระทําต่อ ๑ หน่วยพื้นที่ของเทหวัตถุ เมื่อเทหวัตถุใดถูกความเค้นมากระทําจะเกิดความเครียดขึ้นแก่เทหวัตถุนั้น. (อ. stress). |
ความเครียด เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก | เป็นคำนาม หมายถึง (ฟิสิกส์) อัตราส่วนระหว่างขนาดที่เปลี่ยนไปเนื่องจากความเค้นกับขนาดเดิมของเทหวัตถุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ strain เขียนว่า เอส-ที-อา-เอ-ไอ-เอ็น; ลักษณะอาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป, ลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณ์บางอย่างมากดดันความรู้สึกอย่างรุนแรง. | ความเครียด น. (ฟิสิกส์) อัตราส่วนระหว่างขนาดที่เปลี่ยนไปเนื่องจากความเค้นกับขนาดเดิมของเทหวัตถุ. (อ. strain); ลักษณะอาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป, ลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณ์บางอย่างมากดดันความรู้สึกอย่างรุนแรง. |
ความเฉื่อย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-ฉอ-ฉิ่ง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง สมบัติของเทหวัตถุที่จะคงสภาพนิ่งอยู่อย่างเดิมตลอดไปหรือคงสภาพเคลื่อนที่อย่างสมํ่าเสมอในแนวเส้นตรงตลอดไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ inertia เขียนว่า ไอ-เอ็น-อี-อา-ที-ไอ-เอ. | ความเฉื่อย (ฟิสิกส์) น. สมบัติของเทหวัตถุที่จะคงสภาพนิ่งอยู่อย่างเดิมตลอดไปหรือคงสภาพเคลื่อนที่อย่างสมํ่าเสมอในแนวเส้นตรงตลอดไป. (อ. inertia). |
ความชื้น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ เป็นคำนาม หมายถึง ปริมาณไอนํ้าที่มีอยู่ในอากาศ. | ความชื้น (วิทยา) น. ปริมาณไอนํ้าที่มีอยู่ในอากาศ. |
ความชื้นสัมบูรณ์ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง มวลของไอนํ้าที่มีอยู่จริงในอากาศ ๑ หน่วยปริมาตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ absolute เขียนว่า เอ-บี-เอส-โอ-แอล-ยู-ที-อี humidity เขียนว่า เอช-ยู-เอ็ม-ไอ-ดี-ไอ-ที-วาย . | ความชื้นสัมบูรณ์ น. มวลของไอนํ้าที่มีอยู่จริงในอากาศ ๑ หน่วยปริมาตร. (อ. absolute humidity). |
ความชื้นสัมพัทธ์ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-นอ-หนู-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-ทัน-ทะ-คาด | เป็นคำนาม หมายถึง อัตราส่วนระหว่างมวลของไอนํ้าที่มีอยู่จริงในอากาศเทียบกับมวลของไอนํ้าอิ่มตัวเมื่อมีปริมาตรและอุณหภูมิเท่ากัน มักกําหนดค่าเป็นร้อยละ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ relative เขียนว่า อา-อี-แอล-เอ-ที-ไอ-วี-อี humidity เขียนว่า เอช-ยู-เอ็ม-ไอ-ดี-ไอ-ที-วาย . | ความชื้นสัมพัทธ์ น. อัตราส่วนระหว่างมวลของไอนํ้าที่มีอยู่จริงในอากาศเทียบกับมวลของไอนํ้าอิ่มตัวเมื่อมีปริมาตรและอุณหภูมิเท่ากัน มักกําหนดค่าเป็นร้อยละ. (อ. relative humidity). |
ความถ่วง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง แรงดึงดูดของโลกต่อเทหวัตถุ, แรงดึงดูดระหว่างกันของเทหวัตถุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gravity เขียนว่า จี-อา-เอ-วี-ไอ-ที-วาย. | ความถ่วง น. แรงดึงดูดของโลกต่อเทหวัตถุ, แรงดึงดูดระหว่างกันของเทหวัตถุ. (อ. gravity). |
ความถ่วงจำเพาะ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ | เป็นคำนาม หมายถึง อัตราส่วนของนํ้าหนักของเทหวัตถุกับนํ้าหนักของสารมาตรฐานที่มีปริมาตรเท่ากับเทหวัตถุนั้น โดยทั่วไปใช้นํ้าบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ ๔°ซ. เป็นสารมาตรฐาน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ specific เขียนว่า เอส-พี-อี-ซี-ไอ-เอฟ-ไอ-ซี gravity เขียนว่า จี-อา-เอ-วี-ไอ-ที-วาย . | ความถ่วงจำเพาะ น. อัตราส่วนของนํ้าหนักของเทหวัตถุกับนํ้าหนักของสารมาตรฐานที่มีปริมาตรเท่ากับเทหวัตถุนั้น โดยทั่วไปใช้นํ้าบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ ๔°ซ. เป็นสารมาตรฐาน. (อ. specific gravity). |
ความถี่ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก | ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน ๑ วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ ๕๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในสถิติ หมายถึง จํานวนคะแนนในกลุ่มของข้อมูลที่มีสมบัติเหมือนกัน. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ frequency เขียนว่า เอฟ-อา-อี-คิว-ยู-อี-เอ็น-ซี-วาย. | ความถี่ (ฟิสิกส์) น. จํานวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน ๑ วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ ๕๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล; (สถิติ) จํานวนคะแนนในกลุ่มของข้อมูลที่มีสมบัติเหมือนกัน. (อ. frequency). |
ความถี่วิทยุ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ | เป็นคำนาม หมายถึง ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุและโทรทัศน์ ขนาดตํ่าสุดตั้งแต่ ๑๐ ถึง ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ขนาดสูงสุดตั้งแต่ ๓๐,๐๐๐ ถึง ๓๐๐,๐๐๐ เมกะเฮิรตซ์. | ความถี่วิทยุ น. ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุและโทรทัศน์ ขนาดตํ่าสุดตั้งแต่ ๑๐ ถึง ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ขนาดสูงสุดตั้งแต่ ๓๐,๐๐๐ ถึง ๓๐๐,๐๐๐ เมกะเฮิรตซ์. |
ความโน้มถ่วง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-โอ-นอ-หนู-ไม้-โท-มอ-ม้า-ถอ-ถุง-ไม้-เอก-วอ-แหวน-งอ-งู | เป็นคำนาม หมายถึง กิริยาที่แรงดึงดูดของโลกกระทําต่อเทหวัตถุ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gravitation เขียนว่า จี-อา-เอ-วี-ไอ-ที-เอ-ที-ไอ-โอ-เอ็น. | ความโน้มถ่วง น. กิริยาที่แรงดึงดูดของโลกกระทําต่อเทหวัตถุ. (อ. gravitation). |
ความยาวคลื่น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-นอ-หนู | เป็นคำนาม หมายถึง ความยาวระหว่างจุดใดจุดหนึ่งบนคลื่นลูกหนึ่งไปยังจุดในตําแหน่งเดียวกันบนคลื่นลูกถัดไป. | ความยาวคลื่น น. ความยาวระหว่างจุดใดจุดหนึ่งบนคลื่นลูกหนึ่งไปยังจุดในตําแหน่งเดียวกันบนคลื่นลูกถัดไป. |
ความรู้ เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท | เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ; ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์; สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ; องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้เรื่องสุขภาพ. | ความรู้ น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ; ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์; สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ; องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้เรื่องสุขภาพ. |
ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-เอก-วอ-แหวน-มอ-ม้า-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก | ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีความรู้มากแต่ไม่รู้จักใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์. | ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด (สำ) ว. มีความรู้มากแต่ไม่รู้จักใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์. |
ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น ความรู้สึกเขื่อง เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-งอ-งู ความรู้สึกเด่น เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-นอ-หนู | (จิตวิทยา) น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าหรือดีเด่นกว่าผู้อื่น ความรู้สึกนี้ไม่จําเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สํานึก แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไขหรือได้รับการสนับสนุน เช่นในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ก็อาจเก็บสะสมไว้เกิดเป็นนิสัยของบุคคลนั้นได้. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ superiority เขียนว่า เอส-ยู-พี-อี-อา-ไอ-โอ-อา-ไอ-ที-วาย feeling เขียนว่า เอฟ-อี-อี-แอล-ไอ-เอ็น-จี ; ความเชื่อหรือความมั่นใจว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น. | ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น (จิตวิทยา) น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าหรือดีเด่นกว่าผู้อื่น ความรู้สึกนี้ไม่จําเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สํานึก แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไขหรือได้รับการสนับสนุน เช่นในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ก็อาจเก็บสะสมไว้เกิดเป็นนิสัยของบุคคลนั้นได้. (อ. superiority feeling); ความเชื่อหรือความมั่นใจว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น. |
ความรู้สึกช้า เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ. | ความรู้สึกช้า น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ. |
ความรู้สึกด้อย เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก | (จิตวิทยา) น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จําเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สํานึกและผู้นั้นไม่จําเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้; ความไม่เชื่อมั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ inferiority เขียนว่า ไอ-เอ็น-เอฟ-อี-อา-ไอ-โอ-อา-ไอ-ที-วาย feeling เขียนว่า เอฟ-อี-อี-แอล-ไอ-เอ็น-จี . | ความรู้สึกด้อย (จิตวิทยา) น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จําเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สํานึกและผู้นั้นไม่จําเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้; ความไม่เชื่อมั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. (อ. inferiority feeling). |
ความรู้สึกไว เขียนว่า คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-รอ-เรือ-สะ-หระ-อู-ไม้-โท-สอ-เสือ-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-วอ-แหวน | เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดีควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้. | ความรู้สึกไว น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดีควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้. |