เกรียก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่ ความหมายที่ [เกฺรียก] เป็นคำนาม หมายถึง ระยะยาวชั่วนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้กางออก เช่น ยาวแค่เกรียก.เกรียก ๒ [เกฺรียก] น. ระยะยาวชั่วนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้กางออก เช่น ยาวแค่เกรียก.
เกรียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [เกฺรียง] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือสําหรับใช้ในการถือปูน ทําด้วยไม้หรือเหล็กเป็นรูปแบน ๆ.เกรียง ๑ [เกฺรียง] น. เครื่องมือสําหรับใช้ในการถือปูน ทําด้วยไม้หรือเหล็กเป็นรูปแบน ๆ.
เกรียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [เกฺรียง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่, ยิ่ง, มาก, เช่น มีศัพท์สําเนียงเกรียงระงม. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.เกรียง ๒ [เกฺรียง] ว. ใหญ่, ยิ่ง, มาก, เช่น มีศัพท์สําเนียงเกรียงระงม. (ม. คำหลวง กุมาร).
เกรียงไกร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ[–ไกฺร] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใหญ่ยิ่ง.เกรียงไกร [–ไกฺร] ว. ใหญ่ยิ่ง.
เกรียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก[เกฺรียด] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงเขียดร้อง เช่น เสียงกรอดเกรียดเขียดกบเข้าขบเคี้ยว. ในวงเล็บ มาจาก นิราศเมืองเพชร ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๐.เกรียด [เกฺรียด] ว. เสียงเขียดร้อง เช่น เสียงกรอดเกรียดเขียดกบเข้าขบเคี้ยว. (นิ. เพชร).
เกรียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ [เกฺรียน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สั้นเกือบติดหนังหัว ผิวหนังหรือพื้นที่ เช่น ผมเกรียน หมาขนเกรียน หญ้าเกรียน.เกรียน ๑ [เกฺรียน] ว. สั้นเกือบติดหนังหัว ผิวหนังหรือพื้นที่ เช่น ผมเกรียน หมาขนเกรียน หญ้าเกรียน.
เกรียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ [เกฺรียน]ดู เลี่ยน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.เกรียน ๒ [เกฺรียน] ดู เลี่ยน ๑.
เกรียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ [เกฺรียน] เป็นคำนาม หมายถึง แป้งซึ่งนวดด้วยนํ้าร้อนแล้วไม่น่ายเป็นเม็ดปนอยู่ เม็ดนั้นเรียกว่า เกรียน; เรียกปลายข้าวขนาดเล็กว่า ข้าวปลายเกรียน.เกรียน ๓ [เกฺรียน] น. แป้งซึ่งนวดด้วยนํ้าร้อนแล้วไม่น่ายเป็นเม็ดปนอยู่ เม็ดนั้นเรียกว่า เกรียน; เรียกปลายข้าวขนาดเล็กว่า ข้าวปลายเกรียน.
เกรียบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-บอ-ไบ-ไม้[เกฺรียบ] เป็นคำนาม หมายถึง ตะกั่วที่ประสมโลหะบางอย่างเพื่อให้แข็ง เรียกว่า ตะกั่วเกรียบ; เรียกของกินทําด้วยข้าวเป็นแผ่น ๆ มีหลายอย่าง เช่น ข้าวเกรียบว่าว ข้าวเกรียบงา ข้าวเกรียบอ่อน.เกรียบ [เกฺรียบ] น. ตะกั่วที่ประสมโลหะบางอย่างเพื่อให้แข็ง เรียกว่า ตะกั่วเกรียบ; เรียกของกินทําด้วยข้าวเป็นแผ่น ๆ มีหลายอย่าง เช่น ข้าวเกรียบว่าว ข้าวเกรียบงา ข้าวเกรียบอ่อน.
เกรียม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[เกฺรียม] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกือบไหม้, ลักษณะอาการของสิ่งบางอย่างที่ถูกความร้อนมีไฟเป็นต้นเผาจนเปลี่ยนสีเป็นสีนํ้าตาลเป็นต้น เช่น ทอดปลาจนเกรียม ถูกแดดเผาจนหน้าเกรียม, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เป็นทุกข์จนหน้าเกรียม.เกรียม [เกฺรียม] ว. เกือบไหม้, ลักษณะอาการของสิ่งบางอย่างที่ถูกความร้อนมีไฟเป็นต้นเผาจนเปลี่ยนสีเป็นสีนํ้าตาลเป็นต้น เช่น ทอดปลาจนเกรียม ถูกแดดเผาจนหน้าเกรียม, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เป็นทุกข์จนหน้าเกรียม.
เกรียมกรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้เป็น กรมเกรียม เตรียมตรม หรือ ตรมเตรียม ก็ได้.เกรียมกรม ก. ระทมใจจนหม่นไหม้, ใช้เป็น กรมเกรียม เตรียมตรม หรือ ตรมเตรียม ก็ได้.
เกรียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน[เกฺรียว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว.เกรียว [เกฺรียว] ว. ลักษณะที่ต่อเนื่องกันมาก ๆ เป็นแถว ๆ เช่น มากันเกรียว, ลักษณะอาการที่เป็นอย่างเดียวพร้อม ๆ กัน เช่น ขนลุกเกรียว, เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง เช่น หมาเห่าเกรียว เล่นกันเกรียว.
เกรียวกราว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, โดยปริยายหมายความว่า ที่รู้และพูดกันทั่วไป เช่น เป็นข่าวเกรียวกราว.เกรียวกราว ว. เสียงเอ็ดอึงพร้อมกันหลาย ๆ เสียง, โดยปริยายหมายความว่า ที่รู้และพูดกันทั่วไป เช่น เป็นข่าวเกรียวกราว.
เกรี้ยว, เกรี้ยว ๆ เกรี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เกรี้ยว ๆ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ไม้-ยะ-มก [เกฺรี้ยว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่แสดงความเดือดดาลหรือโกรธมาก เช่น อนิจจามาร้องอยู่เกรี้ยว ๆ. ในวงเล็บ มาจาก บทละครครั้งกรุงเก่า เรื่องมโนห์รา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ.เกรี้ยว, เกรี้ยว ๆ [เกฺรี้ยว] ว. อาการที่แสดงความเดือดดาลหรือโกรธมาก เช่น อนิจจามาร้องอยู่เกรี้ยว ๆ. (มโนห์รา).
เกรี้ยวกราด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, กราดเกรี้ยว ก็ใช้.เกรี้ยวกราด ก. แสดงกิริยาท่าทางพร้อมทั้งดุด่าว่ากล่าวเป็นต้นอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ, กราดเกรี้ยว ก็ใช้.
เกรี้ยวโกรธ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธจัด, โกรธเกรี้ยว ก็ว่า.เกรี้ยวโกรธ ก. โกรธจัด, โกรธเกรี้ยว ก็ว่า.
เกเร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกกมะเหรก, มีนิสัยเป็นพาล ชอบแกล้งชอบรังแกและเอาเปรียบเขา, มักใช้เข้าคู่กับคํา พาล เป็น พาลเกเร.เกเร ว. เกกมะเหรก, มีนิสัยเป็นพาล ชอบแกล้งชอบรังแกและเอาเปรียบเขา, มักใช้เข้าคู่กับคํา พาล เป็น พาลเกเร.
เกเรเกตุง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เอางานเอาการ, ไม่เอาเรื่องเอาราว.เกเรเกตุง (ปาก) ว. ไม่เอางานเอาการ, ไม่เอาเรื่องเอาราว.
เกเรเกเส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ตรงไปตรงมา.เกเรเกเส (ปาก) ว. ไม่ตรงไปตรงมา.
เกล็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนที่เป็นแผ่น ๆ ซ้อนเหลื่อมกันห่อหุ้มตัวปลาและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด, สิ่งที่แข็งตัวเป็นแผ่นบาง ๆ คล้ายเกล็ดปลา เช่น เกล็ดพิมเสน นํ้าตาลขึ้นเกล็ด, โดยปริยายหมายความถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น บานเกล็ด ฝาเกล็ด เกล็ดเสื้อ. เป็นคำกริยา หมายถึง ขบให้เมล็ดแตกเพื่อกินเนื้อใน (ใช้แก่สิ่งที่เป็นเม็ดเล็ก ๆ) เช่น เกล็ดเมล็ดแตงโม นกเกล็ดข้าว, โดยปริยายหมายความว่าตัดเอาแต่ที่ดี ๆ เช่น เกล็ดไพ่.เกล็ด น. ส่วนที่เป็นแผ่น ๆ ซ้อนเหลื่อมกันห่อหุ้มตัวปลาและสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด, สิ่งที่แข็งตัวเป็นแผ่นบาง ๆ คล้ายเกล็ดปลา เช่น เกล็ดพิมเสน นํ้าตาลขึ้นเกล็ด, โดยปริยายหมายความถึงสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น บานเกล็ด ฝาเกล็ด เกล็ดเสื้อ. ก. ขบให้เมล็ดแตกเพื่อกินเนื้อใน (ใช้แก่สิ่งที่เป็นเม็ดเล็ก ๆ) เช่น เกล็ดเมล็ดแตงโม นกเกล็ดข้าว, โดยปริยายหมายความว่าตัดเอาแต่ที่ดี ๆ เช่น เกล็ดไพ่.
เกล็ดกระดี่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกอาการโรคที่เกิดขึ้นที่ตาเด็กว่า ตาเกล็ดกระดี่.เกล็ดกระดี่ ว. เรียกอาการโรคที่เกิดขึ้นที่ตาเด็กว่า ตาเกล็ดกระดี่.
เกล็ดกระโห้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมทําด้วยแป้ง นํ้าตาล ไข่ เป็นแผ่น ๆ คล้ายเกล็ดปลากระโห้ ผิงให้สุกกรอบ.เกล็ดกระโห้ น. ชื่อขนมทําด้วยแป้ง นํ้าตาล ไข่ เป็นแผ่น ๆ คล้ายเกล็ดปลากระโห้ ผิงให้สุกกรอบ.
เกล็ดนาค เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-คอ-ควาย เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายมีรูปเป็นครึ่งวงกลมซ้อนกันคล้ายเกล็ดปลา.เกล็ดนาค น. ชื่อลายมีรูปเป็นครึ่งวงกลมซ้อนกันคล้ายเกล็ดปลา.
เกล็ดเลือด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เม็ดเลือดขนาดเล็ก เล็กกว่าเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด.เกล็ดเลือด น. เม็ดเลือดขนาดเล็ก เล็กกว่าเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด.
เกล็ดถี่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอกดู นางเกล็ด เขียนว่า นอ-หนู-สะ-หระ-อา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก.เกล็ดถี่ ดู นางเกล็ด.
เกล็ดปลาช่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Phyllodium pulchellum (L.) Desv. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ช่อดอกยาว ดอกเล็กอยู่ภายในกาบรูปหอยแครงซึ่งประกบเรียงกันไปตามแนวก้านช่อดอก, ลิ่นต้น ก็เรียก.เกล็ดปลาช่อน น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Phyllodium pulchellum (L.) Desv. ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ช่อดอกยาว ดอกเล็กอยู่ภายในกาบรูปหอยแครงซึ่งประกบเรียงกันไปตามแนวก้านช่อดอก, ลิ่นต้น ก็เรียก.
เกล็ดหอย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง (๑) เทียนเกล็ดหอย. ในวงเล็บ ดู เทียนเกล็ดหอยที่ เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.(๒) ดู หญ้าเกล็ดหอย เขียนว่า หอ-หีบ-ยอ-หยิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก.เกล็ดหอย น. (๑) เทียนเกล็ดหอย. (ดู เทียนเกล็ดหอยที่ เทียน ๓).(๒) ดู หญ้าเกล็ดหอย.
เกลศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สอ-สา-ลา[กะเหฺลด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง กิเลส เช่น ตัดมูลเกลศมาร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เกลศ [กะเหฺลด] (แบบ) น. กิเลส เช่น ตัดมูลเกลศมาร. (ส.).
เกลอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง[เกฺลอ] เป็นคำนาม หมายถึง เพื่อนสนิท.เกลอ [เกฺลอ] น. เพื่อนสนิท.
เกลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[เกฺลา] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําสิ่งที่ยังขรุขระอยู่ให้เกลี้ยงหรือได้รูปทรงดีขึ้น เช่น เกลาไม้ไผ่, ทำให้ดีขึ้นหรือเรียบร้อยขึ้น เช่น เกลาสํานวนหนังสือ เกลานิสัย.เกลา [เกฺลา] ก. ทําสิ่งที่ยังขรุขระอยู่ให้เกลี้ยงหรือได้รูปทรงดีขึ้น เช่น เกลาไม้ไผ่, ทำให้ดีขึ้นหรือเรียบร้อยขึ้น เช่น เกลาสํานวนหนังสือ เกลานิสัย.
เกลากลึง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง งามเกลี้ยงเกลา, กลึงเกลา ก็ว่า.เกลากลึง ว. งามเกลี้ยงเกลา, กลึงเกลา ก็ว่า.
เกล้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา[เกฺล้า] เป็นคำนาม หมายถึง หัว (ใช้เฉพาะในโวหารแสดงความเคารพอย่างสูง) เช่น มารดาบังเกิดเกล้า. เป็นคำกริยา หมายถึง มุ่นผมให้เรียบร้อย เช่น เกล้าจุก เกล้ามวย.เกล้า [เกฺล้า] น. หัว (ใช้เฉพาะในโวหารแสดงความเคารพอย่างสูง) เช่น มารดาบังเกิดเกล้า. ก. มุ่นผมให้เรียบร้อย เช่น เกล้าจุก เกล้ามวย.
เกล้ากระผม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ผอ-ผึ้ง-มอ-ม้า เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมากหรือกับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, พูดสั้น ๆ ว่า เกล้า หรือเขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.เกล้ากระผม ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมากหรือกับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, พูดสั้น ๆ ว่า เกล้า หรือเขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
เกล้ากระหม่อม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย เพ็ดทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม, พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และสมเด็จพระสังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.เกล้ากระหม่อม ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย เพ็ดทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม, พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และสมเด็จพระสังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
เกลาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ[เกฺลาะ] เป็นคำกริยา หมายถึง พูดเลียบเคียง เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔, ใช้ว่า เกราะ ก็มี เช่น อย่าคําเพราะเกราะกล่าวเจรจา. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑.เกลาะ [เกฺลาะ] ก. พูดเลียบเคียง เช่น ใช่จะแกล้งกล่าวเกลาะให้เพราะพริ้ง. (อิเหนา), ใช้ว่า เกราะ ก็มี เช่น อย่าคําเพราะเกราะกล่าวเจรจา. (รามเกียรติ์ ร. ๑).
เกลี่ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก[เกฺลี่ย] เป็นคำกริยา หมายถึง กระจายของออกไปให้เสมอกัน.เกลี่ย [เกฺลี่ย] ก. กระจายของออกไปให้เสมอกัน.
เกลี่ยไกล่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดจาให้ตกลงกัน, พูดให้ปรองดองกัน; ทําให้เรียบร้อย, ทําให้มีส่วนเสมอกัน, ไกล่เกลี่ย ก็ว่า.เกลี่ยไกล่ ก. พูดจาให้ตกลงกัน, พูดให้ปรองดองกัน; ทําให้เรียบร้อย, ทําให้มีส่วนเสมอกัน, ไกล่เกลี่ย ก็ว่า.
เกลี้ย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก[เกฺลี้ย] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำกริยา หมายถึง ชักชวน, ทําให้ไล่เลี่ยกัน, เช่น เกลี้ยกระมลบันโดย. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือลิลิตตะเลงพ่าย แบบเรียนกวีนิพนธ์.เกลี้ย [เกฺลี้ย] (แบบ) ก. ชักชวน, ทําให้ไล่เลี่ยกัน, เช่น เกลี้ยกระมลบันโดย. (ตะเลงพ่าย).
เกลี้ยกล่อม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง ชักชวนจูงใจให้ร่วมพวก, พูดจูงใจให้คล้อยตามหรือปฏิบัติตาม.เกลี้ยกล่อม ก. ชักชวนจูงใจให้ร่วมพวก, พูดจูงใจให้คล้อยตามหรือปฏิบัติตาม.
เกลียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู[เกฺลียง] เป็นคำนาม หมายถึง หญ้า เช่น เกลียงอ่อนห่อนโคลด ละไว้. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง.เกลียง [เกฺลียง] น. หญ้า เช่น เกลียงอ่อนห่อนโคลด ละไว้. (โลกนิติ).
เกลี้ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [เกฺลี้ยง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียบ ๆ ไม่ขรุขระหรือไม่มีลวดลาย; หมดไม่มีเหลือไม่มีอะไรติดอยู่ เช่น หมดเกลี้ยงกินเสียเกลี้ยง.เกลี้ยง ๑ [เกฺลี้ยง] ว. เรียบ ๆ ไม่ขรุขระหรือไม่มีลวดลาย; หมดไม่มีเหลือไม่มีอะไรติดอยู่ เช่น หมดเกลี้ยงกินเสียเกลี้ยง.
เกลี้ยงเกลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หมดจดหรือเรียบร้อย เช่น หน้าตาเกลี้ยงเกลา หนังสือเล่มนี้สํานวนเกลี้ยงเกลา.เกลี้ยงเกลา ว. หมดจดหรือเรียบร้อย เช่น หน้าตาเกลี้ยงเกลา หนังสือเล่มนี้สํานวนเกลี้ยงเกลา.
เกลี้ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส้มเกลี้ยง. ในวงเล็บ ดู ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.เกลี้ยง ๒ น. ส้มเกลี้ยง. (ดู ส้ม ๑).
เกลียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก[เกฺลียด] เป็นคำกริยา หมายถึง ชัง, รังเกียจมาก, ไม่ชอบจนรู้สึกไม่อยากพบอยากเห็นเป็นต้น, บางทีใช้คู่กับคํา ชัง ว่าเกลียดชัง.เกลียด [เกฺลียด] ก. ชัง, รังเกียจมาก, ไม่ชอบจนรู้สึกไม่อยากพบอยากเห็นเป็นต้น, บางทีใช้คู่กับคํา ชัง ว่าเกลียดชัง.
เกลียดตัวกินไข่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เกลียดตัวเขา แต่อยากได้ผลประโยชน์จากเขา, มักใช้เข้าคู่กับ เกลียดปลาไหลกินนํ้าแกง ว่า เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินนํ้าแกง.เกลียดตัวกินไข่ (สำ) ก. เกลียดตัวเขา แต่อยากได้ผลประโยชน์จากเขา, มักใช้เข้าคู่กับ เกลียดปลาไหลกินนํ้าแกง ว่า เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินนํ้าแกง.
เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง เกลียดตัวเขา แต่อยากได้ผลประโยชน์จากเขา, มักใช้เข้าคู่กับ เกลียดตัวกินไข่ ว่า เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินนํ้าแกง.เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง (สำ) ก. เกลียดตัวเขา แต่อยากได้ผลประโยชน์จากเขา, มักใช้เข้าคู่กับ เกลียดตัวกินไข่ ว่า เกลียดตัวกินไข่ เกลียดปลาไหลกินนํ้าแกง.
เกลียว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน[เกฺลียว] เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่มีลักษณะเป็นรอยพันหรือบิดโดยรอยต่อเนื่องอย่างสว่าน หรือตะปูควงหรือเชือกที่ฟั่นเป็นต้น, ลักษณะของเชือกที่ฟั่น. เป็นคำกริยา หมายถึง กิริยาที่หมุนบิดให้เชือกเขม็งขึ้น เรียกว่า ตีเกลียว, ถ้าเอาเชือก ๒ เส้นฟั่นควบเป็นเส้นเดียวกัน แล้วเอาเชือกเส้นที่ ๓ ซึ่งเขม็งแล้ว ควบเข้าไประหว่างเชือก ๒ เส้นนั้น โดยคลายเกลียวที่ปลายเชือก ๒ เส้นแรกเล็กน้อยเพื่อให้เชือกเส้นที่ ๓ สอดควบเข้าด้วยกันได้จนตลอดเรียกว่า สับเกลียว หรือ สับเชือก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน เรียกว่า ปีนเกลียว.เกลียว [เกฺลียว] น. สิ่งที่มีลักษณะเป็นรอยพันหรือบิดโดยรอยต่อเนื่องอย่างสว่าน หรือตะปูควงหรือเชือกที่ฟั่นเป็นต้น, ลักษณะของเชือกที่ฟั่น. ก. กิริยาที่หมุนบิดให้เชือกเขม็งขึ้น เรียกว่า ตีเกลียว, ถ้าเอาเชือก ๒ เส้นฟั่นควบเป็นเส้นเดียวกัน แล้วเอาเชือกเส้นที่ ๓ ซึ่งเขม็งแล้ว ควบเข้าไประหว่างเชือก ๒ เส้นนั้น โดยคลายเกลียวที่ปลายเชือก ๒ เส้นแรกเล็กน้อยเพื่อให้เชือกเส้นที่ ๓ สอดควบเข้าด้วยกันได้จนตลอดเรียกว่า สับเกลียว หรือ สับเชือก. ว. โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน เรียกว่า ปีนเกลียว.
เกลียวกลม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-มอ-ม้า เป็นคำกริยา หมายถึง กลมเกลียว.เกลียวกลม ก. กลมเกลียว.
เกลียวข้าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กล้ามเนื้อที่สีข้าง.เกลียวข้าง น. กล้ามเนื้อที่สีข้าง.
เกลียวคอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง กล้ามเนื้อที่คอ สําหรับทําให้เอี้ยวคอได้สะดวก.เกลียวคอ น. กล้ามเนื้อที่คอ สําหรับทําให้เอี้ยวคอได้สะดวก.
เกลียวหวาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เกลียวของนอตเป็นต้นที่ชำรุดไม่กินเกลียวกัน.เกลียวหวาน น. เกลียวของนอตเป็นต้นที่ชำรุดไม่กินเกลียวกัน.
เกลี่ยวดำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ[เกฺลี่ยว–] เป็นคำนาม หมายถึง โรคเปลี่ยวดํา.เกลี่ยวดำ [เกฺลี่ยว–] น. โรคเปลี่ยวดํา.
เกลือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง[เกฺลือ] เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุที่มีรสเค็ม ใช้ประกอบอาหารเป็นต้น โดยทั่วไปได้มาจากนํ้าทะเล, เกลือสมุทร ก็เรียก; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด.เกลือ [เกฺลือ] น. วัตถุที่มีรสเค็ม ใช้ประกอบอาหารเป็นต้น โดยทั่วไปได้มาจากนํ้าทะเล, เกลือสมุทร ก็เรียก; (วิทยา) สารประกอบซึ่งประกอบด้วยโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะกับอนุมูลกรด.
เกลือกรด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ acid เขียนว่า เอ-ซี-ไอ-ดี salt เขียนว่า เอส-เอ-แอล-ที .เกลือกรด (เคมี) น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรด ถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่ไม่หมด เช่น โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต (NaHSO4). (อ. acid salt).
เกลือแกง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ มีมากในนํ้าทะเล ใช้ปรุงอาหาร ทําเครื่องดองเค็ม, เมื่ออยู่ในสภาพบริสุทธิ์ที่สุด ใช้ละลายในนํ้ากลั่น เรียกว่า นํ้าเกลือ สําหรับให้ผู้ป่วยโดยให้ทางเส้นเลือด ใช้ในอุตสาหกรรมทําสบู่ อุตสาหกรรมผลิตโซดาแผดเผา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ common เขียนว่า ซี-โอ-เอ็ม-เอ็ม-โอ-เอ็น salt เขียนว่า เอส-เอ-แอล-ที .เกลือแกง น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ มีมากในนํ้าทะเล ใช้ปรุงอาหาร ทําเครื่องดองเค็ม, เมื่ออยู่ในสภาพบริสุทธิ์ที่สุด ใช้ละลายในนํ้ากลั่น เรียกว่า นํ้าเกลือ สําหรับให้ผู้ป่วยโดยให้ทางเส้นเลือด ใช้ในอุตสาหกรรมทําสบู่ อุตสาหกรรมผลิตโซดาแผดเผา. (อ. common salt).
เกลือเงิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-งอ-งู-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อซิลเวอร์ไนเทรต (AgNO3) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ อุตสาหกรรมชุบโลหะให้เป็นเงิน.เกลือเงิน น. เกลือปรกติชนิดหนึ่งชื่อซิลเวอร์ไนเทรต (AgNO3) ลักษณะเป็นผลึกสีขาวละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ อุตสาหกรรมชุบโลหะให้เป็นเงิน.
เกลือจิ้มเกลือ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่ยอมเสียเปรียบกัน, แก้เผ็ดให้สาสมกัน. เป็นคำนาม หมายถึง คนเค็มต่อคนเค็มมาพบกัน.เกลือจิ้มเกลือ (สำ) ว. ไม่ยอมเสียเปรียบกัน, แก้เผ็ดให้สาสมกัน. น. คนเค็มต่อคนเค็มมาพบกัน.
เกลือจืด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-จอ-จาน-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่ตกผลึกก่อนเกลือชนิดอื่น ๆ ในการทํานาเกลือ มีปนอยู่กับเกลือที่ใช้ในการปรุงอาหารเสมอ ไม่มีรส หรือ เกลือที่ได้จากการเผายิปซัม, ยิปซัม หรือ หินฟองเต้าหู้ ก็เรียก.เกลือจืด น. เกลือที่ตกผลึกก่อนเกลือชนิดอื่น ๆ ในการทํานาเกลือ มีปนอยู่กับเกลือที่ใช้ในการปรุงอาหารเสมอ ไม่มีรส หรือ เกลือที่ได้จากการเผายิปซัม, ยิปซัม หรือ หินฟองเต้าหู้ ก็เรียก.
เกลือด่าง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เกลือเบสิก.เกลือด่าง น. เกลือเบสิก.
เกลือด่างคลี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเกลือชนิดหนึ่งในตํารายาไทย.เกลือด่างคลี น. ชื่อเกลือชนิดหนึ่งในตํารายาไทย.
เกลือเบสิก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่เกิดขึ้นโดยอนุมูลกรดเข้าไปแทนที่หมู่ไฮดรอกซิล (OH) ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของเบสไม่หมด เช่น เลดไฮดรอกซีคลอไรด์ [Pb(OH)Cl], เกลือด่าง ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ basic เขียนว่า บี-เอ-เอส-ไอ-ซี salt เขียนว่า เอส-เอ-แอล-ที .เกลือเบสิก (เคมี) น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยอนุมูลกรดเข้าไปแทนที่หมู่ไฮดรอกซิล (OH) ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของเบสไม่หมด เช่น เลดไฮดรอกซีคลอไรด์ [Pb(OH)Cl], เกลือด่าง ก็ว่า. (อ. basic salt).
เกลือปรกติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในเคมี เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ normal เขียนว่า เอ็น-โอ-อา-เอ็ม-เอ-แอล salt เขียนว่า เอส-เอ-แอล-ที .เกลือปรกติ (เคมี) น. เกลือที่เกิดขึ้นโดยธาตุไฮโดรเจนชนิดที่แปรสภาพเป็นไอออนได้ ซึ่งมีอยู่ในโมเลกุลของกรดถูกโลหะหรือหมู่ธาตุที่เทียบเท่าโลหะเข้ามาแทนที่จนหมดสิ้น เช่น โซเดียมซัลเฟต (Na2SO4). (อ. normal salt).
เกลือเป็นหนอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ปอ-ปลา-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ญาติมิตร สามีภรรยา บุตรธิดา เพื่อนร่วมงาน หรือคนในบ้าน คิดคดทรยศ, ไส้เป็นหนอน ก็ว่า.เกลือเป็นหนอน (สำ) น. ญาติมิตร สามีภรรยา บุตรธิดา เพื่อนร่วมงาน หรือคนในบ้าน คิดคดทรยศ, ไส้เป็นหนอน ก็ว่า.
เกลือฟอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ฟอ-ฟัน-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเกลือชนิดหนึ่งในตํารายาไทย.เกลือฟอง น. ชื่อเกลือชนิดหนึ่งในตํารายาไทย.
เกลือยูเรต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-รอ-เรือ-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เกลือของกรดยูริก.เกลือยูเรต น. เกลือของกรดยูริก.
เกลือสมุทร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่ได้จากนํ้าทะเล.เกลือสมุทร น. เกลือที่ได้จากนํ้าทะเล.
เกลือสินเธาว์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เกลือที่ได้จากดินเค็ม.เกลือสินเธาว์ น. เกลือที่ได้จากดินเค็ม.
เกลื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง[เกฺลื้อ] เป็นคำกริยา หมายถึง เกลือก, เกลี้ย, กลั้ว, ระคน, เจือ.เกลื้อ [เกฺลื้อ] ก. เกลือก, เกลี้ย, กลั้ว, ระคน, เจือ.
เกลือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ [เกฺลือก] เป็นคำกริยา หมายถึง กลิ้งหรือเสือกตัวไปมา เช่น เกลือกตม เกลือกฝุ่น, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งทําเช่นนั้นเพื่อให้สิ่งอื่นติด เช่น เอาขนมเกลือกงา.เกลือก ๑ [เกฺลือก] ก. กลิ้งหรือเสือกตัวไปมา เช่น เกลือกตม เกลือกฝุ่น, เอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งทําเช่นนั้นเพื่อให้สิ่งอื่นติด เช่น เอาขนมเกลือกงา.
เกลือกกลั้ว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง คบหาสมาคม, คลุกคลี, เช่น เกลือกกลั้วกับคนพาล; ทําให้มัวหมอง, ทําให้มีมลทิน, เช่น ไม่มีอะไรมาเกลือกกลั้ว.เกลือกกลั้ว ก. คบหาสมาคม, คลุกคลี, เช่น เกลือกกลั้วกับคนพาล; ทําให้มัวหมอง, ทําให้มีมลทิน, เช่น ไม่มีอะไรมาเกลือกกลั้ว.
เกลือกกลิ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง กลิ้งหรือเสือกตัวไปมา เช่น นอนเกลือกกลิ้งอยู่บนที่นอน, เกลือก ก็ว่า; พยายามกระเสือกกระสนไปตามมีตามได้หรือด้วยความทุกข์ทรมาน เช่น นอนเกลือกกลิ้งไปมาด้วยความทุรนทุราย, กลิ้งเกลือก ก็ว่า.เกลือกกลิ้ง ก. กลิ้งหรือเสือกตัวไปมา เช่น นอนเกลือกกลิ้งอยู่บนที่นอน, เกลือก ก็ว่า; พยายามกระเสือกกระสนไปตามมีตามได้หรือด้วยความทุกข์ทรมาน เช่น นอนเกลือกกลิ้งไปมาด้วยความทุรนทุราย, กลิ้งเกลือก ก็ว่า.
เกลือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ความหมายที่ [เกฺลือก] เป็นคำกริยา หมายถึง เกรง. เป็นคำสันธาน หมายถึง หาก, ถ้า, แม้, บางที, เผื่อว่า, มักใช้ว่า เกลือกว่า เช่น แม่อย่าสามานย์ด้วยวาจา มันจะตามถ้อยคำเข้ามาประสมประสาน เกลือกว่าเหยื่อมันสาธารณ์แม่จะอดสู. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.เกลือก ๒ [เกฺลือก] ก. เกรง. สัน. หาก, ถ้า, แม้, บางที, เผื่อว่า, มักใช้ว่า เกลือกว่า เช่น แม่อย่าสามานย์ด้วยวาจา มันจะตามถ้อยคำเข้ามาประสมประสาน เกลือกว่าเหยื่อมันสาธารณ์แม่จะอดสู. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
เกลื้อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู[เกฺลื้อน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคผิวหนังเกิดจากเชื้อรา (Malassezia furfur) ขึ้นเป็นดวงขาว ๆ อาจมีอาการคัน, ขี้เกลื้อน ก็ว่า.เกลื้อน [เกฺลื้อน] น. ชื่อโรคผิวหนังเกิดจากเชื้อรา (Malassezia furfur) ขึ้นเป็นดวงขาว ๆ อาจมีอาการคัน, ขี้เกลื้อน ก็ว่า.
เกลื่อน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ความหมายที่ [เกฺลื่อน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรี่ยรายหรือกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป เช่น ลอยเกลื่อน หล่นเกลื่อน. เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้ยุบหรือราบลง เช่น เกลื่อนที่ เกลื่อนฝี.เกลื่อน ๑ [เกฺลื่อน] ว. เรี่ยรายหรือกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป เช่น ลอยเกลื่อน หล่นเกลื่อน. ก. ทําให้ยุบหรือราบลง เช่น เกลื่อนที่ เกลื่อนฝี.
เกลื่อนกล่น, เกลื่อนกลาด เกลื่อนกล่น เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-นอ-หนู เกลื่อนกลาด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกลื่อน.เกลื่อนกล่น, เกลื่อนกลาด ว. เกลื่อน.
เกลื่อน ๒, เกลื่อนความ เกลื่อน ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เกลื่อนความ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-คอ-ควาย-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า [เกฺลื่อน] เป็นคำกริยา หมายถึง เสความ.เกลื่อน ๒, เกลื่อนความ [เกฺลื่อน] ก. เสความ.
เกไล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ลักษณะนุ่งผ้าแบบหนึ่งสําหรับขี่ช้างเช่นช้างนํ้ามัน. ในวงเล็บ มาจาก ตำราขี่ช้าง ครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕.เกไล (โบ) น. ลักษณะนุ่งผ้าแบบหนึ่งสําหรับขี่ช้างเช่นช้างนํ้ามัน. (ตําราขี่ช้าง).
เกวัฏ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-ปะ-ตัก[เกวัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ชาวประมง, พรานเบ็ด, พรานแห, พรานปลา. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี เกวฏฺฏ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ตอ-ปะ-ตัก.เกวัฏ [เกวัด] (แบบ) น. ชาวประมง, พรานเบ็ด, พรานแห, พรานปลา. (ป. เกวฏฺฏ).
เกวียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู[เกฺวียน] เป็นคำนาม หมายถึง ยานชนิดหนึ่ง มีล้อ ๒ ล้อ ใช้ควายหรือวัวเทียม, ลักษณนามว่า เล่ม; ชื่อมาตราตวง ๘๐ สัด หรือ ๑๐๐ ถัง เป็น ๑ เกวียน.เกวียน [เกฺวียน] น. ยานชนิดหนึ่ง มีล้อ ๒ ล้อ ใช้ควายหรือวัวเทียม, ลักษณนามว่า เล่ม; ชื่อมาตราตวง ๘๐ สัด หรือ ๑๐๐ ถัง เป็น ๑ เกวียน.
เกวียนหลวง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง มาตราตวงตามแบบราชการ มีอัตราเท่ากับ ๒,๐๐๐ ลิตร หรือ ๒ กิโลลิตร, อักษรย่อว่า กว.เกวียนหลวง น. มาตราตวงตามแบบราชการ มีอัตราเท่ากับ ๒,๐๐๐ ลิตร หรือ ๒ กิโลลิตร, อักษรย่อว่า กว.
เกศ, เกศ– เกศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา เกศ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา [เกด, เกดสะ–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผม, ในบทกลอนใช้หมายถึง หัว ก็มี เช่น ก้มเกศ.เกศ, เกศ– [เกด, เกดสะ–] (แบบ) น. ผม, ในบทกลอนใช้หมายถึง หัว ก็มี เช่น ก้มเกศ.
เกศธาตุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ เป็นคำนาม หมายถึง ผม (มักใช้ทางศาสนา) เช่น พระเกศธาตุ หมายถึง พระเกศาของพระพุทธเจ้า.เกศธาตุ น. ผม (มักใช้ทางศาสนา) เช่น พระเกศธาตุ หมายถึง พระเกศาของพระพุทธเจ้า.
เกศพ, เกศวะ เกศพ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-พอ-พาน เกศวะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-วอ-แหวน-สะ-หระ-อะ [–สบ, เกสะวะ] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้มีผมงาม, ใช้เป็นนามของพระนารายณ์หรือพระกฤษณะซึ่งเป็นอวตารปางหนึ่งของพระนารายณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เกศพ, เกศวะ [–สบ, เกสะวะ] ว. ผู้มีผมงาม, ใช้เป็นนามของพระนารายณ์หรือพระกฤษณะซึ่งเป็นอวตารปางหนึ่งของพระนารายณ์. (ส.).
เกศา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง หัว; ผม.เกศา (กลอน) น. หัว; ผม.
เกศากันต์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำกริยา หมายถึง ตัดจุก, โกนจุก, (ใช้เฉพาะเจ้านายชั้นหม่อมเจ้า).เกศากันต์ ก. ตัดจุก, โกนจุก, (ใช้เฉพาะเจ้านายชั้นหม่อมเจ้า).
เกศินี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง นางผู้มีผมงาม เช่น โฉมแก้วเกศินีนาฏ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เกศินี น. นางผู้มีผมงาม เช่น โฉมแก้วเกศินีนาฏ. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). (ส.).
เกศี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง หัว; ผม.เกศี (กลอน) น. หัว; ผม.
เกษตร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ[กะเสด] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ดิน, ทุ่ง, นา, ไร่; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง แดน เช่น พุทธเกษตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เกฺษตฺร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี เขตฺต เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า.เกษตร [กะเสด] น. ที่ดิน, ทุ่ง, นา, ไร่; (โบ) แดน เช่น พุทธเกษตร. (ส. เกฺษตฺร; ป. เขตฺต).
เกษตรกร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ[กะเสดตฺระกอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ทําเกษตรกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เกษตรกร [กะเสดตฺระกอน] น. ผู้ทําเกษตรกรรม. (ส.).
เกษตรกรรม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-รอ-เรือ-มอ-ม้า[กะเสดตฺระกํา] เป็นคำนาม หมายถึง การใช้ที่ดินเพาะปลูกพืชต่าง ๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การประมง และการป่าไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .เกษตรกรรม [กะเสดตฺระกํา] น. การใช้ที่ดินเพาะปลูกพืชต่าง ๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การประมง และการป่าไม้. (ส.).
เกษตรและสหกรณ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-หอ-หีบ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-เนน-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์.เกษตรและสหกรณ์ น. ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์.
เกษตรศาสตร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-ตอ-เต่า-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[กะเสดตฺระสาด] เป็นคำนาม หมายถึง วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เกฺษตฺร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ + ศาสฺตฺร เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-รอ-เรือ = วิชา .เกษตรศาสตร์ [กะเสดตฺระสาด] น. วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. (ส. เกฺษตฺร + ศาสฺตฺร = วิชา).
เกษม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า[กะเสม] เป็นคำนาม หมายถึง ความสุขสบาย, ความปลอดภัย, มักใช้เข้าคู่กับคําอื่น เช่น สุขเกษม เกษมศานต์. (โบ เขียนเป็นกระเษม, เขษม ก็มี). ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต และมาจากภาษาบาลี เขม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า.เกษม [กะเสม] น. ความสุขสบาย, ความปลอดภัย, มักใช้เข้าคู่กับคําอื่น เช่น สุขเกษม เกษมศานต์. (โบ เขียนเป็นกระเษม, เขษม ก็มี). (ส.; ป. เขม).
เกษมศานต์, เกษมสันต์ เกษมศานต์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เกษมสันต์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โปร่งอารมณ์, ชื่นชมยินดี. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เกฺษม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า + ศานฺต เขียนว่า สอ-สา-ลา-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า ภาษาสันสกฤต เกฺษม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า + ภาษาบาลี สนฺต เขียนว่า สอ-เสือ-นอ-หนู-พิน-ทุ-ตอ-เต่า .เกษมศานต์, เกษมสันต์ ว. โปร่งอารมณ์, ชื่นชมยินดี. (ส. เกฺษม + ศานฺต, ส. เกฺษม + ป. สนฺต).
เกษียณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-เนน[กะเสียน] เป็นคำกริยา หมายถึง สิ้นไป (ใช้เกี่ยวกับการกําหนดอายุ) เช่น เกษียณอายุราชการ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กฺษีณ เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-นอ-เนน และมาจากภาษาบาลี ขีณ เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-นอ-เนน.เกษียณ [กะเสียน] ก. สิ้นไป (ใช้เกี่ยวกับการกําหนดอายุ) เช่น เกษียณอายุราชการ. (ส. กฺษีณ; ป. ขีณ).
เกษียณอายุ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-เนน-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ[กะเสียน–] เป็นคำกริยา หมายถึง ครบกําหนดอายุรับราชการ, สิ้นกําหนดเวลารับราชการหรือการทํางาน, พูดสั้น ๆ ว่า เกษียณ ก็มี.เกษียณอายุ [กะเสียน–] ก. ครบกําหนดอายุรับราชการ, สิ้นกําหนดเวลารับราชการหรือการทํางาน, พูดสั้น ๆ ว่า เกษียณ ก็มี.
เกษียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู[กะเสียน] เป็นคำนาม หมายถึง ข้อความที่เขียนแทรกไว้เช่นในใบลาน, ข้อความที่เขียนไว้บนหัวกระดาษคําสั่ง หรือหนังสือราชการ เรียกว่า หัวเกษียน. เป็นคำกริยา หมายถึง เขียน. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เล็กน้อย. (แผลงมาจาก เขียน).เกษียน [กะเสียน] น. ข้อความที่เขียนแทรกไว้เช่นในใบลาน, ข้อความที่เขียนไว้บนหัวกระดาษคําสั่ง หรือหนังสือราชการ เรียกว่า หัวเกษียน. ก. เขียน. ว. เล็กน้อย. (แผลงมาจาก เขียน).
เกษียร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ[กะเสียน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง นํ้านม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กฺษีร เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ และมาจากภาษาบาลี .เกษียร [กะเสียน] (แบบ) น. นํ้านม. (ส. กฺษีร; ป.ขีร).
เกษียรสมุทร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ทะเลนํ้านม, ที่ประทับของพระนารายณ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กฺษีร เขียนว่า กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ + สมุทฺร เขียนว่า สอ-เสือ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน-พิน-ทุ-รอ-เรือ .เกษียรสมุทร น. ทะเลนํ้านม, ที่ประทับของพระนารายณ์. (ส. กฺษีร + สมุทฺร).
เกส, เกสา, เกสี เกส เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ เกสา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา เกสี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง เกศ, เกศา, เกศี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เกส, เกสา, เกสี น. เกศ, เกศา, เกศี. (ป.).
เกสร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ[–สอน] เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนในของดอกไม้โดยมากเป็นเส้น ๆ เช่น เกสรบัว, เรณูหรือผงเหลืองที่มีอยู่ในดอกไม้ ติดอยู่กับก้านเกสรก็มี ติดกับเมล็ดเกาะอยู่กับดอกก็มี, ส่วนสืบพันธุ์ของดอกไม้; ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป หมายถึง ขนสร้อยคอสิงโต เช่น เกสรสร้อยศอดังผ้ารัตกัมพล. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์มหาพน ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เกสร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ เกศร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ .เกสร [–สอน] น. ส่วนในของดอกไม้โดยมากเป็นเส้น ๆ เช่น เกสรบัว, เรณูหรือผงเหลืองที่มีอยู่ในดอกไม้ ติดอยู่กับก้านเกสรก็มี ติดกับเมล็ดเกาะอยู่กับดอกก็มี, ส่วนสืบพันธุ์ของดอกไม้; (แบบ) ขนสร้อยคอสิงโต เช่น เกสรสร้อยศอดังผ้ารัตกัมพล. (ม. ร่ายยาว มหาพน). (ป.; ส. เกสร, เกศร).
เกสรทั้งห้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-งอ-งู-หอ-หีบ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เกสรดอกไม้ ๕ ชนิด มี เกสรดอกพิกุล เกสรดอกบุนนาค เกสรดอกสารภี เกสรดอกบัวหลวง เกสรดอกมะลิ.เกสรทั้งห้า น. เกสรดอกไม้ ๕ ชนิด มี เกสรดอกพิกุล เกสรดอกบุนนาค เกสรดอกสารภี เกสรดอกบัวหลวง เกสรดอกมะลิ.
เกสรี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี[เกสะรี, เกดสะรี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สิงโต, สิงห์, ราชสีห์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .เกสรี [เกสะรี, เกดสะรี] (แบบ) น. สิงโต, สิงห์, ราชสีห์. (ป.).
เก้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แสดงสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทําอะไรผิดพลาดไป เช่น ทําหน้าเก้อ, รู้สึกผิดคาดผิดหวัง เช่น ไปเก้อ คอยเก้อ, ผิดแผกไปจากผู้อื่นเขาหรือแต่งตัวรอจะไปงานแล้วไม่ได้ไป เช่น แต่งตัวเก้อ; กระดาก, อาย, เช่น ทําแก้เก้อ; ขัดเขินหรือค้างอยู่เพราะไม่เข้ากัน ไม่รับกัน เช่น รําเก้อ เรือนหลังนี้ทําไม่ได้ส่วนดูเก้อ ข้อความที่เขียนไว้เก้อไม่รับกัน.เก้อ ว. แสดงสีหน้าเจื่อนเพราะรู้สึกผิดคาดหรือทําอะไรผิดพลาดไป เช่น ทําหน้าเก้อ, รู้สึกผิดคาดผิดหวัง เช่น ไปเก้อ คอยเก้อ, ผิดแผกไปจากผู้อื่นเขาหรือแต่งตัวรอจะไปงานแล้วไม่ได้ไป เช่น แต่งตัวเก้อ; กระดาก, อาย, เช่น ทําแก้เก้อ; ขัดเขินหรือค้างอยู่เพราะไม่เข้ากัน ไม่รับกัน เช่น รําเก้อ เรือนหลังนี้ทําไม่ได้ส่วนดูเก้อ ข้อความที่เขียนไว้เก้อไม่รับกัน.
เก้อเขิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อาการที่วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย.เก้อเขิน ว. อาการที่วางหน้าไม่สนิท, รู้สึกกระดากอาย.
เกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สั้น เช่น ควายเขาเกะแค่หู. ในวงเล็บ มาจาก เรื่องพระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉบับพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๖๓.เกะ ว. สั้น เช่น ควายเขาเกะแค่หู. (สิบสองเดือน).
เกะกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กีด, ขวาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น วางของเกะกะ; ประพฤติเป็นพาลเกเร เช่น คนเกะกะ.เกะกะ ว. กีด, ขวาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น วางของเกะกะ; ประพฤติเป็นพาลเกเร เช่น คนเกะกะ.
เกา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเล็บหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายเล็บครูดผิวหนังเพื่อให้หายคันเป็นต้น, อาการที่สมอเรือครูดไปตามพื้นท้องน้ำ ไม่ยึดอยู่กับที่.เกา ก. เอาเล็บหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายเล็บครูดผิวหนังเพื่อให้หายคันเป็นต้น, อาการที่สมอเรือครูดไปตามพื้นท้องน้ำ ไม่ยึดอยู่กับที่.
เกาสมอ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-มอ-ม้า-ออ-อ่าง เป็นคำกริยา หมายถึง ลากสมอครูดไปตามพื้นท้องน้ำ โดยเฉพาะในขณะที่กำลังกว้านสมอขึ้นเก็บ.เกาสมอ ก. ลากสมอครูดไปตามพื้นท้องน้ำ โดยเฉพาะในขณะที่กำลังกว้านสมอขึ้นเก็บ.
เก่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ก่อน เช่น ครูคนเก่า กรรมเก่า; ไม่ใหม่ เช่น ผ้าเก่า ของเก่า, คํานี้เมื่อใช้ประกอบกับคําอื่น ๆ มีความหมายต่าง ๆ กัน แล้วแต่คําที่นํามาประกอบ เช่น มือเก่า หมายถึง ชํานาญ, หัวเก่า หมายถึง ครึ ไม่ทันสมัย, รถเก่า หมายถึง รถที่ใช้แล้ว.เก่า ว. ก่อน เช่น ครูคนเก่า กรรมเก่า; ไม่ใหม่ เช่น ผ้าเก่า ของเก่า, คํานี้เมื่อใช้ประกอบกับคําอื่น ๆ มีความหมายต่าง ๆ กัน แล้วแต่คําที่นํามาประกอบ เช่น มือเก่า หมายถึง ชํานาญ, หัวเก่า หมายถึง ครึ ไม่ทันสมัย, รถเก่า หมายถึง รถที่ใช้แล้ว.
เก้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง จํานวนแปดบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๙ ตกในราวเดือนสิงหาคม.เก้า น. จํานวนแปดบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๙ ตกในราวเดือนสิงหาคม.
เก๋า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลหลายชนิดในวงศ์ Serranidae ที่มีสีต่าง ๆ เป็นแต้ม ด่าง ดวง ลาย หรือจุดประคลํ้าทึบ เช่น ตุ๊กแก (Epinephelus salmoides) หมอทะเล (Promicrops lanceolatus).เก๋า น. ชื่อปลาทะเลหลายชนิดในวงศ์ Serranidae ที่มีสีต่าง ๆ เป็นแต้ม ด่าง ดวง ลาย หรือจุดประคลํ้าทึบ เช่น ตุ๊กแก (Epinephelus salmoides) หมอทะเล (Promicrops lanceolatus).
เกาต์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นเพราะมีกรดยูริกในเลือดมากเกินไปเป็นผลให้เกิดการตกตะกอนเป็นเกลือยูเรตในเนื้อเยื่อบริเวณข้อ เช่น ที่ข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ข้อเท้า หรือ บริเวณอวัยวะอื่น ทําให้มีอาการบวมและปวด. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gout เขียนว่า จี-โอ-ยู-ที.เกาต์ น. ชื่อโรคอย่างหนึ่ง เกิดขึ้นเพราะมีกรดยูริกในเลือดมากเกินไปเป็นผลให้เกิดการตกตะกอนเป็นเกลือยูเรตในเนื้อเยื่อบริเวณข้อ เช่น ที่ข้อนิ้วมือนิ้วเท้า ข้อเท้า หรือ บริเวณอวัยวะอื่น ทําให้มีอาการบวมและปวด. (อ. gout).
เกาทัณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง ธนู, กุทัณฑ์ ก็ใช้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โกทณฺฑ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-นอ-เนน-พิน-ทุ-ทอ-มน-โท.เกาทัณฑ์ น. ธนู, กุทัณฑ์ ก็ใช้. (ป., ส. โกทณฺฑ).
เกาทุมพร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พอ-พาน-รอ-เรือ[–ทุมพอน] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าทอด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด เช่น เกาทุมพรแพงค่าควรแสน. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกทุมฺพร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-รอ-เรือ โกฏุมฺพร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า-พิน-ทุ-พอ-พาน-รอ-เรือ .เกาทุมพร [–ทุมพอน] น. ผ้าทอด้วยขนสัตว์เนื้อละเอียด เช่น เกาทุมพรแพงค่าควรแสน. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. โกทุมฺพร, โกฏุมฺพร).
เกาบิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าปิดของลับ. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เกาปิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู และมาจากภาษาบาลี โกปิน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.เกาบิน น. ผ้าปิดของลับ. (ส. เกาปิน; ป. โกปิน).
เกาบิล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง[–บิน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแหวนคู่กับสายธุรําในพิธีพราหมณ์.เกาบิล [–บิน] น. ชื่อแหวนคู่กับสายธุรําในพิธีพราหมณ์.
เกามาร เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–มาน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง กุมาร เช่น กูจะขอพระราชทานเกามารท้งงสองพระองค์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร.เกามาร [–มาน] (โบ) น. กุมาร เช่น กูจะขอพระราชทานเกามารท้งงสองพระองค์. (ม. คำหลวง กุมาร).
เกาลัด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Sterculia monosperma Vent. ในวงศ์ Sterculiaceae ขอบใบเรียบ ดอกเล็ก สีชมพูอมเขียว เปลือกผลหนา ไม่มีหนาม เมื่อแก่จะปริแยกออกจากกัน เมล็ดเกลี้ยง สีนํ้าตาลแกมแดง เปลือกไม่แข็ง เนื้อในสีขาว กินได้.เกาลัด น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Sterculia monosperma Vent. ในวงศ์ Sterculiaceae ขอบใบเรียบ ดอกเล็ก สีชมพูอมเขียว เปลือกผลหนา ไม่มีหนาม เมื่อแก่จะปริแยกออกจากกัน เมล็ดเกลี้ยง สีนํ้าตาลแกมแดง เปลือกไม่แข็ง เนื้อในสีขาว กินได้.
เกาลัดจีน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Castanea mollissima Blume ในวงศ์ Fagaceae ขอบใบจักแหลม ดอกเล็ก สีน้ำตาลอ่อน เปลือกหุ้มผลหนามีหนามแหลม เมื่อแก่จะปริแยกออกจากกัน เมล็ดเกลี้ยง เปลือกแข็ง สีนํ้าตาลแกมแดง เนื้อในสีขาว กินได้.เกาลัดจีน น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Castanea mollissima Blume ในวงศ์ Fagaceae ขอบใบจักแหลม ดอกเล็ก สีน้ำตาลอ่อน เปลือกหุ้มผลหนามีหนามแหลม เมื่อแก่จะปริแยกออกจากกัน เมล็ดเกลี้ยง เปลือกแข็ง สีนํ้าตาลแกมแดง เนื้อในสีขาว กินได้.
เกาลิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ดินเกาเหลียง. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ kaolin เขียนว่า เค-เอ-โอ-แอล-ไอ-เอ็น.เกาลิน น. ดินเกาเหลียง. (อ. kaolin).
เกาไศย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก[–ไส] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าไหม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เกาเศยฺย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-สา-ลา-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก และมาจากภาษาบาลี โกเสยฺย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.เกาไศย [–ไส] (แบบ) น. ผ้าไหม. (ส. เกาเศยฺย; ป. โกเสยฺย).
เกาหลี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี[–หฺลี] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่ง อยู่ในคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย.เกาหลี [–หฺลี] น. ชื่อประเทศและชนชาติหนึ่ง อยู่ในคาบสมุทรทางตะวันออกของทวีปเอเชีย.
เกาเหลา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา[–เหฺลา] เป็นคำนาม หมายถึง แกงมีลักษณะอย่างแกงจืด. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกาเหลา [–เหฺลา] น. แกงมีลักษณะอย่างแกงจืด. (จ.).
เกาเหลียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [–เหฺลียง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเหล้าจีนชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกาเหลียง ๑ [–เหฺลียง] น. ชื่อเหล้าจีนชนิดหนึ่ง. (จ.).
เกาเหลียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ [–เหฺลียง] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อดินชนิดหนึ่ง ใช้ปั้นทําเครื่องเคลือบดินเผาได้ดี, ดินเกาลิน ก็เรียก. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกาเหลียง ๒ [–เหฺลียง] น. ชื่อดินชนิดหนึ่ง ใช้ปั้นทําเครื่องเคลือบดินเผาได้ดี, ดินเกาลิน ก็เรียก. (จ.).
เก้าอี้ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับนั่ง มีขาและพนักพิง มักยกย้ายไปมาได้ มีหลายชนิด, ถ้ามีรูปยาวใช้นอน เรียกว่า เก้าอี้นอน, ถ้าใช้โยกได้ เรียกว่า เก้าอี้โยก, ลักษณนามว่า ตัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เก้าอี้ น. ที่สําหรับนั่ง มีขาและพนักพิง มักยกย้ายไปมาได้ มีหลายชนิด, ถ้ามีรูปยาวใช้นอน เรียกว่า เก้าอี้นอน, ถ้าใช้โยกได้ เรียกว่า เก้าอี้โยก, ลักษณนามว่า ตัว. (จ.).
เกาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนของแผ่นดินที่มีนํ้าล้อมรอบ; ละเมาะ โดยปริยายใช้เรียกพื้นที่ซึ่งมีต้นไม้เป็นต้นขึ้นหนาแน่น มีทุ่งหรือที่เตียนล้อมรอบ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.เกาะ ๑ น. ส่วนของแผ่นดินที่มีนํ้าล้อมรอบ; ละเมาะ โดยปริยายใช้เรียกพื้นที่ซึ่งมีต้นไม้เป็นต้นขึ้นหนาแน่น มีทุ่งหรือที่เตียนล้อมรอบ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น.
เกาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง จับหรือยึดสิ่งใดไว้เพื่อทรงอยู่ เช่น นกเกาะกิ่งไม้ แมงมุมเกาะฝา, เอาสิ่งมีขอเป็นต้นเกี่ยวเข้ากับสิ่งอื่นเพื่อให้ติดอยู่ เช่น เอาขอเกาะต้นไม้, โดยปริยายหมายความถึงอาการที่เข้าไปติดแน่นอยู่ เช่น ปลิงเกาะ หรือเข้าเป็นหมู่หรือกลุ่มเดียวกัน เช่น ดินเกาะเป็นก้อน บินเกาะหมู่ วิ่งเกาะกลุ่ม; ไปเอาตัวมาโดยอํานาจศาลเป็นต้น เช่น ไปเกาะตัวมา.เกาะ ๒ ก. จับหรือยึดสิ่งใดไว้เพื่อทรงอยู่ เช่น นกเกาะกิ่งไม้ แมงมุมเกาะฝา, เอาสิ่งมีขอเป็นต้นเกี่ยวเข้ากับสิ่งอื่นเพื่อให้ติดอยู่ เช่น เอาขอเกาะต้นไม้, โดยปริยายหมายความถึงอาการที่เข้าไปติดแน่นอยู่ เช่น ปลิงเกาะ หรือเข้าเป็นหมู่หรือกลุ่มเดียวกัน เช่น ดินเกาะเป็นก้อน บินเกาะหมู่ วิ่งเกาะกลุ่ม; ไปเอาตัวมาโดยอํานาจศาลเป็นต้น เช่น ไปเกาะตัวมา.
เกาะกิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง อาศัยกินอยู่กับคนอื่นโดยเอาแต่ประโยชน์ฝ่ายเดียว ไม่ช่วยทํางานหรือช่วยเหลือจุนเจือผู้นั้น, ทําตัวดุจกาฝาก.เกาะกิน ก. อาศัยกินอยู่กับคนอื่นโดยเอาแต่ประโยชน์ฝ่ายเดียว ไม่ช่วยทํางานหรือช่วยเหลือจุนเจือผู้นั้น, ทําตัวดุจกาฝาก.
เกาะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงเคาะ.เกาะ ๓ ว. เสียงเคาะ.
เกาะแกะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ เป็นคำกริยา หมายถึง พูดพาดพิงเชิงชู้สาว, พูดเชิงเกี้ยวพาราสี, เช่น มันเกาะแกะเกินกํ้าเป็นธรรมดา. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑, เคาะแคะ ก็ว่า.เกาะแกะ ก. พูดพาดพิงเชิงชู้สาว, พูดเชิงเกี้ยวพาราสี, เช่น มันเกาะแกะเกินกํ้าเป็นธรรมดา. (ขุนช้างขุนแผน), เคาะแคะ ก็ว่า.
เกิง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ล่วง เช่น ตกพ่างบุษบนนเกิง ขาดขว้นน. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.เกิง (โบ; กลอน) ว. ล่วง เช่น ตกพ่างบุษบนนเกิง ขาดขว้นน. (ทวาทศมาส).
เกิ้ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง กั้น, บัง, มุง, เช่น เอาผ้าเกิ้งแดด เกิ้งหลังคา. เป็นคำนาม หมายถึง ฉัตร.เกิ้ง (ถิ่น–พายัพ) ก. กั้น, บัง, มุง, เช่น เอาผ้าเกิ้งแดด เกิ้งหลังคา. น. ฉัตร.
เกิด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นขึ้น, มีขึ้น, กําเนิด; มีขึ้นเป็นขึ้นโดยกะทันหัน เช่น เกิดตายไปเสียก่อนที่จะได้รับมรดก เกิดฝนตกลงมา.เกิด ก. เป็นขึ้น, มีขึ้น, กําเนิด; มีขึ้นเป็นขึ้นโดยกะทันหัน เช่น เกิดตายไปเสียก่อนที่จะได้รับมรดก เกิดฝนตกลงมา.
เกิดสูรย์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ดอ-เด็ก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อู-รอ-เรือ-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำกริยา หมายถึง เกิดสุริยุปราคา, มักใช้เข้าคู่กับคํา เกิดจันทร์ เป็น เกิดสูรย์เกิดจันทร์.เกิดสูรย์ (ปาก) ก. เกิดสุริยุปราคา, มักใช้เข้าคู่กับคํา เกิดจันทร์ เป็น เกิดสูรย์เกิดจันทร์.
เกิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง พ้น, เลย, คํานี้ใช้แก่ลักษณะที่มีมากกว่าหรือยิ่งกว่ากําหนด เช่น เกินขนาด เกินฐานะ เกินเวลา เกินสมควร.เกิน ว. พ้น, เลย, คํานี้ใช้แก่ลักษณะที่มีมากกว่าหรือยิ่งกว่ากําหนด เช่น เกินขนาด เกินฐานะ เกินเวลา เกินสมควร.
เกินการ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง มากกว่าที่ต้องประสงค์ เช่น แก่เกินการ เอาของมาเกินการ.เกินการ ก. มากกว่าที่ต้องประสงค์ เช่น แก่เกินการ เอาของมาเกินการ.
เกินกิน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กินไม่ดีเพราะแก่เกินไป เช่น อ้อยท่อนนี้แก่เกินกิน.เกินกิน ว. กินไม่ดีเพราะแก่เกินไป เช่น อ้อยท่อนนี้แก่เกินกิน.
เกินคน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-คอ-ควาย-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่งกว่าคนสามัญ เช่น ฉลาดเกินคน เลวเกินคน.เกินคน ว. ยิ่งกว่าคนสามัญ เช่น ฉลาดเกินคน เลวเกินคน.
เกินงาม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-งอ-งู-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มากไปจนหมดงาม เช่น แต่งตัวเกินงาม.เกินงาม ว. มากไปจนหมดงาม เช่น แต่งตัวเกินงาม.
เกินดี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เลยไปจนหมดดี เช่น ทําเกินดี คือใช้ให้ไปทําอะไร แต่ทําจนเกินต้องการ เรียกว่า ทําเกินดี.เกินดี ว. เลยไปจนหมดดี เช่น ทําเกินดี คือใช้ให้ไปทําอะไร แต่ทําจนเกินต้องการ เรียกว่า ทําเกินดี.
เกินตัว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกินฐานะ เช่น ใช้จ่ายเกินตัว, เกินสภาพปรกติ เช่น รู้เกินตัว ทำงานเกินตัว.เกินตัว ว. เกินฐานะ เช่น ใช้จ่ายเกินตัว, เกินสภาพปรกติ เช่น รู้เกินตัว ทำงานเกินตัว.
เกินไป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คําประกอบท้ายคําวิเศษณ์ เพื่อเน้นความหมาย แสดงว่าเกินกําหนด เกินพอดี เช่น กินมากเกินไป ดีเกินไป สุกเกินไป.เกินไป ว. คําประกอบท้ายคําวิเศษณ์ เพื่อเน้นความหมาย แสดงว่าเกินกําหนด เกินพอดี เช่น กินมากเกินไป ดีเกินไป สุกเกินไป.
เกินเลย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง แสดงกิริยาวาจาต่อผู้อื่นโดยขาดสัมมาคารวะ, เหลื่อมลํ้าทางจํานวน.เกินเลย ก. แสดงกิริยาวาจาต่อผู้อื่นโดยขาดสัมมาคารวะ, เหลื่อมลํ้าทางจํานวน.
เกินหน้า, เกินหน้าเกินตา เกินหน้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เกินหน้าเกินตา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกินกว่า เด่นกว่า หรือดีกว่าฐานะของตนเองหรือของคนอื่น.เกินหน้า, เกินหน้าเกินตา ว. เกินกว่า เด่นกว่า หรือดีกว่าฐานะของตนเองหรือของคนอื่น.
เกิบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง เกือก.เกิบ ๑ (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) น. เกือก.
เกิบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง กําบัง, บัง, เช่น เศวตฉัตรรัตนก้งง เกิบบนบรรจถรณ์. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗, เฉกฉายกมลาสน์ฉัตรา เกิบก้งงเกศา. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.เกิบ ๒ (โบ) ก. กําบัง, บัง, เช่น เศวตฉัตรรัตนก้งง เกิบบนบรรจถรณ์. (สรรพสิทธิ์), เฉกฉายกมลาสน์ฉัตรา เกิบก้งงเกศา. (สรรพสิทธิ์).
เกียกกาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง กองเสบียง (เป็นส่วนหนึ่งในกองทัพ), หัวหน้าแห่งกองเสบียงนั้น.เกียกกาย ๑ น. กองเสบียง (เป็นส่วนหนึ่งในกองทัพ), หัวหน้าแห่งกองเสบียงนั้น.
เกียกกาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ตะเกียกตะกาย, ขวนขวาย, เช่น ค่อยเกียกกายหาเลี้ยงตน. ในวงเล็บ มาจาก สุบินกุมาร โรงพิมพ์ครูสมิท บางคอแหลม จ.ศ. ๑๒๔๓.เกียกกาย ๒ ก. ตะเกียกตะกาย, ขวนขวาย, เช่น ค่อยเกียกกายหาเลี้ยงตน. (สุบิน).
เกียง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง เกี่ยง, รังเกียจ, ไม่ลงรอย, เกี่ยงแย่ง, เกี่ยงแย้ง, เช่น คนใดอันรังร้าย จิตรพิศเกียงกล. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๗๒, โดยมากใช้เป็น เกี่ยง.เกียง ก. เกี่ยง, รังเกียจ, ไม่ลงรอย, เกี่ยงแย่ง, เกี่ยงแย้ง, เช่น คนใดอันรังร้าย จิตรพิศเกียงกล. (จารึกวัดโพธิ์), โดยมากใช้เป็น เกี่ยง.
เกี่ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมทําเพราะกลัวจะเสียเปรียบกันเป็นต้น.เกี่ยง ก. อาการที่ต่างฝ่ายต่างไม่ยอมทําเพราะกลัวจะเสียเปรียบกันเป็นต้น.
เกี่ยงงอน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-งอ-งู-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เกี่ยงอย่างมีเงื่อนไข, เกี่ยงเอาเชิง.เกี่ยงงอน ก. เกี่ยงอย่างมีเงื่อนไข, เกี่ยงเอาเชิง.
เกี่ยงตาย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง เลี่ยงไปทางตาย, ยอมตาย, เช่น หวั่นฤทธิ์คิดครั่นสงคราม จักยุทธพยายาม คือขวัญสกนธ์เกี่ยงตาย. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.เกี่ยงตาย ก. เลี่ยงไปทางตาย, ยอมตาย, เช่น หวั่นฤทธิ์คิดครั่นสงคราม จักยุทธพยายาม คือขวัญสกนธ์เกี่ยงตาย. (สรรพสิทธิ์).
เกี๋ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง เดือนแรกของปีนับทางจันทรคติ คือ เดือนอ้าย.เกี๋ยง ๑ (ถิ่น–พายัพ) น. เดือนแรกของปีนับทางจันทรคติ คือ เดือนอ้าย.
เกี๋ยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-งอ-งู ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำกริยา หมายถึง ขีดกา, ขีดไขว้.เกี๋ยง ๒ (ถิ่น–พายัพ) ก. ขีดกา, ขีดไขว้.
เกี๋ยงคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา-ยอ-ยัก-งอ-งู-คอ-ควาย-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ต้นลําเจียก. ในวงเล็บ ดู ลำเจียก เขียนว่า ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-จอ-จาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-กอ-ไก่.เกี๋ยงคำ (ถิ่น–พายัพ) น. ต้นลําเจียก. (ดู ลำเจียก).
เกียจ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน[เกียด] เป็นคำกริยา หมายถึง คด, ไม่ซื่อ, โกง, คร้าน.เกียจ [เกียด] ก. คด, ไม่ซื่อ, โกง, คร้าน.
เกียจกล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง ซ่อนกล.เกียจกล ก. ซ่อนกล.
เกียจคร้าน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-จอ-จาน-คอ-ควาย-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ขี้เกียจ, ไม่อยากทํางาน.เกียจคร้าน ก. ขี้เกียจ, ไม่อยากทํางาน.
เกียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้ที่ปักขึ้นกลางลานสําหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ ว่า เสาเกียด.เกียด ๑ น. เรียกไม้ที่ปักขึ้นกลางลานสําหรับผูกควายหรือวัวให้ย่ำนวดข้าวไปรอบ ๆ ว่า เสาเกียด.
เกียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง กัน, กั้น.เกียด ๒ ก. กัน, กั้น.
เกียดกัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กันไม่ให้ทําโดยสะดวก.เกียดกัน ก. กันไม่ให้ทําโดยสะดวก.
เกียด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ดอ-เด็ก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำกริยา หมายถึง ปาดให้เสมอ.เกียด ๓ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ก. ปาดให้เสมอ.
เกียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง อ่าว, ทะเล, เช่น เกาะเกียน. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .เกียน น. อ่าว, ทะเล, เช่น เกาะเกียน. (ข.).
เกี้ยมไฉ่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฉอ-ฉิ่ง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ผักดองเค็มชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกี้ยมไฉ่ น. ผักดองเค็มชนิดหนึ่ง. (จ.).
เกี้ยมอี๋ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อี-ไม้-จัด-ตะ-วา เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้า เป็นตัว ๆ คล้ายลอดช่อง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน ว่า เจียมอี๊ .เกี้ยมอี๋ น. ของกินชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเจ้า เป็นตัว ๆ คล้ายลอดช่อง. (จ. ว่า เจียมอี๊).
เกียร์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง กลอุปกรณ์ที่ส่งผ่านกําลังและการเคลื่อนที่จากส่วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหนึ่งของเครื่องกล; ส่วนหนึ่งของรถยนต์ เรือยนต์ เป็นต้น ต่อจากคลัตช์ ทําหน้าที่เปลี่ยนอัตราส่วนการทดรอบระหว่างเครื่องยนต์กับล้อ, เขียนเป็น เกีย ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gear เขียนว่า จี-อี-เอ-อา.เกียร์ น. กลอุปกรณ์ที่ส่งผ่านกําลังและการเคลื่อนที่จากส่วนหนึ่งไปยังอีกส่วนหนึ่งของเครื่องกล; ส่วนหนึ่งของรถยนต์ เรือยนต์ เป็นต้น ต่อจากคลัตช์ ทําหน้าที่เปลี่ยนอัตราส่วนการทดรอบระหว่างเครื่องยนต์กับล้อ, เขียนเป็น เกีย ก็มี. (อ. gear).
เกียรติ, เกียรติ–, เกียรติ์ เกียรติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เกียรติ– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ เกียรติ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด [เกียด, เกียดติ–, เกียน] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเสียง, ความยกย่องนับถือ, ความมีหน้ามีตา. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต กีรฺติ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-รอ-เรือ-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ และมาจากภาษาบาลี กิตฺติ เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า-พิน-ทุ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ ว่า คำเล่าลือ, คำสรรเสริญ .เกียรติ, เกียรติ–, เกียรติ์ [เกียด, เกียดติ–, เกียน] น. ชื่อเสียง, ความยกย่องนับถือ, ความมีหน้ามีตา. (ส. กีรฺติ; ป. กิตฺติ ว่า คำเล่าลือ, คำสรรเสริญ).
เกียรติคุณ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อุ-นอ-เนน[เกียดติคุน] เป็นคำนาม หมายถึง คุณที่เลื่องลือ, ชื่อเสียงโดยคุณงามความดี.เกียรติคุณ [เกียดติคุน] น. คุณที่เลื่องลือ, ชื่อเสียงโดยคุณงามความดี.
เกียรตินิยม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[เกียดนิยม] เป็นคำนาม หมายถึง ความรู้ดีเด่นเหนือระดับปรกติที่มหาวิทยาลัยกําหนดไว้.เกียรตินิยม [เกียดนิยม] น. ความรู้ดีเด่นเหนือระดับปรกติที่มหาวิทยาลัยกําหนดไว้.
เกียรติประวัติ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ[เกียดติปฺระหฺวัด, เกียดปฺระหฺวัด] เป็นคำนาม หมายถึง ประวัติที่ได้รับความสรรเสริญ, ประวัติที่เลื่องลือ.เกียรติประวัติ [เกียดติปฺระหฺวัด, เกียดปฺระหฺวัด] น. ประวัติที่ได้รับความสรรเสริญ, ประวัติที่เลื่องลือ.
เกียรติภูมิ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-พอ-สำ-เพา-สะ-หระ-อู-มอ-ม้า-สะ-หระ-อิ[เกียดติพูม] เป็นคำนาม หมายถึง เกียรติเพราะความนิยม.เกียรติภูมิ [เกียดติพูม] น. เกียรติเพราะความนิยม.
เกียรติยศ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก-สอ-สา-ลา[เกียดติยด] เป็นคำนาม หมายถึง เกียรติโดยฐานะตําแหน่งหน้าที่หรือชาติชั้นวรรณะ.เกียรติยศ [เกียดติยด] น. เกียรติโดยฐานะตําแหน่งหน้าที่หรือชาติชั้นวรรณะ.
เกียรติศักดิ์ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-สอ-สา-ลา-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-ทัน-ทะ-คาด[เกียดติสัก] เป็นคำนาม หมายถึง เกียรติ, เกียรติตามฐานะของแต่ละบุคคล.เกียรติศักดิ์ [เกียดติสัก] น. เกียรติ, เกียรติตามฐานะของแต่ละบุคคล.
เกียรติมุข เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อิ-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ขอ-ไข่[เกียดมุก] เป็นคำนาม หมายถึง อมนุษย์บริวารพระศิวะ ทำเป็นรูปหน้ายักษ์ปนหน้าสิงห์ ตากลมถลน ไม่มีคาง ปากแสยะ ไม่มีขากรรไกรล่าง ไม่มีร่างกาย ไม่มีแขนขา เชื่อกันว่าเป็นเทพเจ้ารักษาธรณีประตู เป็นเครื่องป้องกันบ้านเรือน ขับไล่เสนียดจัญไร และคอยคุ้มครองนับถือพระศิวะ มักทำเป็นลวดลายแกะสลักหรือปูนปั้น เช่นที่ทับหลังปราสาทหินบางแห่ง ตามซุ้มปรางค์หรือเจดีย์ และที่ฐานพระพุทธรูป, กาฬมุข หรือ หน้ากาฬ ก็เรียก.เกียรติมุข [เกียดมุก] น. อมนุษย์บริวารพระศิวะ ทำเป็นรูปหน้ายักษ์ปนหน้าสิงห์ ตากลมถลน ไม่มีคาง ปากแสยะ ไม่มีขากรรไกรล่าง ไม่มีร่างกาย ไม่มีแขนขา เชื่อกันว่าเป็นเทพเจ้ารักษาธรณีประตู เป็นเครื่องป้องกันบ้านเรือน ขับไล่เสนียดจัญไร และคอยคุ้มครองนับถือพระศิวะ มักทำเป็นลวดลายแกะสลักหรือปูนปั้น เช่นที่ทับหลังปราสาทหินบางแห่ง ตามซุ้มปรางค์หรือเจดีย์ และที่ฐานพระพุทธรูป, กาฬมุข หรือ หน้ากาฬ ก็เรียก.
เกี่ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่สิ่งงอเป็นขอเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น ทอดสมอให้เกี่ยวแง่หินไว้, เอาของที่มีลักษณะเช่นนั้นเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น เอาขอเกี่ยว, ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เช่น เรื่องนี้อันตรายมากอย่าเอาตัวเข้าไปเกี่ยวเลย, เกี่ยวข้อง ก็ว่า; อาการที่สิ่งแหลมคมขูดขีด สะกิด เป็นต้น เช่น หนามเกี่ยว ตะปูเกี่ยว, ตัดด้วยเคียว เช่น เกี่ยวข้าว เกี่ยวหญ้า เกี่ยวแฝก; โดยปริยายหมายความว่า เนื่อง เช่น เกี่ยวด้วยเรื่องนี้.เกี่ยว ก. อาการที่สิ่งงอเป็นขอเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น ทอดสมอให้เกี่ยวแง่หินไว้, เอาของที่มีลักษณะเช่นนั้นเกาะติดหรือเหนี่ยวไว้ เช่น เอาขอเกี่ยว, ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เช่น เรื่องนี้อันตรายมากอย่าเอาตัวเข้าไปเกี่ยวเลย, เกี่ยวข้อง ก็ว่า; อาการที่สิ่งแหลมคมขูดขีด สะกิด เป็นต้น เช่น หนามเกี่ยว ตะปูเกี่ยว, ตัดด้วยเคียว เช่น เกี่ยวข้าว เกี่ยวหญ้า เกี่ยวแฝก; โดยปริยายหมายความว่า เนื่อง เช่น เกี่ยวด้วยเรื่องนี้.
เกี่ยวก้อย เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่แสดงความคุ้นเคยสนิทสนมกัน เช่น เขาเกี่ยวก้อยกันไปเที่ยวเชียงใหม่.เกี่ยวก้อย (สำ) ก. อาการที่แสดงความคุ้นเคยสนิทสนมกัน เช่น เขาเกี่ยวก้อยกันไปเที่ยวเชียงใหม่.
เกี่ยวข้อง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เกี่ยว ก็ว่า.เกี่ยวข้อง ก. ติดต่อผูกพัน, แตะต้อง, ยุ่งเกี่ยว, ข้องแวะ, เกี่ยว ก็ว่า.
เกี่ยวข้าว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ขอ-ไข่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเพลงร้องแก้กันในเวลาเกี่ยวข้าวทํานองเพลงเรือว่า เพลงเกี่ยวข้าว.เกี่ยวข้าว น. เรียกเพลงร้องแก้กันในเวลาเกี่ยวข้าวทํานองเพลงเรือว่า เพลงเกี่ยวข้าว.
เกี่ยวดอง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง นับเป็นญาติกันทางเขยหรือสะใภ้.เกี่ยวดอง ว. นับเป็นญาติกันทางเขยหรือสะใภ้.
เกี่ยวดองหนองยุ่ง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก-ออ-อ่าง-งอ-งู-หอ-หีบ-นอ-หนู-ออ-อ่าง-งอ-งู-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อุ-ไม้-เอก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เกี่ยวดองกันอย่างซับซ้อน.เกี่ยวดองหนองยุ่ง (ปาก) ว. เกี่ยวดองกันอย่างซับซ้อน.
เกี่ยวเบ็ด เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเบ็ดไปเกี่ยวเหยื่อ, เอาเหยื่อมาเกี่ยวเบ็ด.เกี่ยวเบ็ด ก. เอาเบ็ดไปเกี่ยวเหยื่อ, เอาเหยื่อมาเกี่ยวเบ็ด.
เกี่ยวแฝกมุงป่า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-ฝอ-ฝา-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง ทําอะไรเกินกําลังความสามารถของตัว.เกี่ยวแฝกมุงป่า (สำ) ก. ทําอะไรเกินกําลังความสามารถของตัว.
เกี่ยวพัน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ติดเนื่องกัน, พัวพัน.เกี่ยวพัน ก. ติดเนื่องกัน, พัวพัน.
เกี่ยวโยง เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-โอ-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ต่อเนื่องไปถึง.เกี่ยวโยง ก. ต่อเนื่องไปถึง.
เกี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องประดับลักษณะเป็นวงคล้ายพวงมาลัย สําหรับสวมจุก, ราชาศัพท์ว่า พระเกี้ยว; เครื่องประดับที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เกี้ยวลอมพอก เกี้ยวชฎา; ผ้าคาดพุงสำหรับขุนนาง เรียกว่า ผ้าเกี้ยว เช่น เกี้ยวลาย คือผ้าคาดพุงที่มีลาย (บางทีเข้าใจกันว่าเป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง). เป็นคำกริยา หมายถึง รัด, พันแน่น, ติดแน่น, เช่น เพราะประพฤติมันเกี้ยว เกี่ยงร้ายแกมดี. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง; พูดให้รักในเชิงชู้สาว, พูดแทะโลม, พูดเลียบเคียงเพื่อให้สมปรารถนา.เกี้ยว ๑ น. เครื่องประดับลักษณะเป็นวงคล้ายพวงมาลัย สําหรับสวมจุก, ราชาศัพท์ว่า พระเกี้ยว; เครื่องประดับที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เกี้ยวลอมพอก เกี้ยวชฎา; ผ้าคาดพุงสำหรับขุนนาง เรียกว่า ผ้าเกี้ยว เช่น เกี้ยวลาย คือผ้าคาดพุงที่มีลาย (บางทีเข้าใจกันว่าเป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง). ก. รัด, พันแน่น, ติดแน่น, เช่น เพราะประพฤติมันเกี้ยว เกี่ยงร้ายแกมดี. (โลกนิติ); พูดให้รักในเชิงชู้สาว, พูดแทะโลม, พูดเลียบเคียงเพื่อให้สมปรารถนา.
เกี้ยวเกไล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง วิธีนุ่งผ้าชนิดหนึ่งสําหรับขี่ช้าง.เกี้ยวเกไล น. วิธีนุ่งผ้าชนิดหนึ่งสําหรับขี่ช้าง.
เกี้ยวคอไก่ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-คอ-ควาย-ออ-อ่าง-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง วิธีนุ่งผ้าเอาชายพกรัดอีกชายหนึ่งไว้แล้วเหน็บให้แน่น.เกี้ยวคอไก่ น. วิธีนุ่งผ้าเอาชายพกรัดอีกชายหนึ่งไว้แล้วเหน็บให้แน่น.
เกี้ยวนวม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-นอ-หนู-วอ-แหวน-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เกี้ยวที่ใส่หัวและนวมที่สวมคอ.เกี้ยวนวม น. เกี้ยวที่ใส่หัวและนวมที่สวมคอ.
เกี้ยวพาน, เกี้ยวพาราสี เกี้ยวพาน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เกี้ยวพาราสี เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-พอ-พาน-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง พูดให้รักในเชิงชู้สาว.เกี้ยวพาน, เกี้ยวพาราสี ก. พูดให้รักในเชิงชู้สาว.
เกี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คานหามของจีนชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกี้ยว ๒ น. คานหามของจีนชนิดหนึ่ง. (จ.).
เกี้ยวประทีป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน-ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง ซุ้มไฟทําเป็นรูปอย่างเกี้ยว.เกี้ยวประทีป น. ซุ้มไฟทําเป็นรูปอย่างเกี้ยว.
เกี๊ยว เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ของกินชนิดหนึ่งใช้แผ่นแป้งสาลีตัดเป็นสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ห่อหมูสับเป็นต้น. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกี๊ยว น. ของกินชนิดหนึ่งใช้แผ่นแป้งสาลีตัดเป็นสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ห่อหมูสับเป็นต้น. (จ.).
เกี๊ยะ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-ตรี-ยอ-ยัก-สะ-หระ-อะ เป็นคำนาม หมายถึง เกือกไม้แบบจีน. ในวงเล็บ มาจากภาษาจีน .เกี๊ยะ น. เกือกไม้แบบจีน. (จ.).
เกื้อ, เกื้อกูล เกื้อ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง เกื้อกูล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-ลอ-ลิง เป็นคำกริยา หมายถึง อุดหนุน, เจือจาน, เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่.เกื้อ, เกื้อกูล ก. อุดหนุน, เจือจาน, เอื้อเฟื้อ, เผื่อแผ่.
เกือก เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง รองเท้า, ลักษณนามว่า คู่ หรือ ข้าง, ราชาศัพท์ว่า รองพระบาท หรือ ฉลองพระบาท.เกือก (ปาก) น. รองเท้า, ลักษณนามว่า คู่ หรือ ข้าง, ราชาศัพท์ว่า รองพระบาท หรือ ฉลองพระบาท.
เกือกม้า เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง เหล็กรูปโค้งสําหรับรองกีบม้า.เกือกม้า น. เหล็กรูปโค้งสําหรับรองกีบม้า.
เกือบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จวน, เจียน, แทบ, หวิด.เกือบ ว. จวน, เจียน, แทบ, หวิด.
เกือบไป เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง จวนเจียน, จักแหล่น.เกือบไป ก. จวนเจียน, จักแหล่น.
แก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกชนิด Corvus splendens ในวงศ์ Corvidae รูปร่างคล้ายกา แต่ตัวและปากเล็กกว่า ด้านหลังท้ายทอยสีเทา, อีแก ก็เรียก.แก ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus splendens ในวงศ์ Corvidae รูปร่างคล้ายกา แต่ตัวและปากเล็กกว่า ด้านหลังท้ายทอยสีเทา, อีแก ก็เรียก.
แก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำสรรพนาม หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยซึ่งเป็นผู้ที่สนิทสนม หรือผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.แก ๒ ส. คําใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วยซึ่งเป็นผู้ที่สนิทสนม หรือผู้น้อย, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒; (ปาก) คําใช้แทนผู้ที่เราพูดถึง, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓.
แก่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีอายุมาก เช่น แก่ไปทุกวัน ไม้แก่ เด็กคนนี้แก่กว่าเด็กคนนั้น, อยู่ในวัยชรา เช่น คนแก่ หญิงแก่, จัด เช่น เหลืองแก่ แก่เปรี้ยว แก่หวาน; โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือ ยิ่งไปในทางนั้น เช่น แก่สังคม แก่วิชา แก่เหล้า แก่เล่น แก่ไฟ.แก่ ๑ ว. มีอายุมาก เช่น แก่ไปทุกวัน ไม้แก่ เด็กคนนี้แก่กว่าเด็กคนนั้น, อยู่ในวัยชรา เช่น คนแก่ หญิงแก่, จัด เช่น เหลืองแก่ แก่เปรี้ยว แก่หวาน; โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือ ยิ่งไปในทางนั้น เช่น แก่สังคม แก่วิชา แก่เหล้า แก่เล่น แก่ไฟ.
แก่กล้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เข้มแข็ง, ยวดยิ่ง, เช่น ศรัทธาแก่กล้า.แก่กล้า ก. เข้มแข็ง, ยวดยิ่ง, เช่น ศรัทธาแก่กล้า.
แก่ดีกรี เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อี-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื่มสุราหรือเมรัยมาก.แก่ดีกรี (ปาก) ว. ดื่มสุราหรือเมรัยมาก.
แก่แดด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทําเป็นผู้ใหญ่เกินอายุ (มักใช้แก่เด็ก).แก่แดด ว. ทําเป็นผู้ใหญ่เกินอายุ (มักใช้แก่เด็ก).
แก่ตัว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ย่างเข้าวัยแก่.แก่ตัว ว. ย่างเข้าวัยแก่.
แก่บ้าน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ใหญ่บ้าน, นายบ้าน.แก่บ้าน (ถิ่น–พายัพ) น. ผู้ใหญ่บ้าน, นายบ้าน.
แก่ไฟ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใช้ไฟแรงเกินไป (มักใช้แก่การหุงหรือต้มที่ใช้ไฟแรงจนเกือบไหม้).แก่ไฟ ว. ใช้ไฟแรงเกินไป (มักใช้แก่การหุงหรือต้มที่ใช้ไฟแรงจนเกือบไหม้).
แก่แรด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จัดจ้านเกินอายุ, แก่เกินอายุ, แก่มาก.แก่แรด ว. จัดจ้านเกินอายุ, แก่เกินอายุ, แก่มาก.
แก่วัด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อยู่วัดนาน, มีท่าทีหรือความคิดเห็นแบบคนที่ได้รับการอบรมจากวัดหรืออยู่วัดนาน; รู้มาก.แก่วัด ว. อยู่วัดนาน, มีท่าทีหรือความคิดเห็นแบบคนที่ได้รับการอบรมจากวัดหรืออยู่วัดนาน; รู้มาก.
แก่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ เป็นคำบุรพบท หมายถึง ใช้นําหน้านามฝ่ายรับ เช่น ให้เงินแก่เด็ก.แก่ ๒ บ. ใช้นําหน้านามฝ่ายรับ เช่น ให้เงินแก่เด็ก.
แก่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคอีสาน เป็นคำกริยา หมายถึง ลาก เช่น แก่เกวียน.แก่ ๓ (ถิ่น–อีสาน) ก. ลาก เช่น แก่เกวียน.
แก้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเบี้ยตัวโต ๆ สําหรับขัดผ้านุ่งให้ผิวเป็นมัน เช่น ผ้าลาย เรียกว่า เบี้ยอีแก้ หรือ เบี้ยแก้ใหญ่. ในวงเล็บ ดู เบี้ยแก้ ประกอบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ปอ-ปลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-บอ-ไบ-ไม้ .แก้ ๑ น. ชื่อเบี้ยตัวโต ๆ สําหรับขัดผ้านุ่งให้ผิวเป็นมัน เช่น ผ้าลาย เรียกว่า เบี้ยอีแก้ หรือ เบี้ยแก้ใหญ่. (ดู เบี้ยแก้ ประกอบ).
แก้ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้คลายจากลักษณะที่แน่นที่ติดขัดหรือที่เป็นเงื่อนเป็นปมอยู่ เช่น แก้ปม แก้เงื่อน; ทําให้หลุดให้พ้นไป เช่น แก้คดี; ทําให้ดีขึ้น, ทําให้ใช้การได้, ทำส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, เช่น แก้นาฬิกา แก้เครื่องจักร, แก้ไข ก็ว่า; ทําให้หาย เช่น แก้เก้อ แก้ขวย แก้จน แก้โรค; เฉลย, อธิบายให้เข้าใจ, เช่น แก้ปัญหา แก้กระทู้; ร้องเพลงหรือลำตัดเป็นต้นโต้ตอบกัน; เอากลับคืนมาให้ได้ เช่น ไปตีแก้เอาเมืองคืน.แก้ ๒ ก. ทําให้คลายจากลักษณะที่แน่นที่ติดขัดหรือที่เป็นเงื่อนเป็นปมอยู่ เช่น แก้ปม แก้เงื่อน; ทําให้หลุดให้พ้นไป เช่น แก้คดี; ทําให้ดีขึ้น, ทําให้ใช้การได้, ทำส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, เช่น แก้นาฬิกา แก้เครื่องจักร, แก้ไข ก็ว่า; ทําให้หาย เช่น แก้เก้อ แก้ขวย แก้จน แก้โรค; เฉลย, อธิบายให้เข้าใจ, เช่น แก้ปัญหา แก้กระทู้; ร้องเพลงหรือลำตัดเป็นต้นโต้ตอบกัน; เอากลับคืนมาให้ได้ เช่น ไปตีแก้เอาเมืองคืน.
แก้เกี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง แก้อย่างย้อนรอยให้หายกัน เช่น พูดแก้เกี้ยว ฟ้องแก้เกี้ยว.แก้เกี้ยว ก. แก้อย่างย้อนรอยให้หายกัน เช่น พูดแก้เกี้ยว ฟ้องแก้เกี้ยว.
แก้ขวย, แก้เขิน แก้ขวย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ขอ-ไข่-วอ-แหวน-ยอ-ยัก แก้เขิน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อบรรเทาความกระดากอาย.แก้ขวย, แก้เขิน ก. กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อบรรเทาความกระดากอาย.
แก้ขัด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ข้อขัดข้องให้ลุล่วงไปชั่วคราว.แก้ขัด ก. แก้ข้อขัดข้องให้ลุล่วงไปชั่วคราว.
แก้ไข เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ขอ-ไข่ เป็นคำกริยา หมายถึง ทําส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, แก้ ก็ว่า.แก้ไข ก. ทําส่วนที่เสียให้คืนดีอย่างเดิม, ดัดแปลงให้ดีขึ้น, แก้ ก็ว่า.
แก้เคล็ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-ลอ-ลิง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เชื่อกันว่าเป็นวิธีปัดเป่าหรือป้องกันภัยหรือเหตุร้ายที่จะมีมา.แก้เคล็ด ก. กระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เชื่อกันว่าเป็นวิธีปัดเป่าหรือป้องกันภัยหรือเหตุร้ายที่จะมีมา.
แก้แค้น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-แอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ทําตอบด้วยความแค้นหรือเพื่อให้หายแค้น.แก้แค้น ก. ทําตอบด้วยความแค้นหรือเพื่อให้หายแค้น.
แก้เชิง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้เล่ห์เหลี่ยม ชั้นเชิง หรือ อุบาย หักล้างเล่ห์เหลี่ยม ชั้นเชิงหรืออุบายของอีกฝ่ายหนึ่ง.แก้เชิง ก. ใช้เล่ห์เหลี่ยม ชั้นเชิง หรือ อุบาย หักล้างเล่ห์เหลี่ยม ชั้นเชิงหรืออุบายของอีกฝ่ายหนึ่ง.
แก้ตก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ตอ-เต่า-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ให้สําเร็จลุล่วงไปได้.แก้ตก ก. แก้ให้สําเร็จลุล่วงไปได้.
แก้ตัว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ตอ-เต่า-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง พูดหรือทําเพื่อปลดเปลื้องความผิดหรือข้อผิดพลาดของตน.แก้ตัว ก. พูดหรือทําเพื่อปลดเปลื้องความผิดหรือข้อผิดพลาดของตน.
แก้ต่าง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง ว่าความแทนจําเลย, ใช้คู่กับ ว่าต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนโจทก์.แก้ต่าง (กฎ) ก. ว่าความแทนจําเลย, ใช้คู่กับ ว่าต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนโจทก์.
แก้ที เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ตาเดิน (ใช้แก่การเล่นหมากรุก).แก้ที ก. แก้ตาเดิน (ใช้แก่การเล่นหมากรุก).
แก้โทษ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-โอ-ทอ-ทะ-หาน-สอ-รือ-สี เป็นคำกริยา หมายถึง ลุแก่โทษ.แก้โทษ ก. ลุแก่โทษ.
แก้บน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-บอ-ไบ-ไม้-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เซ่นสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ตนได้บนบานไว้, ใช้บน ก็ว่า.แก้บน ก. เซ่นสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามที่ตนได้บนบานไว้, ใช้บน ก็ว่า.
แก้บาป เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา-ปอ-ปลา เป็นคำกริยา หมายถึง สารภาพความผิดเพื่อให้พ้นบาป.แก้บาป ก. สารภาพความผิดเพื่อให้พ้นบาป.
แก้ผ้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ผอ-ผึ้ง-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง เอาผ้าที่นุ่งอยู่ออกจากตัว, เปลือยกายไม่นุ่งผ้า, เช่น เด็กนอนแก้ผ้า เด็กแก้ผ้าวิ่งโทง ๆ.แก้ผ้า ก. เอาผ้าที่นุ่งอยู่ออกจากตัว, เปลือยกายไม่นุ่งผ้า, เช่น เด็กนอนแก้ผ้า เด็กแก้ผ้าวิ่งโทง ๆ.
แก้เผ็ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง ทําตอบแก่ผู้ที่เคยทําความเจ็บปวดให้แก่ตัวไว้เพื่อให้สาสมกัน.แก้เผ็ด ก. ทําตอบแก่ผู้ที่เคยทําความเจ็บปวดให้แก่ตัวไว้เพื่อให้สาสมกัน.
แก้ฝัน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ฝอ-ฝา-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง เล่าฝันให้ผู้อื่นทํานาย, ทํานายฝัน.แก้ฝัน ก. เล่าฝันให้ผู้อื่นทํานาย, ทํานายฝัน.
แก้ฟ้อง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในกฎหมาย เป็นคำกริยา หมายถึง แก้ไขคำฟ้องตามที่ศาลสั่งในกรณีที่คำฟ้องไม่ถูกต้องตามกฎหมาย; ยื่นคำให้การเป็นข้อต่อสู้คดีเพื่อแก้คำฟ้อง. แก้มือ ก. ขอสู้ใหม่, ทําสิ่งที่เสียแล้วเพื่อให้ดีขึ้น.แก้ฟ้อง (กฎ) ก. แก้ไขคำฟ้องตามที่ศาลสั่งในกรณีที่คำฟ้องไม่ถูกต้องตามกฎหมาย; ยื่นคำให้การเป็นข้อต่อสู้คดีเพื่อแก้คำฟ้อง. แก้มือ ก. ขอสู้ใหม่, ทําสิ่งที่เสียแล้วเพื่อให้ดีขึ้น.
แก้ลำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้ชั้นเชิงตอบโต้ให้เท่าเทียมกันหรือหนักมือขึ้น.แก้ลำ ก. ใช้ชั้นเชิงตอบโต้ให้เท่าเทียมกันหรือหนักมือขึ้น.
แก้หน้า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้พ้นอาย.แก้หน้า ก. ทําให้พ้นอาย.
แกง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง กับข้าวประเภทที่เป็นนํ้า มีชื่อต่าง ๆ ตามวิธีปรุงและเครื่องปรุง เช่น แกงจืด แกงเผ็ด แกงส้ม. ในวงเล็บ ดู ี่คํานั้น ๆ เขียนว่า สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-คอ-ควาย-นิก-คะ-หิด-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-โท-นอ-หนู ไม้-ยะ-มก . เป็นคำกริยา หมายถึง ทํากับข้าวประเภทที่เป็นแกง.แกง น. กับข้าวประเภทที่เป็นนํ้า มีชื่อต่าง ๆ ตามวิธีปรุงและเครื่องปรุง เช่น แกงจืด แกงเผ็ด แกงส้ม. (ดูที่คํานั้น ๆ). ก. ทํากับข้าวประเภทที่เป็นแกง.
แกงคั่ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-คอ-ควาย-ไม้-หัน-อา-กาด-ไม้-เอก-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง แกงกะทิชนิดหนึ่ง คล้ายแกงเผ็ดแต่มีรสออกเปรี้ยว เช่น แกงคั่วผักบุ้ง แกงคั่วมะระ.แกงคั่ว น. แกงกะทิชนิดหนึ่ง คล้ายแกงเผ็ดแต่มีรสออกเปรี้ยว เช่น แกงคั่วผักบุ้ง แกงคั่วมะระ.
แกงจืด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-จอ-จาน-สะ-หระ-อือ-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง กับข้าวที่ปรุงเป็นนํ้า รสไม่เผ็ด.แกงจืด น. กับข้าวที่ปรุงเป็นนํ้า รสไม่เผ็ด.
แกงบวด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-วอ-แหวน-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง ของหวานที่ใช้ผลไม้ เผือก มัน ฟักทอง เป็นต้น ต้มกับนํ้าตาลและกะทิ.แกงบวด น. ของหวานที่ใช้ผลไม้ เผือก มัน ฟักทอง เป็นต้น ต้มกับนํ้าตาลและกะทิ.
แกงป่า เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง แกงเผ็ดที่ไม่ใส่กะทิ.แกงป่า น. แกงเผ็ดที่ไม่ใส่กะทิ.
แกงเผ็ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง แกงพวกหนึ่ง ปรุงด้วยเครื่องเผ็ดร้อนเช่นเครื่องเทศ กะทิ มีรสเผ็ด.แกงเผ็ด น. แกงพวกหนึ่ง ปรุงด้วยเครื่องเผ็ดร้อนเช่นเครื่องเทศ กะทิ มีรสเผ็ด.
แกงร้อน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-รอ-เรือ-ไม้-โท-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแกงจืดชนิดหนึ่งใส่วุ้นเส้น.แกงร้อน น. ชื่อแกงจืดชนิดหนึ่งใส่วุ้นเส้น.
แกงส้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง แกงพวกหนึ่ง มีลักษณะคล้ายแกงเผ็ด แต่ไม่ใส่เครื่องเทศ กะทิ หรือ นํ้ามัน มีรสเปรี้ยวด้วยนํ้าส้มมะขาม ใช้ผัก ผลไม้ หรือ ดอกไม้บางอย่าง เป็นต้น แกงกับกุ้งหรือปลา เรียกชื่อตามสิ่งนั้น ๆ เช่น แกงส้มผักกาดขาว แกงส้มมะละกอ แกงส้มดอกแค.แกงส้ม น. แกงพวกหนึ่ง มีลักษณะคล้ายแกงเผ็ด แต่ไม่ใส่เครื่องเทศ กะทิ หรือ นํ้ามัน มีรสเปรี้ยวด้วยนํ้าส้มมะขาม ใช้ผัก ผลไม้ หรือ ดอกไม้บางอย่าง เป็นต้น แกงกับกุ้งหรือปลา เรียกชื่อตามสิ่งนั้น ๆ เช่น แกงส้มผักกาดขาว แกงส้มมะละกอ แกงส้มดอกแค.
แก่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง พืดหินหรือโขดหินที่กีดขวางทางนํ้า มักจะมีตามต้นแม่นํ้า.แก่ง น. พืดหินหรือโขดหินที่กีดขวางทางนํ้า มักจะมีตามต้นแม่นํ้า.
แก้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ขูดให้หมด; เคล็ด, ยอก, เช่น คอแก้ง.แก้ง ก. ขูดให้หมด; เคล็ด, ยอก, เช่น คอแก้ง.
แก้งก้น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู-กอ-ไก่-ไม้-โท-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้ชําระว่า ไม้แก้งก้น.แก้งก้น น. เรียกไม้ชําระว่า ไม้แก้งก้น.
แก๊ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ในความหมายไม่ดี) เช่น แก๊งโจร แก๊งอันธพาล. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gang เขียนว่า จี-เอ-เอ็น-จี.แก๊ง (ปาก) น. กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ในความหมายไม่ดี) เช่น แก๊งโจร แก๊งอันธพาล. (อ. gang).
แกงขม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-ขอ-ไข่-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกินกับขนมจีนนํ้ายา มีมะระหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วลวกให้สุก.แกงขม น. เครื่องกินกับขนมจีนนํ้ายา มีมะระหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วลวกให้สุก.
แกงได เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ดอ-เด็ก เป็นคำนาม หมายถึง รอยกากบาทหรือรอยขีดเขียน ซึ่งบุคคลทําไว้เป็นสําคัญ, ในทางกฎหมาย ถ้าทําลงในเอกสารโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง ๒ คน หรือทําต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ถือเสมอกับลงลายมือชื่อ.แกงได น. รอยกากบาทหรือรอยขีดเขียน ซึ่งบุคคลทําไว้เป็นสําคัญ, ในทางกฎหมาย ถ้าทําลงในเอกสารโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง ๒ คน หรือทําต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ถือเสมอกับลงลายมือชื่อ.
แกงแนง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ไม้คํ้ายันไขว้เป็นรูปกากบาทระหว่างเสาเพื่อป้องกันโครงสร้างมิให้เซหรือรวน.แกงแนง น. ไม้คํ้ายันไขว้เป็นรูปกากบาทระหว่างเสาเพื่อป้องกันโครงสร้างมิให้เซหรือรวน.
แก่งแย่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-แอ-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง พยายามเอารัดเอาเปรียบกันหรือจะเอาแต่ได้ข้างเดียว, ไม่ปรองดองกัน.แก่งแย่ง ก. พยายามเอารัดเอาเปรียบกันหรือจะเอาแต่ได้ข้างเดียว, ไม่ปรองดองกัน.
แกโดลิเนียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-ดอ-เด็ก-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-นอ-หนู-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๖๔ สัญลักษณ์ Gd เป็นโลหะที่หายากมาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๓๑๒°ซ. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gadolinium เขียนว่า จี-เอ-ดี-โอ-แอล-ไอ-เอ็น-ไอ-ยู-เอ็ม.แกโดลิเนียม น. ธาตุลําดับที่ ๖๔ สัญลักษณ์ Gd เป็นโลหะที่หายากมาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๓๑๒°ซ. (อ. gadolinium).
แกน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง วัตถุแข็งที่อยู่ตรงกลางของสิ่งอื่นสําหรับยึดให้อยู่, วัตถุแข็งที่มีสิ่งอื่นหุ้ม. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็งเป็นไตอยู่ข้างใน (มักใช้แก่ผลไม้) เช่น ทุเรียนแกน มะม่วงแกน; ขัดสน, จําใจ, เช่น อยู่ไปแกน ๆ เต็มแกน.แกน น. วัตถุแข็งที่อยู่ตรงกลางของสิ่งอื่นสําหรับยึดให้อยู่, วัตถุแข็งที่มีสิ่งอื่นหุ้ม. ว. แข็งเป็นไตอยู่ข้างใน (มักใช้แก่ผลไม้) เช่น ทุเรียนแกน มะม่วงแกน; ขัดสน, จําใจ, เช่น อยู่ไปแกน ๆ เต็มแกน.
แกนทราย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง แกนที่ใช้ในการหล่อพระพุทธรูปหรืองานประติมากรรมไทยด้วยวิธีสูญขี้ผึ้ง ทำด้วยทรายผสมดินเหนียว หมักให้ชุ่มและเหยียบให้เข้ากันจนเหนียว จึงปั้นขึ้นเป็นรูปเลา ๆ เรียกว่า โกลน แล้วผึ่งให้แห้ง จากนั้นเอาขี้ผึ้งพอกและปั้นส่วนผิวจนเป็นรูปตามที่ต้องการ.แกนทราย น. แกนที่ใช้ในการหล่อพระพุทธรูปหรืองานประติมากรรมไทยด้วยวิธีสูญขี้ผึ้ง ทำด้วยทรายผสมดินเหนียว หมักให้ชุ่มและเหยียบให้เข้ากันจนเหนียว จึงปั้นขึ้นเป็นรูปเลา ๆ เรียกว่า โกลน แล้วผึ่งให้แห้ง จากนั้นเอาขี้ผึ้งพอกและปั้นส่วนผิวจนเป็นรูปตามที่ต้องการ.
แก่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เนื้อไม้แข็งและมีสีเข้ม อยู่ถัดกระพี้เข้าไป, เนื้อแท้, หลักสําคัญ เช่น แก่นพระศาสนา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดื้อรั้นซุกซนไม่เกรงกลัวใคร.แก่น น. เนื้อไม้แข็งและมีสีเข้ม อยู่ถัดกระพี้เข้าไป, เนื้อแท้, หลักสําคัญ เช่น แก่นพระศาสนา. ว. ดื้อรั้นซุกซนไม่เกรงกลัวใคร.
แก่นแก้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่งในทางที่เลว, เก่งในทางซุกซนหรือในทางไม่สู้ดี. ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง เพชร.แก่นแก้ว ว. ยิ่งในทางที่เลว, เก่งในทางซุกซนหรือในทางไม่สู้ดี. (ถิ่น–พายัพ) น. เพชร.
แก่นสาร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ,คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร.แก่นสาร น. สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ,คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร.
แกนะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[กะแหฺนะ] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำกริยา หมายถึง แกะ, สลัก, เจาะ.แกนะ [กะแหฺนะ] (โบ) ก. แกะ, สลัก, เจาะ.
แกแน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง เรียกเด็กที่ทําตัวอวดรู้เป็นผู้ใหญ่ว่า เด็กแกแน.แกแน น. เรียกเด็กที่ทําตัวอวดรู้เป็นผู้ใหญ่ว่า เด็กแกแน.
แก๊ป เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-ปอ-ปลา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อหมวกของทหารตํารวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า เรียกว่า หมวกแก๊ป; เครื่องที่ทําให้ระเบิดเป็นประกายติดดินปืน เดิมมีรูปเหมือนหมวกแก๊ปแต่ไม่มีกะบังปิดหน้า; ชื่อปืนชนิดหนึ่ง มีนกสับ ใช้ยัดกระสุนและดินปืนทางปาก และสับแก๊ป เรียกว่า ปืนแก๊ป. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ cap เขียนว่า ซี-เอ-พี.แก๊ป น. ชื่อหมวกของทหารตํารวจหรือข้าราชการพลเรือนเป็นต้นที่มีกะบังหน้า เรียกว่า หมวกแก๊ป; เครื่องที่ทําให้ระเบิดเป็นประกายติดดินปืน เดิมมีรูปเหมือนหมวกแก๊ปแต่ไม่มีกะบังปิดหน้า; ชื่อปืนชนิดหนึ่ง มีนกสับ ใช้ยัดกระสุนและดินปืนทางปาก และสับแก๊ป เรียกว่า ปืนแก๊ป. (อ. cap).
แกม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ปน เช่น ด้ายแกมไหม คือ ด้ายปนไหม, แต่มีความหมายไปในทางที่ว่า สิ่งที่ปนมีอยู่เป็นส่วนน้อย.แกม ว. ปน เช่น ด้ายแกมไหม คือ ด้ายปนไหม, แต่มีความหมายไปในทางที่ว่า สิ่งที่ปนมีอยู่เป็นส่วนน้อย.
แก้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณหน้าทั้ง ๒ ข้างถัดตาลงมา, ราชาศัพท์ว่า พระปราง, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีรูปเช่นนั้น เช่น เฉือนมะม่วงเอาแต่ ๒ แก้ม = เฉือนเอา ๒ ส่วนที่มีลักษณะเหมือนแก้ม.แก้ม น. บริเวณหน้าทั้ง ๒ ข้างถัดตาลงมา, ราชาศัพท์ว่า พระปราง, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่มีรูปเช่นนั้น เช่น เฉือนมะม่วงเอาแต่ ๒ แก้ม = เฉือนเอา ๒ ส่วนที่มีลักษณะเหมือนแก้ม.
แก้มช้ำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-ชอ-ช้าง-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Puntius orphoides ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาตะเพียน แต่มีลักษณะเด่นที่มีลําตัวยาวกว่า โดยเฉพาะที่แผ่นปิดเหงือกมีสีแดงเรื่อคล้ายรอยชํ้า สุดแผ่นปิดเหงือกดํา โคนครีบหางมีจุดสีดํา พื้นครีบสีแดง ขอบบนและล่างดํา มีชุกชุมทั่วไป ยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, ปักษ์ใต้เรียก ปก.แก้มช้ำ น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Puntius orphoides ในวงศ์ Cyprinidae รูปร่างคล้ายปลาตะเพียน แต่มีลักษณะเด่นที่มีลําตัวยาวกว่า โดยเฉพาะที่แผ่นปิดเหงือกมีสีแดงเรื่อคล้ายรอยชํ้า สุดแผ่นปิดเหงือกดํา โคนครีบหางมีจุดสีดํา พื้นครีบสีแดง ขอบบนและล่างดํา มีชุกชุมทั่วไป ยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, ปักษ์ใต้เรียก ปก.
แก้มแดง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L.แก้มแดง น. ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L.
แกมมา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในฟิสิกส์ เป็นคำนาม หมายถึง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอํานาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์–๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gamma เขียนว่า จี-เอ-เอ็ม-เอ็ม-เอ.แกมมา (ฟิสิกส์) น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอํานาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์–๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร. (อ. gamma).
แก้มแหม่ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-มอ-ม้า-สะ-หระ-แอ-หอ-หีบ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อชมพู่พันธุ์หนึ่งของชนิด Eugenia javanica Lam. ผลกลมแป้น สีชมพูเรื่อ ๆ.แก้มแหม่ม น. ชื่อชมพู่พันธุ์หนึ่งของชนิด Eugenia javanica Lam. ผลกลมแป้น สีชมพูเรื่อ ๆ.
แกรก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่[แกฺรก] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังเหมือนเล็บขูดพื้น, เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากการย่องหรือเล็ดลอด.แกรก [แกฺรก] ว. เสียงดังเหมือนเล็บขูดพื้น, เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากการย่องหรือเล็ดลอด.
แกร่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู[แกฺร่ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แข็ง, แข็งกร้าว.แกร่ง [แกฺร่ง] ว. แข็ง, แข็งกร้าว.
แกร็น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู[แกฺร็น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่ คน สัตว์ และพืช).แกร็น [แกฺร็น] ว. ไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่ คน สัตว์ และพืช).
แกรนิต เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-นอ-หนู-สะ-หระ-อิ-ตอ-เต่า[แกฺร–] เป็นคำนาม หมายถึง หินอัคนีชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยหินเขี้ยวหนุมาน หินฟันม้า และแร่กลีบหินเป็นส่วนใหญ่ มีหลายสี ขัดให้เป็นเงาได้ กรดไม่กัด แข็งและทนทานมาก. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ granite เขียนว่า จี-อา-เอ-เอ็น-ไอ-ที-อี.แกรนิต [แกฺร–] น. หินอัคนีชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยหินเขี้ยวหนุมาน หินฟันม้า และแร่กลีบหินเป็นส่วนใหญ่ มีหลายสี ขัดให้เป็นเงาได้ กรดไม่กัด แข็งและทนทานมาก. (อ. granite).
แกรไฟต์ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ฟอ-ฟัน-ตอ-เต่า-ทัน-ทะ-คาด[แกฺร–] เป็นคำนาม หมายถึง อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดํา ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดํา เนื้ออ่อน เป็นตัวนําความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทําไส้ดินสอดํา เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจํานวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ graphite เขียนว่า จี-อา-เอ-พี-เอช-ไอ-ที-อี.แกรไฟต์ [แกฺร–] น. อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดํา ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดํา เนื้ออ่อน เป็นตัวนําความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทําไส้ดินสอดํา เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจํานวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. (อ. graphite).
แกร่ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-วอ-แหวน[แกฺร่ว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทนรอหรือทนอยู่กับที่เป็นเวลานาน.แกร่ว [แกฺร่ว] ว. ทนรอหรือทนอยู่กับที่เป็นเวลานาน.
แกระ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [แกฺระ] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องมือชนิดหนึ่งสําหรับตัดรวงข้าว ใช้ทางปักษ์ใต้. เป็นคำกริยา หมายถึง ตัด, แทง, เช่น กฤชกรดแกระทรวง. ในวงเล็บ มาจาก หนังสือบทเสภา เรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐-๖๑.แกระ ๑ [แกฺระ] น. เครื่องมือชนิดหนึ่งสําหรับตัดรวงข้าว ใช้ทางปักษ์ใต้. ก. ตัด, แทง, เช่น กฤชกรดแกระทรวง. (ขุนช้างขุนแผน).
แกระ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ [แกฺระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง กรับ.แกระ ๒ [แกฺระ] (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. กรับ.
แกล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง[แกฺล] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในราชาศัพท์ เป็นคำนาม หมายถึง หน้าต่าง, ใช้ว่า พระแกล เช่น เปิดพระแกล.แกล [แกฺล] (ราชา) น. หน้าต่าง, ใช้ว่า พระแกล เช่น เปิดพระแกล.
แกล่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก[แกฺล่] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใกล้, เกือบ, เช่น สามลักษณะนี้ใกล้ แกล่แม้นไป่มี. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง.แกล่ [แกฺล่] (โบ) ว. ใกล้, เกือบ, เช่น สามลักษณะนี้ใกล้ แกล่แม้นไป่มี. (โลกนิติ).
แกล้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู[แกฺล้ง] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําให้เดือดร้อนรําคาญ เช่น เขาแกล้งฉัน, แสร้ง เช่น เขาแกล้งทําเป็นปวดฟัน, จงใจทํา พูด หรือแสดงอาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เขาเสียหาย อาย เดือดร้อน ขัดข้อง เข้าใจผิด เป็นต้น เช่น ข้าพเจ้าไม่ได้ทําผิดเลยแต่เขาแกล้งใส่ร้าย; ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ หมายถึง ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์.แกล้ง [แกฺล้ง] ก. ทําให้เดือดร้อนรําคาญ เช่น เขาแกล้งฉัน, แสร้ง เช่น เขาแกล้งทําเป็นปวดฟัน, จงใจทํา พูด หรือแสดงอาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เขาเสียหาย อาย เดือดร้อน ขัดข้อง เข้าใจผิด เป็นต้น เช่น ข้าพเจ้าไม่ได้ทําผิดเลยแต่เขาแกล้งใส่ร้าย; (โบ) ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์. (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
แกล้งเกลา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ประณีต, ประดิดประดอย.แกล้งเกลา ว. ประณีต, ประดิดประดอย.
แกลน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-นอ-หนู[แกฺลน] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง คร้าม, กลัว, เกรง, เช่น ฤๅแกลนกําลังศร. ในวงเล็บ มาจาก สรรพสิทธิ์คำฉันท์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิต ชิโนรส ทรงนิพนธ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.แกลน [แกฺลน] (โบ; กลอน) ก. คร้าม, กลัว, เกรง, เช่น ฤๅแกลนกําลังศร. (สรรพสิทธิ์).
แกลบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [แกฺลบ] เป็นคำนาม หมายถึง เปลือกข้าวที่สีหรือตําแตกออกจากเมล็ดข้าว.แกลบ ๑ [แกฺลบ] น. เปลือกข้าวที่สีหรือตําแตกออกจากเมล็ดข้าว.
แกลบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [แกฺลบ] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อแมลงพวกเดียวกับแมลงสาบ แต่มีขนาดเล็กกว่า คือ ยาว ๑.๓–๑.๕ เซนติเมตร กว้าง ๕–๑๐ มิลลิเมตร ลําตัวแบน รูปไข่ ขอบหน้าด้านหลังของปล้องอกยื่นออกไปคลุมหัว หนวดยาว ขายาวมีหนามคลุมเต็ม บางชนิดอาศัยอยู่ตามขี้เลื่อย หรือกองแกลบที่ผุพัง เช่น ชนิด Pycnocelis surinamensis ในวงศ์ Blaberidae แต่บางชนิดอาศัยอยู่ในบ้านเรือน ตามกองกระดาษหรือเศษขยะมูลฝอย เช่น ชนิด Blattella germanica, Supella supellectilium ในวงศ์ Blattellidae.แกลบ ๒ [แกฺลบ] น. ชื่อแมลงพวกเดียวกับแมลงสาบ แต่มีขนาดเล็กกว่า คือ ยาว ๑.๓–๑.๕ เซนติเมตร กว้าง ๕–๑๐ มิลลิเมตร ลําตัวแบน รูปไข่ ขอบหน้าด้านหลังของปล้องอกยื่นออกไปคลุมหัว หนวดยาว ขายาวมีหนามคลุมเต็ม บางชนิดอาศัยอยู่ตามขี้เลื่อย หรือกองแกลบที่ผุพัง เช่น ชนิด Pycnocelis surinamensis ในวงศ์ Blaberidae แต่บางชนิดอาศัยอยู่ในบ้านเรือน ตามกองกระดาษหรือเศษขยะมูลฝอย เช่น ชนิด Blattella germanica, Supella supellectilium ในวงศ์ Blattellidae.
แกลบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [แกฺลบ] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกม้าพันธุ์เล็กว่า ม้าแกลบ; เรียกวิหารขนาดเล็กว่า วิหารแกลบ.แกลบ ๓ [แกฺลบ] น. เรียกม้าพันธุ์เล็กว่า ม้าแกลบ; เรียกวิหารขนาดเล็กว่า วิหารแกลบ.
แกลบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ความหมายที่ [แกฺลบ] เป็นคำนาม หมายถึง เทียนแกลบ. ในวงเล็บ ดู เทียนแกลบ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้ ที่ เทียน เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู ความหมายที่ ๓.แกลบ ๔ [แกฺลบ] น. เทียนแกลบ. (ดู เทียนแกลบ ที่ เทียน ๓).
แกลบหนู, แกลบหูหนู แกลบหนู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู แกลบหูหนู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู [แกฺลบ–]ดู กระดูกอึ่ง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-อึ-ไม้-เอก-งอ-งู.แกลบหนู, แกลบหูหนู [แกฺลบ–] ดู กระดูกอึ่ง.
แกล้ม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-มอ-ม้า[แกฺล้ม] เป็นคำนาม หมายถึง ของกินกับเหล้า, กับแกล้ม ก็ว่า. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไปด้วยกัน, ควบคู่กันไป, แกมกัน, (ใช้แก่กิริยากิน) เช่น กินแกล้มเหล้า.แกล้ม [แกฺล้ม] น. ของกินกับเหล้า, กับแกล้ม ก็ว่า. ว. ไปด้วยกัน, ควบคู่กันไป, แกมกัน, (ใช้แก่กิริยากิน) เช่น กินแกล้มเหล้า.
แกลลอน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู[แกน–] เป็นคำนาม หมายถึง หน่วยวัดปริมาตรของอังกฤษ ๑ แกลลอน = ๔.๕๔๖๐๙ ลิตร (British Imperial gallon), หน่วยวัดปริมาตรของสหรัฐอเมริกา ๑ แกลลอน = ๓.๗๘๕๔๔ ลิตร (U.S. gallon). ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gallon เขียนว่า จี-เอ-แอล-แอล-โอ-เอ็น.แกลลอน [แกน–] น. หน่วยวัดปริมาตรของอังกฤษ ๑ แกลลอน = ๔.๕๔๖๐๙ ลิตร (British Imperial gallon), หน่วยวัดปริมาตรของสหรัฐอเมริกา ๑ แกลลอน = ๓.๗๘๕๔๔ ลิตร (U.S. gallon). (อ. gallon).
แกลเลียม เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-เอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-มอ-ม้า[แกน–] เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุลําดับที่ ๓๑ สัญลักษณ์ Ga เป็นโลหะสีขาวคล้ายเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๙.๗๘°ซ. เดือดที่ ๒๑๐๐°ซ. ใช้ทําเทอร์โมมิเตอร์ชนิดใช้วัดอุณหภูมิสูง ๆ สารประกอบแกลเลียมอาร์เซไนด์ใช้ประโยชน์เป็นวัตถุกึ่งตัวนํา. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gallium เขียนว่า จี-เอ-แอล-แอล-ไอ-ยู-เอ็ม.แกลเลียม [แกน–] น. ธาตุลําดับที่ ๓๑ สัญลักษณ์ Ga เป็นโลหะสีขาวคล้ายเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๙.๗๘°ซ. เดือดที่ ๒๑๐๐°ซ. ใช้ทําเทอร์โมมิเตอร์ชนิดใช้วัดอุณหภูมิสูง ๆ สารประกอบแกลเลียมอาร์เซไนด์ใช้ประโยชน์เป็นวัตถุกึ่งตัวนํา. (อ. gallium).
แกล้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-วอ-แหวน[แกฺล้ว] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กล้า, องอาจ, เก่ง, ว่องไว.แกล้ว [แกฺล้ว] ว. กล้า, องอาจ, เก่ง, ว่องไว.
แกละ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ[แกฺละ] เป็นคำนาม หมายถึง ผมเด็กผู้ชายที่เอาไว้เป็นแหยมตรงแง่ศีรษะ เรียกว่า ผมแกละ.แกละ [แกฺละ] น. ผมเด็กผู้ชายที่เอาไว้เป็นแหยมตรงแง่ศีรษะ เรียกว่า ผมแกละ.
แกแล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง กาแล, ชื่อไม้เครื่องเรือนที่ต่อจากปั้นลมทั้ง ๒ ด้านไปไขว้กัน อยู่ตอนบนสุดของหลังคาที่ยื่นจากจั่ว อาจสลักลวดลายตามแต่จะเห็นงาม, บางถิ่นเรียก กะแล.แกแล ๑ (ถิ่น–พายัพ) น. กาแล, ชื่อไม้เครื่องเรือนที่ต่อจากปั้นลมทั้ง ๒ ด้านไปไขว้กัน อยู่ตอนบนสุดของหลังคาที่ยื่นจากจั่ว อาจสลักลวดลายตามแต่จะเห็นงาม, บางถิ่นเรียก กะแล.
แกแล เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยเนื้อแข็งชนิด Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner ในวงศ์ Moraceae ขึ้นในป่าดิบ ต้นมีหนาม แก่นเหลืองใช้ย้อมผ้าและทํายา, กะแล หรือ เข ก็เรียก.แกแล ๒ น. ชื่อไม้พุ่มรอเลื้อยเนื้อแข็งชนิด Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner ในวงศ์ Moraceae ขึ้นในป่าดิบ ต้นมีหนาม แก่นเหลืองใช้ย้อมผ้าและทํายา, กะแล หรือ เข ก็เรียก.
แกว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง คนชาติหนึ่งในเขตตังเกี๋ย.แกว ๑ น. คนชาติหนึ่งในเขตตังเกี๋ย.
แกว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เรียกไม้ยาว ๆ ที่ผูกเบ็ดที่ปลายสําหรับชักกบในรูว่า ขอแกว.แกว ๒ น. เรียกไม้ยาว ๆ ที่ผูกเบ็ดที่ปลายสําหรับชักกบในรูว่า ขอแกว.
แกว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง เบาะแส, ระแคะระคาย, ในคําว่า รู้แกว.แกว ๓ น. เบาะแส, ระแคะระคาย, ในคําว่า รู้แกว.
แกว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) พริกแกว. ในวงเล็บ ดู ขี้หนู ๑ (๑)]. (๒) มันแกว. (ดู มันแกว เขียนว่า ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-หอ-หีบ-นอ-หนู-สะ-หระ-อู หนึ่ง ??40??-หนึ่ง-??41??-??93??-??60??-??47??-อี-เอ็ม-??62??-จุด ??40??-สอง-??41?? มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-จุด ??60??-อี-เอ็ม-??62??-??40??-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน ที่ มัน เขียนว่า มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ความหมายที่ ๑.แกว ๔ น. (๑) พริกแกว. [ดู ขี้หนู ๑ (๑)]. (๒) มันแกว. (ดู มันแกว ที่ มัน ๑).
แก้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง หินแข็งใส แลลอดเข้าไปข้างในได้ ได้แก่จําพวกเพชรพลอย, ของที่ทําเทียมให้มีลักษณะเช่นนั้น, ของที่ได้จากการใช้ทรายขาวเป็นส่วนประกอบสําคัญมาหลอมกับสารที่มีสมบัติเป็นด่างเช่นออกไซด์ของโซเดียม ออกไซด์ของแคลเซียม แล้วมีลักษณะเช่นนั้น; เรียกภาชนะที่ทําด้วยแก้วสําหรับใส่นํ้ากินเป็นต้นว่า ถ้วยแก้ว หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แก้ว, เรียกภาชนะที่ทําด้วยแก้ว เช่น ชามแก้ว; โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เคารพนับถือยิ่ง ในคําว่า แก้วทั้ง ๓ อันหมายถึง พระรัตนตรัย, หรือใช้ประกอบคํานามให้หมายความว่าสิ่งนั้นมีค่ามาก เป็นที่รัก หรือดีเยี่ยม เช่น นางแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว ลูกแก้ว, หรือใช้เรียกของใสบางชนิด เช่น กระดาษแก้ว ผ้าแก้ว ข้าวเหนียวแก้ว.แก้ว ๑ น. หินแข็งใส แลลอดเข้าไปข้างในได้ ได้แก่จําพวกเพชรพลอย, ของที่ทําเทียมให้มีลักษณะเช่นนั้น, ของที่ได้จากการใช้ทรายขาวเป็นส่วนประกอบสําคัญมาหลอมกับสารที่มีสมบัติเป็นด่างเช่นออกไซด์ของโซเดียม ออกไซด์ของแคลเซียม แล้วมีลักษณะเช่นนั้น; เรียกภาชนะที่ทําด้วยแก้วสําหรับใส่นํ้ากินเป็นต้นว่า ถ้วยแก้ว หรือเรียกสั้น ๆ ว่า แก้ว, เรียกภาชนะที่ทําด้วยแก้ว เช่น ชามแก้ว; โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่เคารพนับถือยิ่ง ในคําว่า แก้วทั้ง ๓ อันหมายถึง พระรัตนตรัย, หรือใช้ประกอบคํานามให้หมายความว่าสิ่งนั้นมีค่ามาก เป็นที่รัก หรือดีเยี่ยม เช่น นางแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว ลูกแก้ว, หรือใช้เรียกของใสบางชนิด เช่น กระดาษแก้ว ผ้าแก้ว ข้าวเหนียวแก้ว.
แก้วก๊อ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-ออ-อ่าง ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ทับทิม.แก้วก๊อ (ถิ่น–พายัพ) น. ทับทิม.
แก้วกุ้ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง รังไข่ของกุ้งที่เจริญเต็มที่ มีสีแดงอมส้มหรือสีส้ม, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นมันกุ้งที่เป็นก้อนอยู่ในหัวกุ้ง.แก้วกุ้ง น. รังไข่ของกุ้งที่เจริญเต็มที่ มีสีแดงอมส้มหรือสีส้ม, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นมันกุ้งที่เป็นก้อนอยู่ในหัวกุ้ง.
แก้วแกลบ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-บอ-ไบ-ไม้[–แกฺลบ] เป็นคำนาม หมายถึง ตะกรันเกิดจากเถ้าแกลบที่แข็ง มีสีขาว; ชื่อแร่หินชนิดหนึ่ง.แก้วแกลบ [–แกฺลบ] น. ตะกรันเกิดจากเถ้าแกลบที่แข็ง มีสีขาว; ชื่อแร่หินชนิดหนึ่ง.
แก้วชิงดวง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อิ-งอ-งู-ดอ-เด็ก-วอ-แหวน-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อลายชนิดหนึ่ง เป็นลายแย่งดอกกันหรือเป็นดอกเกี่ยวกัน, ชิงดวง ก็ว่า.แก้วชิงดวง น. ชื่อลายชนิดหนึ่ง เป็นลายแย่งดอกกันหรือเป็นดอกเกี่ยวกัน, ชิงดวง ก็ว่า.
แก้วตา เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนสําคัญของตาที่ทําให้แลเห็น, ส่วนใสของดวงตามีรูปกลมนูนทั้ง ๒ ข้าง ลักษณะใส แต่พื้นหลังนูนออกมากกว่าพื้นหน้า ตั้งอยู่ภายในดวงตา (ข้างหลังกระจกตา กั้นอยู่ระหว่าง posterior chamber กับ vitreous body ของดวงตา); โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่รักยิ่ง.แก้วตา น. ส่วนสําคัญของตาที่ทําให้แลเห็น, ส่วนใสของดวงตามีรูปกลมนูนทั้ง ๒ ข้าง ลักษณะใส แต่พื้นหลังนูนออกมากกว่าพื้นหน้า ตั้งอยู่ภายในดวงตา (ข้างหลังกระจกตา กั้นอยู่ระหว่าง posterior chamber กับ vitreous body ของดวงตา); โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่รักยิ่ง.
แก้วผลึก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-ผอ-ผึ้ง-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง แก้วหินสีขาวสลัว. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ milky เขียนว่า เอ็ม-ไอ-แอล-เค-วาย quartz เขียนว่า คิว-ยู-เอ-อา-ที-แซด .แก้วผลึก น. แก้วหินสีขาวสลัว. (อ. milky quartz).
แก้วมรกต เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-มอ-ม้า-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคซางละอองเป็นฝ้าบาง ๆ ที่ขึ้นตามลิ้นและในปาก มีสีเขียวดังสีใบไม้ กระทําให้หน้าเขียว บางทีก็เหลืองหรือดํา ลิ้นกระด้าง คางแข็ง มือกํา เท้างอ. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในแพทยศาสตร์ .แก้วมรกต น. ชื่อโรคซางละอองเป็นฝ้าบาง ๆ ที่ขึ้นตามลิ้นและในปาก มีสีเขียวดังสีใบไม้ กระทําให้หน้าเขียว บางทีก็เหลืองหรือดํา ลิ้นกระด้าง คางแข็ง มือกํา เท้างอ. (แพทย์).
แก้ววิเชียร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อโรคซางละอองเป็นฝ้าบาง ๆ ที่ขึ้นตามลิ้นหรือเพดานหรือกระพุ้งแก้ม สีขาวดั่งเนื้อในมะพร้าว มีอาการท้องอืด ลงท้องนับหนไม่ถ้วน. ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในแพทยศาสตร์ .แก้ววิเชียร น. ชื่อโรคซางละอองเป็นฝ้าบาง ๆ ที่ขึ้นตามลิ้นหรือเพดานหรือกระพุ้งแก้ม สีขาวดั่งเนื้อในมะพร้าว มีอาการท้องอืด ลงท้องนับหนไม่ถ้วน. (แพทย์).
แก้วสารพัดนึก เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก-นอ-หนู-สะ-หระ-อึ-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง แก้วที่เชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดมีอยู่แล้ว นึกอะไรได้อย่างใจ.แก้วสารพัดนึก น. แก้วที่เชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดมีอยู่แล้ว นึกอะไรได้อย่างใจ.
แก้วสีไม้ไผ่ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-โท-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ผอ-ผึ้ง-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ไพฑูรย์, เพชรตาแมว.แก้วสีไม้ไผ่ น. ไพฑูรย์, เพชรตาแมว.
แก้วหิน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง แร่เขี้ยวหนุมาน สีขาวใสหรือมัว.แก้วหิน น. แร่เขี้ยวหนุมาน สีขาวใสหรือมัว.
แก้วหู เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-หอ-หีบ-สะ-หระ-อู เป็นคำนาม หมายถึง เยื่อในหูสําหรับรับเสียง.แก้วหู น. เยื่อในหูสําหรับรับเสียง.
แก้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอในวงศ์ Psittacidae ตัวสีเขียว ปากมีหลายสี เช่น แดง เหลือง อยู่รวมกันเป็นฝูง กินเมล็ดพืชและผลไม้ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แก้วโม่ง (Psittacula eupatria) แก้วหัวแพร (P. roseata).แก้ว ๒ น. ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอในวงศ์ Psittacidae ตัวสีเขียว ปากมีหลายสี เช่น แดง เหลือง อยู่รวมกันเป็นฝูง กินเมล็ดพืชและผลไม้ ในประเทศไทยมีหลายชนิด เช่น แก้วโม่ง (Psittacula eupatria) แก้วหัวแพร (P. roseata).
แก้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อตัวหนอนซึ่งเป็นตัวอ่อนของผีเสื้อ ตามลําตัวมีขนน้อยและมักเป็นขนสั้น ๆ ผิวลําตัวเป็นมันเลื่อมคล้ายแก้ว มีสีสันต่าง ๆ กัน บางชนิดสีเขียว เขียวปนเหลือง และบางชนิดมีลายเป็นดวง ๆ บางชนิดจะปล่อยสารใสคล้ายแก้วเห็นเป็นทางเมื่อเคลื่อนผ่านไป เช่น หนอนแก้วส้ม (เช่น ชนิด Papilio demoleus) ในวงศ์ Papilionidae.แก้ว ๓ น. ชื่อตัวหนอนซึ่งเป็นตัวอ่อนของผีเสื้อ ตามลําตัวมีขนน้อยและมักเป็นขนสั้น ๆ ผิวลําตัวเป็นมันเลื่อมคล้ายแก้ว มีสีสันต่าง ๆ กัน บางชนิดสีเขียว เขียวปนเหลือง และบางชนิดมีลายเป็นดวง ๆ บางชนิดจะปล่อยสารใสคล้ายแก้วเห็นเป็นทางเมื่อเคลื่อนผ่านไป เช่น หนอนแก้วส้ม (เช่น ชนิด Papilio demoleus) ในวงศ์ Papilionidae.
แก้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อปลาทะเลพวกปลาจวดชนิด Otolithoides biauritus ในวงศ์ Sciaenidae ลําตัวยาวเรียว ปากเล็ก ทู่ ฟันเล็ก ครีบหางแหลม ก้านครีบก้นมีขนาดเล็ก เกล็ดในแนวเส้นข้างตัวขยายใหญ่และนูนเป็นสัน ลําตัวสีเทา ใกล้สันท้องมีสีเงินคล้ายปลาจวดชนิดอื่น ยาวได้ถึง ๑ เมตร, จวดลาก ก็เรียก.แก้ว ๔ น. ชื่อปลาทะเลพวกปลาจวดชนิด Otolithoides biauritus ในวงศ์ Sciaenidae ลําตัวยาวเรียว ปากเล็ก ทู่ ฟันเล็ก ครีบหางแหลม ก้านครีบก้นมีขนาดเล็ก เกล็ดในแนวเส้นข้างตัวขยายใหญ่และนูนเป็นสัน ลําตัวสีเทา ใกล้สันท้องมีสีเงินคล้ายปลาจวดชนิดอื่น ยาวได้ถึง ๑ เมตร, จวดลาก ก็เรียก.
แก้ว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลางชนิด Murraya paniculata (L.) Jack ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นตามป่าดิบ กิ่งก้านสีขาว ใบสีเขียวสดเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอม เนื้อไม้แข็งใส เหนียว มีลาย ใช้ทําด้ามมีดและไม้ถือ. (๒) ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. นิยมกินดิบ ๆ หรือดอง. (๓) ส้มแก้ว. ในวงเล็บ ดู ส้ม เขียนว่า สอ-เสือ-ไม้-โท-มอ-ม้า ความหมายที่ ๑.(๔) ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ หมายถึง ต้นพิกุล. ในวงเล็บ ดู พิกุล เขียนว่า พอ-พาน-สะ-หระ-อิ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-ลอ-ลิง.แก้ว ๕ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลางชนิด Murraya paniculata (L.) Jack ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นตามป่าดิบ กิ่งก้านสีขาว ใบสีเขียวสดเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอม เนื้อไม้แข็งใส เหนียว มีลาย ใช้ทําด้ามมีดและไม้ถือ. (๒) ชื่อมะม่วงพันธุ์หนึ่งของชนิด Mangifera indica L. นิยมกินดิบ ๆ หรือดอง. (๓) ส้มแก้ว. (ดู ส้ม ๑).(๔) (ถิ่น–พายัพ) ต้นพิกุล. (ดู พิกุล).
แก้วกาหลง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ต้นกระเบาใหญ่ที่มีแต่ดอกเพศผู้. ในวงเล็บ ดู กระเบา เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๑.แก้วกาหลง น. ต้นกระเบาใหญ่ที่มีแต่ดอกเพศผู้. (ดู กระเบา ๑).
แกว่ง เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-งอ-งู[แกฺว่ง] เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่เคลื่อนไหวไปทางโน้นทีทางนี้ทีโดยที่โคนหรือต้นของสิ่งนั้นติดอยู่กับสิ่งอื่น, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยู่กับที่, ไม่อยู่ในแนว, เช่น จิตแกว่ง.แกว่ง [แกฺว่ง] ก. อาการที่เคลื่อนไหวไปทางโน้นทีทางนี้ทีโดยที่โคนหรือต้นของสิ่งนั้นติดอยู่กับสิ่งอื่น, โดยปริยายหมายความว่า ไม่อยู่กับที่, ไม่อยู่ในแนว, เช่น จิตแกว่ง.
แกว่งกวัด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก[แกฺว่งกฺวัด] เป็นคำกริยา หมายถึง จับด้ามวัตถุให้ปลายตั้งขึ้นแล้วปัดไปมา เช่น แกว่งกวัดอาวุธ, ไม่อยู่ที่ เช่น จิตแกว่งกวัด, กวัดแกว่ง ก็ว่า.แกว่งกวัด [แกฺว่งกฺวัด] ก. จับด้ามวัตถุให้ปลายตั้งขึ้นแล้วปัดไปมา เช่น แกว่งกวัดอาวุธ, ไม่อยู่ที่ เช่น จิตแกว่งกวัด, กวัดแกว่ง ก็ว่า.
แกว่งไกว เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง แกว่งไปมา.แกว่งไกว ก. แกว่งไปมา.
แกว่งตีนหาเสี้ยน, แกว่งเท้าหาเสี้ยน แกว่งตีนหาเสี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-งอ-งู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู แกว่งเท้าหาเสี้ยน เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-สะ-หระ-อา-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง รนหาเรื่องเดือดร้อน.แกว่งตีนหาเสี้ยน, แกว่งเท้าหาเสี้ยน (สำ) ก. รนหาเรื่องเดือดร้อน.
แกว่น เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-เอก-นอ-หนู[แกฺว่น] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง แก่น. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แกล้วกล้า, ว่องไว.แกว่น [แกฺว่น] (โบ) น. แก่น. ว. แกล้วกล้า, ว่องไว.
แก๊ส เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-ตรี-สอ-เสือ เป็นคำนาม หมายถึง อากาศธาตุ, ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในวิทยาศาสตร์ หมายถึง สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน (acetylene) ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับน้ำว่า ไฟแก๊ส, ก๊าซ ก็ว่า. ในวงเล็บ มาจากภาษาอังกฤษ gas เขียนว่า จี-เอ-เอส.แก๊ส น. อากาศธาตุ, (วิทยา) สถานะหนึ่งของสสาร รูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ขึ้นอยู่กับภาชนะที่บรรจุ, เรียกไฟซึ่งเกิดจากการจุดอะเซทิลีน (acetylene) ซึ่งได้จากก้อนแคลเซียมคาร์ไบด์ทำปฏิกิริยากับน้ำว่า ไฟแก๊ส, ก๊าซ ก็ว่า. (อ. gas).
แกะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องในสกุล Ovis วงศ์ Bovidae รูปร่างคล้ายแพะ แต่มีขนเป็นปุยหนา ใช้ทําเครื่องนุ่งห่ม.แกะ ๑ น. ชื่อสัตว์เคี้ยวเอื้องในสกุล Ovis วงศ์ Bovidae รูปร่างคล้ายแพะ แต่มีขนเป็นปุยหนา ใช้ทําเครื่องนุ่งห่ม.
แกะดำ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง คนที่ทําอะไรผิดเพื่อนผิดฝูงในกลุ่มนั้น ๆ (ใช้ในทางไม่ดี).แกะดำ (สำ) น. คนที่ทําอะไรผิดเพื่อนผิดฝูงในกลุ่มนั้น ๆ (ใช้ในทางไม่ดี).
แกะ เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง เอาเล็บมือค่อย ๆ แคะเพื่อให้หลุดออก เช่น แกะสะเก็ด, เอาสิ่งที่มีลักษณะคล้ายเล็บมือทําเช่นนั้น, ทําเป็นลวดลายหรือรูปต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือ โดยวิธีแกะ เช่น แกะตรา, โดยปริยายหมายความว่า เหมือนกันอย่างกับโขกหรือแคะมาจากพิมพ์เดียวกัน ในความว่า เหมือนกันอย่างกับแกะ; เอามือแงะหรือง้างสิ่งที่เกาะติดกันแน่นหรือกอดไว้แน่นให้หลุดออกจากกัน เช่น แกะมือที่กําแน่น.แกะ ๒ ก. เอาเล็บมือค่อย ๆ แคะเพื่อให้หลุดออก เช่น แกะสะเก็ด, เอาสิ่งที่มีลักษณะคล้ายเล็บมือทําเช่นนั้น, ทําเป็นลวดลายหรือรูปต่าง ๆ ด้วยเครื่องมือ โดยวิธีแกะ เช่น แกะตรา, โดยปริยายหมายความว่า เหมือนกันอย่างกับโขกหรือแคะมาจากพิมพ์เดียวกัน ในความว่า เหมือนกันอย่างกับแกะ; เอามือแงะหรือง้างสิ่งที่เกาะติดกันแน่นหรือกอดไว้แน่นให้หลุดออกจากกัน เช่น แกะมือที่กําแน่น.
แกะรอย เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง ติดตามหาร่องรอย.แกะรอย ก. ติดตามหาร่องรอย.
แกะแร เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-แอ-รอ-เรือ เป็นคำกริยา หมายถึง แกะพื้นผิวโลหะให้เป็นเส้นหรือเป็นเหลี่ยมขึ้นเงาดูคล้ายฝังเพชร.แกะแร ก. แกะพื้นผิวโลหะให้เป็นเส้นหรือเป็นเหลี่ยมขึ้นเงาดูคล้ายฝังเพชร.
แกะสะเก็ด เขียนว่า สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-ไต่-คู้-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง เป็นคําเปรียบหมายความว่ารื้อฟื้นเรื่องเก่าขึ้นมาพูดให้เจ็บใจ.แกะสะเก็ด ก. เป็นคําเปรียบหมายความว่ารื้อฟื้นเรื่องเก่าขึ้นมาพูดให้เจ็บใจ.
โก่, โก้ โก่ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก โก้ ความหมายที่ ๑ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำกริยา หมายถึง กู่ตะโกน, เรียกดัง ๆ.โก่, โก้ ๑ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ก. กู่ตะโกน, เรียกดัง ๆ.
โก้ ๒, โก้หร่าน โก้ ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท โก้หร่าน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-หอ-หีบ-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรูหราภูมิฐาน (มักใช้แก่กิริยาแต่งตัวหรือการแสดงกิริยาอื่น ๆ).โก้ ๒, โก้หร่าน ว. หรูหราภูมิฐาน (มักใช้แก่กิริยาแต่งตัวหรือการแสดงกิริยาอื่น ๆ).
โก๋เก๋ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หรูหรางามเข้าที (มักใช้แก่กิริยาแต่งตัวหรือการแสดงกิริยาอื่น ๆ).โก๋เก๋ ว. หรูหรางามเข้าที (มักใช้แก่กิริยาแต่งตัวหรือการแสดงกิริยาอื่น ๆ).
โก๋ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมนํ้าตาลทราย อัดใส่พิมพ์เป็นรูปต่าง ๆ.โก๋ น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทําด้วยแป้งข้าวเหนียวผสมนํ้าตาลทราย อัดใส่พิมพ์เป็นรูปต่าง ๆ.
โกก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, คอม ตะโกก หรือ ตะโหงก ก็เรียก. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงดังอย่างเคาะไม้ด้วยกะลา.โกก ๑ น. ไม้รูปโค้งปลายทั้ง ๒ ข้างงอขึ้นเล็กน้อย ใช้พาดคอวัวหรือคอควายสําหรับลากเลื่อนเป็นต้น, คอม ตะโกก หรือ ตะโหงก ก็เรียก. ว. เสียงดังอย่างเคาะไม้ด้วยกะลา.
โกกเกก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง คดโกง, เกะกะระราน, เกกมะเหรก, เช่น มีกิริยาโกกเกกร้ายกาจ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำกาพย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๕๙ กัณฑ์กุมารบรรพ.โกกเกก ก. คดโกง, เกะกะระราน, เกกมะเหรก, เช่น มีกิริยาโกกเกกร้ายกาจ. (ม. กาพย์ กุมารบรรพ).
โกก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่ ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คอก เช่น แขนโกก ว่า แขนคอก.โกก ๒ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) ว. คอก เช่น แขนโกก ว่า แขนคอก.
โกกนุท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-นอ-หนู-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน[โกกะนุด] เป็นคำนาม หมายถึง บัวแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต โกกนท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน.โกกนุท [โกกะนุด] น. บัวแดง. (ป., ส. โกกนท).
โกกิล–, โกกิลา โกกิล– มีเครื่องหมายยัติภังค์ท้ายคำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง โกกิลา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา [–ละ–] เป็นคำนาม หมายถึง นกดุเหว่า เช่น โกกิลาหรือจะฝ่าเข้าฝูงหงส์. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โกกิล–, โกกิลา [–ละ–] น. นกดุเหว่า เช่น โกกิลาหรือจะฝ่าเข้าฝูงหงส์. (ม. ร่ายยาว ทานกัณฑ์). (ป., ส.).
โกโก้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องดื่มที่ทํามาจากเมล็ดผลโกโก้.โกโก้ ๑ น. ชื่อเครื่องดื่มที่ทํามาจากเมล็ดผลโกโก้.
โกโก้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นชนิด Theobroma cacao L. ในวงศ์ Sterculiaceae ดอกเล็ก สีขาวอมเหลืองหรือขาวอมชมพู ออกตามกิ่งและลําต้น ผลคล้ายมะละกอขนาดเล็ก ผิวแข็งขรุขระ สีนํ้าตาล เมล็ดแก่คั่วแล้วบดเป็นผง ใช้ชงเป็นเครื่องดื่มและทําขนมได้.โกโก้ ๒ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Theobroma cacao L. ในวงศ์ Sterculiaceae ดอกเล็ก สีขาวอมเหลืองหรือขาวอมชมพู ออกตามกิ่งและลําต้น ผลคล้ายมะละกอขนาดเล็ก ผิวแข็งขรุขระ สีนํ้าตาล เมล็ดแก่คั่วแล้วบดเป็นผง ใช้ชงเป็นเครื่องดื่มและทําขนมได้.
โกง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ใช้อุบายหรือเล่ห์เหลี่ยมหลอกลวง เช่น โกงเงิน, แสดงอาการดื้อไม่ยอมทําตาม เช่น เด็กโกง ม้าโกง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โค้ง, ไม่ตรง, เช่น หลังโกง.โกง ก. ใช้อุบายหรือเล่ห์เหลี่ยมหลอกลวง เช่น โกงเงิน, แสดงอาการดื้อไม่ยอมทําตาม เช่น เด็กโกง ม้าโกง. ว. โค้ง, ไม่ตรง, เช่น หลังโกง.
โก่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ทำให้งอเป็นรูปโค้ง, ทําให้โค้ง, เช่น โก่งศร โก่งคอ, ก่ง ก็ว่า; บอกราคาเกินสมควร เช่น โก่งราคา. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โค้ง เช่น คิ้วโก่ง, ก่ง ก็ว่า.โก่ง ก. ทำให้งอเป็นรูปโค้ง, ทําให้โค้ง, เช่น โก่งศร โก่งคอ, ก่ง ก็ว่า; บอกราคาเกินสมควร เช่น โก่งราคา. ว. โค้ง เช่น คิ้วโก่ง, ก่ง ก็ว่า.
โกงกาง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-งอ-งู-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นในสกุล Rhizophora วงศ์ Rhizophoraceae ขึ้นตามป่าเลนชายทะเล นิยมใช้ทําฟืนและเผาถ่านกันมาก เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลักษณะเรียวยาวคล้ายฝัก มี ๒ ชนิด คือ โกงกางใบใหญ่ หรือ กงกอน (R. mucronata Poir.) และ โกงกางใบเล็ก (R. apiculata Blume) ชนิดนี้นิยมใช้ทำฟืนและเผาถ่านกันมาก, พังกา ก็เรียก.โกงกาง น. ชื่อไม้ต้นในสกุล Rhizophora วงศ์ Rhizophoraceae ขึ้นตามป่าเลนชายทะเล นิยมใช้ทําฟืนและเผาถ่านกันมาก เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลักษณะเรียวยาวคล้ายฝัก มี ๒ ชนิด คือ โกงกางใบใหญ่ หรือ กงกอน (R. mucronata Poir.) และ โกงกางใบเล็ก (R. apiculata Blume) ชนิดนี้นิยมใช้ทำฟืนและเผาถ่านกันมาก, พังกา ก็เรียก.
โก้งเก้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง มีลักษณะหรือท่าทางสูงโย่งเย่ง.โก้งเก้ง ว. มีลักษณะหรือท่าทางสูงโย่งเย่ง.
โกงโก้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง กงโก้.โกงโก้ ว. กงโก้.
โก้งโค้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-คอ-ควาย-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง โก่งก้นให้โด่ง, โน้มตัวลงยกก้นให้สูงขึ้น, ก้งโค้ง ก็ว่า. เป็นคำนาม หมายถึง ที่เทลูกบาศก์สกา รูปคล้ายครก.โก้งโค้ง ก. โก่งก้นให้โด่ง, โน้มตัวลงยกก้นให้สูงขึ้น, ก้งโค้ง ก็ว่า. น. ที่เทลูกบาศก์สกา รูปคล้ายครก.
โกเชาว์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าทําด้วยขนแพะ เช่น ไพจิตรนิทรกําราล กาฬโกเชาว์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกชว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ชอ-ช้าง-วอ-แหวน.โกเชาว์ (แบบ; กลอน) น. ผ้าทําด้วยขนแพะ เช่น ไพจิตรนิทรกําราล กาฬโกเชาว์. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ป. โกชว).
โกญจ– [โกนจะ–] (แบบ), โกญจา (กลอน) โกญจ– [โกนจะ–] (แบบ) เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ยอ-หยิง-จอ-จาน ??91??-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู-จอ-จาน-สะ-หระ-อะ-??93?? ??40??-สะ-หระ-แอ-บอ-ไบ-ไม้-บอ-ไบ-ไม้-??41?? โกญจา (กลอน) เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ยอ-หยิง-จอ-จาน-สะ-หระ-อา ??40??-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง-นอ-หนู-??41?? เป็นคำนาม หมายถึง นกกระเรียน เช่น แขกเต้าดุเหว่าแก้ว โกญจา. ในวงเล็บ มาจาก แบบเรียนกวีนิพนธ์ โลกนิติคำโคลง ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .โกญจ– [โกนจะ–] (แบบ), โกญจา (กลอน) น. นกกระเรียน เช่น แขกเต้าดุเหว่าแก้ว โกญจา. (โลกนิติ). (ป.).
โกญจนะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อะ[โกนจะนะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ย่อมาจาก โกญจนาท เช่น เสียงช้างก้องโกญจนสำเนียง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.โกญจนะ [โกนจะนะ] (กลอน) ย่อมาจาก โกญจนาท เช่น เสียงช้างก้องโกญจนสำเนียง. (สมุทรโฆษ).
โกญจนาท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ยอ-หยิง-จอ-จาน-นอ-หนู-สะ-หระ-อา-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง การบันลือเสียงเหมือนนกกระเรียน, ความกึกก้อง, (โดยมากใช้แก่เสียงช้าง). (ป.).โกญจนาท น. การบันลือเสียงเหมือนนกกระเรียน, ความกึกก้อง, (โดยมากใช้แก่เสียงช้าง). (ป.).
โกฏิ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-สะ-หระ-อิ[โกด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อมาตรานับ เท่ากับ ๑๐ ล้าน.โกฏิ [โกด] น. ชื่อมาตรานับ เท่ากับ ๑๐ ล้าน.
โกฐ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน[โกด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องยาสมุนไพรจําพวกหนึ่ง ได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช มีหลายชนิด คือ โกฐทั้ง ๕ ได้แก่ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา, โกฐทั้ง ๗ เพิ่ม โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว, โกฐทั้ง ๙ เพิ่ม โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี, และมีโกฐพิเศษอีก ๓ ชนิด คือ โกฐกักกรา โกฐกะกลิ้ง และโกฐนํ้าเต้า, ตํารายาแผนโบราณเขียนเป็น โกฎ โกฏ โกฏฐ์ โกด หรือ โกษฐ์ ก็มี. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกฏ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-ถอ-ถาน.โกฐ [โกด] น. ชื่อเครื่องยาสมุนไพรจําพวกหนึ่ง ได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช มีหลายชนิด คือ โกฐทั้ง ๕ ได้แก่ โกฐหัวบัว โกฐสอ โกฐเขมา โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา, โกฐทั้ง ๗ เพิ่ม โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว, โกฐทั้ง ๙ เพิ่ม โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี, และมีโกฐพิเศษอีก ๓ ชนิด คือ โกฐกักกรา โกฐกะกลิ้ง และโกฐนํ้าเต้า, ตํารายาแผนโบราณเขียนเป็น โกฎ โกฏ โกฏฐ์ โกด หรือ โกษฐ์ ก็มี. (ป. โกฏ).
โกฐกระดูก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อู-กอ-ไก่ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเหง้าแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Saussurea lappa C.B. Clarke ในวงศ์ Compositae.โกฐกระดูก น. ชื่อเรียกเหง้าแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Saussurea lappa C.B. Clarke ในวงศ์ Compositae.
โกฐกะกลิ้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-สะ-หระ-อะ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของต้นแสลงใจ (Strychnos nux—vomica L.) ในวงศ์ Strychnaceae.โกฐกะกลิ้ง น. ชื่อเรียกเมล็ดแก่แห้งของต้นแสลงใจ (Strychnos nux—vomica L.) ในวงศ์ Strychnaceae.
โกฐกักกรา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-ไม้-หัน-อา-กาด-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Anacyclus pyrethrum (L.) DC. ในวงศ์ Compositae.โกฐกักกรา น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Anacyclus pyrethrum (L.) DC. ในวงศ์ Compositae.
โกฐก้านพร้าว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-กอ-ไก่-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู-พอ-พาน-รอ-เรือ-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Picrorhiza kurroa Royle ex Benth. ในวงศ์ Scrophulariaceae, โกฐก้านมะพร้าว ก็เรียก.โกฐก้านพร้าว น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Picrorhiza kurroa Royle ex Benth. ในวงศ์ Scrophulariaceae, โกฐก้านมะพร้าว ก็เรียก.
โกฐเขมา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา[–ขะเหฺมา] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Atractylodes วงศ์ Umbelliferae เช่น ชนิด A. lyrata Sieb. et Zucc., โกฐหอม ก็เรียก.โกฐเขมา [–ขะเหฺมา] น. ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Atractylodes วงศ์ Umbelliferae เช่น ชนิด A. lyrata Sieb. et Zucc., โกฐหอม ก็เรียก.
โกฐจุฬาลัมพา, โกฐจุฬาลำพา โกฐจุฬาลัมพา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ไม้-หัน-อา-กาด-มอ-ม้า-พอ-พาน-สะ-หระ-อา โกฐจุฬาลำพา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-จอ-จาน-สะ-หระ-อุ-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อำ-พอ-พาน-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเรือนยอด (แห้ง) ที่กําลังมีดอกของพืช ๓ ชนิด ในสกุล Artemisia วงศ์ Compositae เช่น ชนิด A. vulgaris L.โกฐจุฬาลัมพา, โกฐจุฬาลำพา น. ชื่อเรียกเรือนยอด (แห้ง) ที่กําลังมีดอกของพืช ๓ ชนิด ในสกุล Artemisia วงศ์ Compositae เช่น ชนิด A. vulgaris L.
โกฐชฎามังษี, โกฐชฎามังสี โกฐชฎามังษี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-ชอ-ช้าง-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี โกฐชฎามังสี เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-ชอ-ช้าง-ดอ-ชะ-ดา-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Nardostachys jatamansi DC. ในวงศ์ Valerianaceae.โกฐชฎามังษี, โกฐชฎามังสี น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Nardostachys jatamansi DC. ในวงศ์ Valerianaceae.
โกฐเชียง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-เอ-ชอ-ช้าง-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Livisticum officinale Koch. ในวงศ์ Umbelliferae.โกฐเชียง น. ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของไม้ล้มลุกชนิด Livisticum officinale Koch. ในวงศ์ Umbelliferae.
โกฐน้ำเต้า เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-นอ-หนู-ไม้-โท-สะ-หระ-อำ-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของพืช ๖ ชนิด ในสกุล Rheum วงศ์ Polygonaceae เช่น ชนิด R. officinale Baillon., R. palmatum L.โกฐน้ำเต้า น. ชื่อเรียกเหง้าและรากแห้งของพืช ๖ ชนิด ในสกุล Rheum วงศ์ Polygonaceae เช่น ชนิด R. officinale Baillon., R. palmatum L.
โกฐพุงปลา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-พอ-พาน-สะ-หระ-อุ-งอ-งู-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกสิ่งที่นูนปูดขึ้นมาตามกิ่งและใบของไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Terminalia วงศ์ Combretaceae เช่น สมอไทย (T. chebula Retz.), อีสานเรียก ปูดกกส้มมอ.โกฐพุงปลา น. ชื่อเรียกสิ่งที่นูนปูดขึ้นมาตามกิ่งและใบของไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Terminalia วงศ์ Combretaceae เช่น สมอไทย (T. chebula Retz.), อีสานเรียก ปูดกกส้มมอ.
โกฐสอ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สอ-เสือ-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Angelica วงศ์ Umbelliferae เช่น ชนิด A. sylvestris L., A. glabra Makino.โกฐสอ น. ชื่อเรียกรากแห้งของไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Angelica วงศ์ Umbelliferae เช่น ชนิด A. sylvestris L., A. glabra Makino.
โกฐหอม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-หอ-หีบ-ออ-อ่าง-มอ-ม้าดู โกฐเขมา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อา.โกฐหอม ดู โกฐเขมา.
โกฐหัวบัว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-หอ-หีบ-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-หัน-อา-กาด-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเรียกเหง้า ราก ใบ และดอกแห้งของไม้ล้มลุก ๓ ชนิด ในวงศ์ Umbelliferae คือ ชนิด Cnidium officinale Makino, Conioselinum univittatum Turcz. และ Licusticum wallichii Franchet.โกฐหัวบัว น. ชื่อเรียกเหง้า ราก ใบ และดอกแห้งของไม้ล้มลุก ๓ ชนิด ในวงศ์ Umbelliferae คือ ชนิด Cnidium officinale Makino, Conioselinum univittatum Turcz. และ Licusticum wallichii Franchet.
โกฐาส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ[โกดถาด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ส่วน เช่น พรพอใจบ้นนน้นนอนนเป็นโกฐาสถ้อย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ทศพร ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกฏฺาส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ตอ-ปะ-ตัก-พิน-ทุ-ถอ-ถาน-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.โกฐาส [โกดถาด] (แบบ) น. ส่วน เช่น พรพอใจบ้นนน้นนอนนเป็นโกฐาสถ้อย. (ม. คำหลวง ทศพร). (ป. โกฏฺาส).
โกณก, โกณะ โกณก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-กอ-ไก่ โกณะ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-เนน-สะ-หระ-อะ [–นก] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง มุม, เหลี่ยม, เช่น เปนจดูรโกณก ครรโภทกเพ็ญพยง. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์วนปเวสน์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .โกณก, โกณะ [–นก] (แบบ) น. มุม, เหลี่ยม, เช่น เปนจดูรโกณก ครรโภทกเพ็ญพยง. (ม. คำหลวง วนปเวสน์). (ป.).
โกดัง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-ไม้-หัน-อา-กาด-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง โรงเก็บสินค้าหรือสิ่งของเป็นต้น, กุดัง ก็เรียก.โกดัง น. โรงเก็บสินค้าหรือสิ่งของเป็นต้น, กุดัง ก็เรียก.
โกตไต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ตอ-เต่า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ตอ-เต่า เป็นคำนาม หมายถึง เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น ห่มโกตไตอวดอ้าง. ในวงเล็บ มาจาก โคลงพยุหยาตราเพชรพวง เจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต่ง ฉบับ โรงพิมพ์วัชรินทรบริษัท ร.ศ. ๑๑๕ หรือโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๕๗, กุฏไต ก็ว่า.โกตไต น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น ห่มโกตไตอวดอ้าง. (พยุหยาตรา), กุฏไต ก็ว่า.
โกทัณฑ์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-เนน-ทอ-มน-โท-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง เกาทัณฑ์. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โกทัณฑ์ น. เกาทัณฑ์. (ป., ส.).
โกน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ลูก. ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร กูน เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อู-นอ-หนู.โกน ๑ น. ลูก. (ข. กูน).
โกน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-นอ-หนู ความหมายที่ เป็นคำกริยา หมายถึง ขูดผมหรือขนด้วยคมมีด. เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อวันที่พระสงฆ์ในเมืองไทยปลงผม ตรงกับวันขึ้น ๑๔ คํ่า หรือแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็เป็นแรม ๑๓ คํ่า เรียกว่า วันโกน, คู่กับ วันพระ; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่งได้แก่วันขึ้น ๗ คํ่า ขึ้น ๑๔ คํ่า แรม ๗ คํ่าและแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๓ คํ่า เรียกว่า วันโกน.โกน ๒ ก. ขูดผมหรือขนด้วยคมมีด. น. ชื่อวันที่พระสงฆ์ในเมืองไทยปลงผม ตรงกับวันขึ้น ๑๔ คํ่า หรือแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็เป็นแรม ๑๓ คํ่า เรียกว่า วันโกน, คู่กับ วันพระ; (ปาก) ชื่อวันก่อนวันพระวันหนึ่งได้แก่วันขึ้น ๗ คํ่า ขึ้น ๑๔ คํ่า แรม ๗ คํ่าและแรม ๑๔ คํ่า ถ้าเป็นเดือนขาดก็แรม ๑๓ คํ่า เรียกว่า วันโกน.
โก่น เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู เป็นคำกริยา หมายถึง ก่น.โก่น ก. ก่น.
โก๋น เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพและภาคอีสาน เป็นคำนาม หมายถึง โพรงไม้, รูที่อยู่ตามลําต้นไม้. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เรียกผึ้งที่ทํารังในโพรงไม้ว่า ผึ้งโก๋น.โก๋น (ถิ่น–พายัพ, อีสาน) น. โพรงไม้, รูที่อยู่ตามลําต้นไม้. ว. เรียกผึ้งที่ทํารังในโพรงไม้ว่า ผึ้งโก๋น.
โกปินำ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-อำ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าปิดของลับ เช่น แล้วเกี่ยวรัดโกปินํา. ในวงเล็บ มาจาก พระราชนิพนธ์บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ในรัชกาลที่ ๑ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกปิน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู.โกปินำ (โบ; กลอน) น. ผ้าปิดของลับ เช่น แล้วเกี่ยวรัดโกปินํา. (รามเกียรติ์ ร. ๑). (ป. โกปิน).
โกมล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อ่อน, งาม, หวาน, ไพเราะ, เช่น กรรณาคือกลีบกมลโก– มลกามแกล้งผจง. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โกมล ๑ ว. อ่อน, งาม, หวาน, ไพเราะ, เช่น กรรณาคือกลีบกมลโก– มลกามแกล้งผจง. (สมุทรโฆษ). (ป., ส.).
โกมล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ดอกบัว เช่น ก็ทัดทานวาริชโกมล. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มหาราช ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กมล เขียนว่า กอ-ไก่-มอ-ม้า-ลอ-ลิง.โกมล ๒ น. ดอกบัว เช่น ก็ทัดทานวาริชโกมล. (ม. คำหลวง มหาราช). (ป. กมล).
โกมุท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-มอ-ม้า-สะ-หระ-อุ-ทอ-ทะ-หาน เป็นคำนาม หมายถึง บัวแดง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .โกมุท น. บัวแดง. (ป.).
โกเมน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง พลอยสีแดงเข้ม. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต โกเมท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-ทอ-ทะ-หาน ว่า พลอยซึ่งได้มาจากเทือกเขาหิมาลัยและแม่นํ้าสินธุ มีลักษณะ ๔ ประเภท คือ สีขาว สีเหลืองซีด สีแดง สีนํ้าเงิน .โกเมน น. พลอยสีแดงเข้ม. (ส. โกเมท ว่า พลอยซึ่งได้มาจากเทือกเขาหิมาลัยและแม่นํ้าสินธุ มีลักษณะ ๔ ประเภท คือ สีขาว สีเหลืองซีด สีแดง สีนํ้าเงิน).
โกเมศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-มอ-ม้า-สอ-สา-ลา เป็นคำนาม หมายถึง ดอกบัว, บัว. (เลือนมาจาก โกมุท).โกเมศ น. ดอกบัว, บัว. (เลือนมาจาก โกมุท).
โกย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง อาการที่ใช้มือหรือสิ่งอื่นคุ้ยหรือกวาดสิ่งต่าง ๆ เช่น ข้าว ถ่าน มาทีละมาก ๆ, ขนหรือรวบเอาไปเป็นจํานวนมาก; ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก หมายถึง วิ่งหนีไปโดยเร็ว.โกย ก. อาการที่ใช้มือหรือสิ่งอื่นคุ้ยหรือกวาดสิ่งต่าง ๆ เช่น ข้าว ถ่าน มาทีละมาก ๆ, ขนหรือรวบเอาไปเป็นจํานวนมาก; (ปาก) วิ่งหนีไปโดยเร็ว.
โกยท้อง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ยอ-ยัก-ทอ-ทะ-หาน-ไม้-โท-ออ-อ่าง-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง ฝืนท้อง, ใช้มือทั้ง ๒ ช้อนท้องเพื่อให้หายแน่นท้องเป็นต้น.โกยท้อง ก. ฝืนท้อง, ใช้มือทั้ง ๒ ช้อนท้องเพื่อให้หายแน่นท้องเป็นต้น.
โกร้ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-โท เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง คํ้า, เช่น ยืนโกร้.โกร้ ว. คํ้า, เช่น ยืนโกร้.
โกรก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่[โกฺรก] เป็นคำกริยา หมายถึง เทให้ไหลเรื่อยไปยังที่หมาย เช่น โกรกนํ้า, เทให้ไหลลงไป เช่น เอานํ้าโกรกหัว; เลื่อยกระดานไปตามยาวหรือตามแนวที่กําหนด เช่น โกรกไม้; พัดอยู่เรื่อย ๆ เช่น ลมโกรก. เป็นคำนาม หมายถึง ซอกลึกของเขา, โตรก ก็ว่า.โกรก [โกฺรก] ก. เทให้ไหลเรื่อยไปยังที่หมาย เช่น โกรกนํ้า, เทให้ไหลลงไป เช่น เอานํ้าโกรกหัว; เลื่อยกระดานไปตามยาวหรือตามแนวที่กําหนด เช่น โกรกไม้; พัดอยู่เรื่อย ๆ เช่น ลมโกรก. น. ซอกลึกของเขา, โตรก ก็ว่า.
โกรกไกร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง โตรกไตร, โกรก หรือ โตรก ก็ว่า.โกรกไกร น. โตรกไตร, โกรก หรือ โตรก ก็ว่า.
โกรกธาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ เป็นคำนาม หมายถึง หุบผาลึกชันและแคบมาก มีหน้าผาชัน ๒ ข้าง มักมีลําธารอยู่เบื้องล่าง.โกรกธาร น. หุบผาลึกชันและแคบมาก มีหน้าผาชัน ๒ ข้าง มักมีลําธารอยู่เบื้องล่าง.
โกรกหวัด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ดอ-เด็ก เป็นคำกริยา หมายถึง โกรกหัวโดยใช้นํ้าต้มกับหัวหอมและใบมะขามเพื่อแก้หวัด.โกรกหวัด ก. โกรกหัวโดยใช้นํ้าต้มกับหัวหอมและใบมะขามเพื่อแก้หวัด.
โกรกกราก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-กอ-ไก่-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อา-กอ-ไก่[โกฺรกกฺราก] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อเครื่องมือสําหรับไชไม้; กระบอกไม้ไผ่มีหลักปักอยู่กลางเติ่งสําหรับทอดดวด. ในวงเล็บ รูปภาพ โกรกกราก.โกรกกราก [โกฺรกกฺราก] น. ชื่อเครื่องมือสําหรับไชไม้; กระบอกไม้ไผ่มีหลักปักอยู่กลางเติ่งสําหรับทอดดวด. (รูปภาพ โกรกกราก).
โกรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู[โกฺรง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง เสียงกระแทกดังโครม ๆ เช่น กระทุ้งเส้ากราวโกรง. ในวงเล็บ มาจาก สุบินกุมาร โรงพิมพ์ครูสมิท บางคอแหลม จ.ศ. ๑๒๔๓.โกรง [โกฺรง] ว. เสียงกระแทกดังโครม ๆ เช่น กระทุ้งเส้ากราวโกรง. (สุบิน).
โกร่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [โกฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องบดยารูปคล้ายครกหรือถ้วย มีสากสําหรับบดให้ละเอียด, ลักษณนามว่า ใบ; ภาชนะรูปอย่างกล่องมีลิ้น ใช้ตามบ่อนเบี้ยสําหรับใส่อีแปะ.โกร่ง ๑ [โกฺร่ง] น. เครื่องบดยารูปคล้ายครกหรือถ้วย มีสากสําหรับบดให้ละเอียด, ลักษณนามว่า ใบ; ภาชนะรูปอย่างกล่องมีลิ้น ใช้ตามบ่อนเบี้ยสําหรับใส่อีแปะ.
โกร่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [โกฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง โลหะรูปโค้งที่ด้ามกระบี่หรือดาบบางชนิด สําหรับป้องกันไม่ให้อาวุธถูกมือ; ส่วนที่เป็นรูปโค้งเหนือคอระฆัง.โกร่ง ๒ [โกฺร่ง] น. โลหะรูปโค้งที่ด้ามกระบี่หรือดาบบางชนิด สําหรับป้องกันไม่ให้อาวุธถูกมือ; ส่วนที่เป็นรูปโค้งเหนือคอระฆัง.
โกร่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [โกฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกจิ้งหรีดชนิด Brachytrypes portentosus ว่า อ้ายโกร่ง, จิ้งโกร่ง หรือ หัวตะกั่ว ก็เรียก. ในวงเล็บ ดู จิ้งโกร่ง เขียนว่า จอ-จาน-สะ-หระ-อิ-ไม้-โท-งอ-งู-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู.โกร่ง ๓ [โกฺร่ง] น. เรียกจิ้งหรีดชนิด Brachytrypes portentosus ว่า อ้ายโกร่ง, จิ้งโกร่ง หรือ หัวตะกั่ว ก็เรียก. (ดู จิ้งโกร่ง).
โกร่ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู ความหมายที่ [โกฺร่ง] เป็นคำนาม หมายถึง เกราะยาว เช่น พิณพาทย์ฆ้องกลองดังทั้งเกราะโกร่ง. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔.โกร่ง ๔ [โกฺร่ง] น. เกราะยาว เช่น พิณพาทย์ฆ้องกลองดังทั้งเกราะโกร่ง. (อิเหนา).
โกร่งกร่าง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-งอ-งู-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู[โกฺร่งกฺร่าง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โครมคราม เช่น นางอมิตดาก็โกรธโกร่งกร่างกระทืบเท้า. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์ชูชก.โกร่งกร่าง [โกฺร่งกฺร่าง] ว. โครมคราม เช่น นางอมิตดาก็โกรธโกร่งกร่างกระทืบเท้า. (ม. ร่ายยาว ชูชก).
โกรงเกรง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-งอ-งู[โกฺรงเกฺรง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จวนพัง เช่น ศาลาโกรงเกรง.โกรงเกรง [โกฺรงเกฺรง] ว. จวนพัง เช่น ศาลาโกรงเกรง.
โกร๋งเกร๋ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-งอ-งู[โกฺร๋งเกฺร๋ง] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โหรงเหรง, ไม่หนาแน่น.โกร๋งเกร๋ง [โกฺร๋งเกฺร๋ง] ว. โหรงเหรง, ไม่หนาแน่น.
โกรญจ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ยอ-หยิง-จอ-จาน[โกฺรนจะ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โกญจ, นกกระเรียน, เช่น กาโกรญจโกกิล. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.โกรญจ [โกฺรนจะ] (กลอน) น. โกญจ, นกกระเรียน, เช่น กาโกรญจโกกิล. (สมุทรโฆษ).
โกรด เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ดอ-เด็ก[โกฺรด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ว่องไว, แข็งแรง; เต็มที่, เต็มกําลัง, เช่น ผอมเหมือนกวางโกรกโกรด. ในวงเล็บ มาจาก บทละครครั้งกรุงเก่า เรื่องมโนห์รา ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ; เปลี่ยว, คะนอง, เช่น ควายโกรด; โดดเดี่ยว; โตรด ก็ใช้.โกรด [โกฺรด] (โบ) ว. ว่องไว, แข็งแรง; เต็มที่, เต็มกําลัง, เช่น ผอมเหมือนกวางโกรกโกรด. (มโนห์รา); เปลี่ยว, คะนอง, เช่น ควายโกรด; โดดเดี่ยว; โตรด ก็ใช้.
โกรต๋น เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ตอ-เต่า-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู[โกฺร–]ดู โกสน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-นอ-หนู.โกรต๋น [โกฺร–] ดู โกสน.
โกรธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง[โกฺรด] เป็นคำกริยา หมายถึง ขุ่นเคืองใจอย่างแรง, ไม่พอใจอย่างรุนแรง, ราชาศัพท์ว่า “ทรงพระโกรธ” ก็ใช้ เช่น ก็จะทรงพระโกรธดั่งเพลิงกาล. ในวงเล็บ มาจาก อิเหนา พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๔ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต โกฺรธ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-รอ-เรือ-ทอ-ทง.โกรธ [โกฺรด] ก. ขุ่นเคืองใจอย่างแรง, ไม่พอใจอย่างรุนแรง, ราชาศัพท์ว่า “ทรงพระโกรธ” ก็ใช้ เช่น ก็จะทรงพระโกรธดั่งเพลิงกาล. (อิเหนา). (ส. โกฺรธ).
โกรธเกรี้ยว เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก-วอ-แหวน เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธจัด, เกรี้ยวโกรธ ก็ว่า.โกรธเกรี้ยว ก. โกรธจัด, เกรี้ยวโกรธ ก็ว่า.
โกรธขึ้ง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อึ-ไม้-โท-งอ-งู เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธเอาจริงเอาจัง, โกรธมาก, ขึ้งโกรธ ก็ว่า.โกรธขึ้ง ก. โกรธเอาจริงเอาจัง, โกรธมาก, ขึ้งโกรธ ก็ว่า.
โกรธา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา[โกฺร–] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำกริยา หมายถึง โกรธ.โกรธา [โกฺร–] (กลอน) ก. โกรธ.
โกร๋น เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู[โกฺร๋น] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ร่วงโรยเกือบหมด, มีอยู่น้อย, มีห่าง ๆ, เช่น ต้นไม้ใบโกร๋น, มีผมน้อย ในคำว่า หัวโกร๋น.โกร๋น [โกฺร๋น] ว. ร่วงโรยเกือบหมด, มีอยู่น้อย, มีห่าง ๆ, เช่น ต้นไม้ใบโกร๋น, มีผมน้อย ในคำว่า หัวโกร๋น.
โกร๋นเกร๋น เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ไม้-จัด-ตะ-วา-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โกร๋น.โกร๋นเกร๋น (ปาก) ว. โกร๋น.
โกรม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า[โกฺรม] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ใต้, ตํ่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้าเหง้ากรุงโกรมกษัตริย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์ฉกษัตริย์ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .โกรม [โกฺรม] (แบบ) ว. ใต้, ตํ่า, ล่าง, ใต้ฟ้า เช่น อนนสองดไนยหน่อเหน้าเหง้ากรุงโกรมกษัตริย. (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). (ข.).
โกรมธาตุ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-มอ-ม้า-ทอ-ทง-สะ-หระ-อา-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อุ ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ธาตุใต้ฟ้า คือแผ่นดิน เช่น ปางน้นนไกรโกรมธาตุ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์.โกรมธาตุ (โบ) น. ธาตุใต้ฟ้า คือแผ่นดิน เช่น ปางน้นนไกรโกรมธาตุ. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์).
โกรย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ยอ-ยัก[โกฺรย] เป็นคำนาม หมายถึง หลัง เช่น โจนบหลยวโกรยเกรง ท่านข้า. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐, อกกระอุกรยมโกรย กระด้าง. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐ ในวงเล็บ มาจากภาษาเขมร .โกรย [โกฺรย] น. หลัง เช่น โจนบหลยวโกรยเกรง ท่านข้า. (ยวนพ่าย), อกกระอุกรยมโกรย กระด้าง. (ทวาทศมาส). (ข.).
โกรศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา[โกฺรด] เป็นคำนาม หมายถึง เสียงร้อง; มาตราวัด เท่ากับ ๕๐๐ คันธนู. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .โกรศ [โกฺรด] น. เสียงร้อง; มาตราวัด เท่ากับ ๕๐๐ คันธนู. (ส.).
โกโรโกเต เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่แน่นหนา, จวนพัง.โกโรโกเต (ปาก) ว. ไม่แน่นหนา, จวนพัง.
โกโรโกโรก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-กอ-ไก่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง แบบบาง, ไม่มั่นคง; ผอมแห้ง, ขี้โรค.โกโรโกโรก (ปาก) ว. แบบบาง, ไม่มั่นคง; ผอมแห้ง, ขี้โรค.
โกโรโกโส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-รอ-เรือ-สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-โอ-สอ-เสือ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โกรงเกรง, ไม่มั่นคง, เช่น กระท่อมโกโรโกโส; ต่ำต้อย เช่น คนโกโรโกโส.โกโรโกโส (ปาก) ว. โกรงเกรง, ไม่มั่นคง, เช่น กระท่อมโกโรโกโส; ต่ำต้อย เช่น คนโกโรโกโส.
โกลง เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-งอ-งู[โกฺลง] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โคลง เช่น โกลงกลึงถึงสถาน เปรียบแป้น. (ปฏิสังขรณ์วัดป่าโมก).โกลง [โกฺลง] (โบ) ว. โคลง เช่น โกลงกลึงถึงสถาน เปรียบแป้น. (ปฏิสังขรณ์วัดป่าโมก).
โกลน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-นอ-หนู[โกฺลน] เป็นคำนาม หมายถึง ห่วงที่ห้อยลงมาจากอานม้า ๒ ข้างสําหรับสอดเท้ายันในเวลาขึ้นหรือขี่; ไม้ท่อนกลม ๆ ที่วางเป็นระยะ ๆ เพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น. เป็นคำกริยา หมายถึง เกลาไว้, ทําเป็นรูปเลา ๆ ไว้, เช่น โกลนไม้ โกลนเรือ; เรียกเรือที่ทําจากซุงเพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด ว่า เรือโกลน. ในวงเล็บ รูปภาพ โกลน.โกลน [โกฺลน] น. ห่วงที่ห้อยลงมาจากอานม้า ๒ ข้างสําหรับสอดเท้ายันในเวลาขึ้นหรือขี่; ไม้ท่อนกลม ๆ ที่วางเป็นระยะ ๆ เพื่อลากของที่หนักมาบนนั้น. ก. เกลาไว้, ทําเป็นรูปเลา ๆ ไว้, เช่น โกลนไม้ โกลนเรือ; เรียกเรือที่ทําจากซุงเพียงเปิดปีกเจียนหัวเจียนท้ายเป็นเลา ๆ พอให้มีลักษณะคล้ายเรือแต่ยังไม่ได้ขุด ว่า เรือโกลน. (รูปภาพ โกลน).
โกลาหล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-หอ-หีบ-ลอ-ลิง[–หน] เป็นคำนาม หมายถึง เสียงกึกก้อง. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง หมายถึง ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร. ในวงเล็บ มาจาก คำพากย์รามเกียรติ์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๑, พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี. ในวงเล็บ มาจาก ไชยเชฐ บทละครนอก พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ ๒ รวม ๖ เรื่อง ฉบับ หอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๕ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โกลาหล [–หน] น. เสียงกึกก้อง. ว. อื้ออึง, เอิกเกริก, วุ่นวาย, (โบ; กลอน) ใช้เป็น โกลา โกลี ก็มี เช่น เสียงโห่โกลาเกรียงไกร. (คําพากย์), พระกุมารโกรธใจเป็นโกลี. (ไชยเชฐ). (ป., ส.).
โกไล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-ลอ-ลิง เป็นคำนาม หมายถึง กุ้ง. ในวงเล็บ มาจาก อนันตวิภาค ในหนังสือแปลศัพท์พากย์ต่าง ๆ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พิมพ์ ร.ศ. ๑๑๔.โกไล น. กุ้ง. (อนันตวิภาค).
โกวิท เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน[–วิด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาด, ชํานิชํานาญ, รอบรู้ในการอันใดอันหนึ่ง, เช่น อัศวโกวิท ว่า ผู้มีความชํานาญในเรื่องม้า. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต .โกวิท [–วิด] (แบบ) ว. ฉลาด, ชํานิชํานาญ, รอบรู้ในการอันใดอันหนึ่ง, เช่น อัศวโกวิท ว่า ผู้มีความชํานาญในเรื่องม้า. (ป., ส.).
โกวิฬาร เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-สะ-หระ-อิ-ลอ-จุ-ลา-สะ-หระ-อา-รอ-เรือ[–ลาระ] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ไม้ทองหลาง. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี .โกวิฬาร [–ลาระ] (แบบ) น. ไม้ทองหลาง. (ป.).
โกศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา ความหมายที่ [โกด] เป็นคำนาม หมายถึง ที่ใส่ศพนั่ง เป็นรูปกลมทรงกระบอก ฝาครอบมียอด, ที่ใส่กระดูกผี มีขนาดต่าง ๆ ฝาครอบมียอด; คลัง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .โกศ ๑ [โกด] น. ที่ใส่ศพนั่ง เป็นรูปกลมทรงกระบอก ฝาครอบมียอด, ที่ใส่กระดูกผี มีขนาดต่าง ๆ ฝาครอบมียอด; คลัง. (ส.).
โกศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา ความหมายที่ [โกด] เป็นคำนาม หมายถึง ฝัก, กระพุ้ง; ดอกไม้ตูม เช่น ชมช่อ ไม้เหมือนแก้ม โกศเกลา. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐.โกศ ๒ [โกด] น. ฝัก, กระพุ้ง; ดอกไม้ตูม เช่น ชมช่อ ไม้เหมือนแก้ม โกศเกลา. (ทวาทศมาส).
โกศล เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา-ลอ-ลิง[–สน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ฉลาด. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต .โกศล [–สน] ว. ฉลาด. (ส.).
โกษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี ความหมายที่ [โกด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง โกศ. ในวงเล็บ ดู โกศ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-สา-ลา ความหมายที่ ๑.โกษ ๑ [โกด] (โบ) น. โกศ. (ดู โกศ ๑).
โกษ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี ความหมายที่ [โกด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง โลก เช่น อันว่าโกลาหลแต่ผืนแผ่น ดลเท้าแท่นพรหมโกษ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์กุมาร ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต โกฺษณิ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-นอ-เนน-สะ-หระ-อิ.โกษ ๒ [โกด] (โบ; กลอน) น. โลก เช่น อันว่าโกลาหลแต่ผืนแผ่น ดลเท้าแท่นพรหมโกษ. (ม. คำหลวง กุมาร). (ส. โกฺษณิ).
โกษม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-มอ-ม้า[กะโสม] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าใยไม้ (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน, เช่น อีกโกษมสวัสดิวรรณึก. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ ทานกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต เกฺษามฺ เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-พิน-ทุ-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-พิน-ทุ.โกษม [กะโสม] น. ผ้าใยไม้ (ผ้าลินิน), ผ้าขาว, ผ้าป่าน, เช่น อีกโกษมสวัสดิวรรณึก. (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). (ส. เกฺษามฺ).
โกษย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-ยอ-ยัก[โกไส] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง โกไสย เช่น ผ้าแพรทองโกษย. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ นครกัณฑ์.โกษย [โกไส] (โบ) น. โกไสย เช่น ผ้าแพรทองโกษย. (ม. คำหลวง นครกัณฑ์).
โกษีย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-รือ-สี-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง โกสีย์ เช่น สมเด็จท้าวโกษีย์. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์หิมพานต์.โกษีย์ (โบ) น. โกสีย์ เช่น สมเด็จท้าวโกษีย์. (ม. คำหลวง หิมพานต์).
โกส เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ[โกด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ เป็นคำนาม หมายถึง ผอบ เช่น ในโกสทอง. ในวงเล็บ มาจาก ประชุมจารึกสยาม ภาคที่ จารึกสุโขทัย, ศาสตราจารย์ ยอช เซเดส์ ชำระและแปล ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๗.โกส [โกด] (โบ) น. ผอบ เช่น ในโกสทอง. (จารึกสยาม).
โกสน เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้พุ่มชนิด Codiaeum variegatum (L.) Blume ในวงศ์ Euphorbiaceae ถิ่นกําเนิดในแหลมมลายูและแปซิฟิก มีหลายพันธุ์ ใบมีรูปร่างและสีต่าง ๆ กัน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ, โกรต๋น ก็เรียก.โกสน น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Codiaeum variegatum (L.) Blume ในวงศ์ Euphorbiaceae ถิ่นกําเนิดในแหลมมลายูและแปซิฟิก มีหลายพันธุ์ ใบมีรูปร่างและสีต่าง ๆ กัน นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ, โกรต๋น ก็เรียก.
โกสัช เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ไม้-หัน-อา-กาด-ชอ-ช้าง[–สัด] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง ความเกียจคร้าน. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกสชฺช เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-ชอ-ช้าง-พิน-ทุ-ชอ-ช้าง.โกสัช [–สัด] (แบบ) น. ความเกียจคร้าน. (ป. โกสชฺช).
โกสินทร์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ทอ-ทะ-หาน-รอ-เรือ-ทัน-ทะ-คาด[–สิน] เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์. (ตัดมาจาก ป. โกสิย + ส. อินฺทฺร).โกสินทร์ [–สิน] น. พระอินทร์. (ตัดมาจาก ป. โกสิย + ส. อินฺทฺร).
โกสีย์ เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-ทัน-ทะ-คาด เป็นคำนาม หมายถึง พระอินทร์ เช่น ลํ้าเลอศกรุงโกสีย์ หยาดหล้า. ในวงเล็บ มาจาก ทวาทศมาส ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกสิย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ยอ-ยัก.โกสีย์ น. พระอินทร์ เช่น ลํ้าเลอศกรุงโกสีย์ หยาดหล้า. (ทวาทศมาส). (ป. โกสิย).
โกสุม เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า เป็นคำนาม หมายถึง ดอกไม้. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี กุสุม เขียนว่า กอ-ไก่-สะ-หระ-อุ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า และมาจากภาษาสันสกฤต เกาสุม เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ-สะ-หระ-อุ-มอ-ม้า.โกสุม น. ดอกไม้. (ป. กุสุม; ส. เกาสุม).
โกไสย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-สอ-เสือ-ยอ-ยัก[–ไส] เป็นคำนาม หมายถึง ผ้าทําด้วยไหม เช่น โกไสยวัตถาภรณ์. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน นครกัณฑ์ ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี โกเสยฺย เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-สะ-หระ-เอ-สอ-เสือ-ยอ-ยัก-พิน-ทุ-ยอ-ยัก.โกไสย [–ไส] น. ผ้าทําด้วยไหม เช่น โกไสยวัตถาภรณ์. (ม. ร่ายยาว นครกัณฑ์). (ป. โกเสยฺย).
โกหก เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-กอ-ไก่ เป็นคำกริยา หมายถึง จงใจกล่าวคําที่ไม่จริง, พูดปด, พูดเท็จ, (มักใช้ในที่ไม่สุภาพ). (ป., เป็นคำสรรพนาม หมายถึง กุหก).โกหก ก. จงใจกล่าวคําที่ไม่จริง, พูดปด, พูดเท็จ, (มักใช้ในที่ไม่สุภาพ). (ป., ส. กุหก).
โกหวา เขียนว่า สะ-หระ-โอ-กอ-ไก่-หอ-หีบ-วอ-แหวน-สะ-หระ-อา[–หฺวา] เป็นคำนาม หมายถึง เรียกแพรชนิดหนึ่ง. ในวงเล็บ มาจาก พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ของ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค) ฉบับหอสมุดแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๗๗.โกหวา [–หฺวา] น. เรียกแพรชนิดหนึ่ง. (พงศ. ร. ๓).
ใกล้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท[ไกฺล้] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง จวน, เกือบ, เคียง, ไม่ห่าง.ใกล้ [ไกฺล้] ว. จวน, เกือบ, เคียง, ไม่ห่าง.
ใกล้เกลือกินด่าง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-ม้วน-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-โท-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-ดอ-เด็ก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำกริยา หมายถึง มองข้ามหรือไม่รู้ค่าของดีที่อยู่ใกล้ตัวซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ตนกลับไปแสวงหาสิ่งอื่นที่ด้อยกว่า, อยู่ใกล้ผู้ใหญ่แต่กลับไม่ได้ดี.ใกล้เกลือกินด่าง (สำ) ก. มองข้ามหรือไม่รู้ค่าของดีที่อยู่ใกล้ตัวซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ตนกลับไปแสวงหาสิ่งอื่นที่ด้อยกว่า, อยู่ใกล้ผู้ใหญ่แต่กลับไม่ได้ดี.
ไก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ที่สําหรับเหนี่ยวให้ลูกกระสุนเป็นต้นลั่นออกไปเช่น ไกปืน ไกหน้าไม้.ไก ๑ น. ที่สําหรับเหนี่ยวให้ลูกกระสุนเป็นต้นลั่นออกไปเช่น ไกปืน ไกหน้าไม้.
ไก เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่ ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ผักไก. ในวงเล็บ ดู เทา เขียนว่า สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อา ความหมายที่ ๒.ไก ๒ น. ผักไก. (ดู เทา ๒).
ไก่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อสัตว์ปีกจําพวกนก มีหลายวงศ์ บินได้ในระยะสั้น หากินตามพื้นดิน ตกไข่ก่อนแล้วจึงฟักเป็นตัว ตัวผู้หงอนใหญ่และเดือยยาว เช่น ไก่แจ้ ไก่อู ไก่ตะเภา.ไก่ น. ชื่อสัตว์ปีกจําพวกนก มีหลายวงศ์ บินได้ในระยะสั้น หากินตามพื้นดิน ตกไข่ก่อนแล้วจึงฟักเป็นตัว ตัวผู้หงอนใหญ่และเดือยยาว เช่น ไก่แจ้ ไก่อู ไก่ตะเภา.
ไก่กอและ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-สะ-หระ-แอ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อะ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคใต้ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทำด้วยไก่ที่ถอดกระดูก ชุบเครื่องปรุงรส ปิ้งให้สุก.ไก่กอและ (ถิ่น–ปักษ์ใต้) น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทำด้วยไก่ที่ถอดกระดูก ชุบเครื่องปรุงรส ปิ้งให้สุก.
ไก่แก่แม่ปลาช่อน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-ชอ-ช้าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง หญิงค่อนข้างมีอายุที่มีมารยาและเล่ห์เหลี่ยมมาก และมีกิริยาจัดจ้าน.ไก่แก่แม่ปลาช่อน (สำ) น. หญิงค่อนข้างมีอายุที่มีมารยาและเล่ห์เหลี่ยมมาก และมีกิริยาจัดจ้าน.
ไก่แก้ว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-แอ-กอ-ไก่-ไม้-โท-วอ-แหวน เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่ชนิดหนึ่ง เช่น ไก่แก้วขันไจ้ไจ้. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน.ไก่แก้ว น. ชื่อไก่ชนิดหนึ่ง เช่น ไก่แก้วขันไจ้ไจ้. (ลอ).
ไก่เขี่ย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ขอ-ไข่-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง หวัด, ยุ่งจนเกือบอ่านไม่ออก, (มักใช้แก่ลายมือ).ไก่เขี่ย ว. หวัด, ยุ่งจนเกือบอ่านไม่ออก, (มักใช้แก่ลายมือ).
ไก่ชน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ชอ-ช้าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่อูชนิดหนึ่งที่เลี้ยงไว้ตีกัน.ไก่ชน น. ชื่อไก่อูชนิดหนึ่งที่เลี้ยงไว้ตีกัน.
ไก่ต่อ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-ไม้-เอก-ออ-อ่าง เป็นคำนาม หมายถึง ไก่ตัวเมียที่เลี้ยงไว้เพื่อนำไปต่อไก่ป่า.ไก่ต่อ น. ไก่ตัวเมียที่เลี้ยงไว้เพื่อนำไปต่อไก่ป่า.
ไก่เถื่อน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ถอ-ถุง-สะ-หระ-อือ-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ไก่ป่า.ไก่เถื่อน น. ไก่ป่า.
ไก่บ้าน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-นอ-หนู เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่ชนิด Gallus gallus ในวงศ์ Phasianidae เป็นไก่ที่มีสายพันธุ์มาจากไก่ป่า แตกต่างจากไก่ป่าที่ขนลำตัวมีสีต่าง ๆ กัน เช่น สีดำ ขาว น้ำตาลอมแดง มีแข้งสีแตกต่างกัน เช่น สีเหลือง ขาว โดยที่ไก่ป่ามีสีเทาเข้ม การคัดและผสมพันธุ์ทำให้มีสายพันธุ์แตกต่างกันมาก เลี้ยงไว้ตามบ้านเพื่อเป็นอาหาร.ไก่บ้าน น. ชื่อไก่ชนิด Gallus gallus ในวงศ์ Phasianidae เป็นไก่ที่มีสายพันธุ์มาจากไก่ป่า แตกต่างจากไก่ป่าที่ขนลำตัวมีสีต่าง ๆ กัน เช่น สีดำ ขาว น้ำตาลอมแดง มีแข้งสีแตกต่างกัน เช่น สีเหลือง ขาว โดยที่ไก่ป่ามีสีเทาเข้ม การคัดและผสมพันธุ์ทำให้มีสายพันธุ์แตกต่างกันมาก เลี้ยงไว้ตามบ้านเพื่อเป็นอาหาร.
ไก่บินไม่ตกดิน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-บอ-ไบ-ไม้-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-มอ-ม้า-ไม้-เอก-ตอ-เต่า-กอ-ไก่-ดอ-เด็ก-สะ-หระ-อิ-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง บริเวณที่มีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นแออัด.ไก่บินไม่ตกดิน (สำ) น. บริเวณที่มีอาคารบ้านเรือนหนาแน่นแออัด.
ไก่ป่า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ปอ-ปลา-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไก่ชนิด Gallus gallus ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้สีเข้มสดใสและหลากสีกว่าตัวเมีย เช่น สีเขียว ดำ แดง ตัวเมียสีน้ำตาลอมเหลือง ทั้งตัวผู้และตัวเมียขาสีเทาเข้ม โคนหางสีขาว อาศัยในป่าโปร่ง เช่น ป่าไผ่ในประเทศไทยมี ๒ ชนิดย่อย คือ ไก่ป่าติ่งหูขาว (G. g.gallus) และไก่ป่าติ่งหูแดง (G. g. spadiceus) ไก่ชนิดนี้เป็นต้นตระกูลของไก่บ้าน.ไก่ป่า น. ชื่อไก่ชนิด Gallus gallus ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้สีเข้มสดใสและหลากสีกว่าตัวเมีย เช่น สีเขียว ดำ แดง ตัวเมียสีน้ำตาลอมเหลือง ทั้งตัวผู้และตัวเมียขาสีเทาเข้ม โคนหางสีขาว อาศัยในป่าโปร่ง เช่น ป่าไผ่ในประเทศไทยมี ๒ ชนิดย่อย คือ ไก่ป่าติ่งหูขาว (G. g.gallus) และไก่ป่าติ่งหูแดง (G. g. spadiceus) ไก่ชนิดนี้เป็นต้นตระกูลของไก่บ้าน.
ไก่รองบ่อน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-รอ-เรือ-ออ-อ่าง-งอ-งู-บอ-ไบ-ไม้-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้ที่อยู่ในฐานะตัวสํารอง ซึ่งจะเรียกมาใช้เมื่อไรก็ได้.ไก่รองบ่อน (สำ) น. ผู้ที่อยู่ในฐานะตัวสํารอง ซึ่งจะเรียกมาใช้เมื่อไรก็ได้.
ไก่สามอย่าง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สอ-เสือ-สะ-หระ-อา-มอ-ม้า-ออ-อ่าง-ยอ-ยัก-ไม้-เอก-สะ-หระ-อา-งอ-งู เป็นคำนาม หมายถึง เครื่องกินแกล้มเหล้า มีกุ้งแห้ง ถั่วลิสง และตะไคร้ เป็นหลัก อาจเพิ่ม ขิงหัวหอม หรือพริกขี้หนู เข้าด้วยก็ได้.ไก่สามอย่าง น. เครื่องกินแกล้มเหล้า มีกุ้งแห้ง ถั่วลิสง และตะไคร้ เป็นหลัก อาจเพิ่ม ขิงหัวหอม หรือพริกขี้หนู เข้าด้วยก็ได้.
ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-นอ-หนู-งอ-งู-สะ-หระ-อู งอ-งู-สะ-หระ-อู-สะ-หระ-เอ-หอ-หีบ-ไม้-ไต่-คู้-นอ-หนู-นอ-หนู-มอ-ม้า-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน.ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ (สำ) ว. ต่างฝ่ายต่างรู้ความลับของกันและกัน.
ไก่โห่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-โอ-หอ-หีบ-ไม้-เอก ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำนาม หมายถึง เวลารุ่งสาง, ก่อนเวลา, เช่นพูดว่า มาตั้งแต่ไก่โห่.ไก่โห่ (ปาก) น. เวลารุ่งสาง, ก่อนเวลา, เช่นพูดว่า มาตั้งแต่ไก่โห่.
ไก่อ่อน, ไก่อ่อนสอนขัน ไก่อ่อน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู ไก่อ่อนสอนขัน เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-ไม้-เอก-ออ-อ่าง-นอ-หนู-สอ-เสือ-ออ-อ่าง-นอ-หนู-ขอ-ไข่-ไม้-หัน-อา-กาด-นอ-หนู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำนาม หมายถึง ผู้มีประสบการณ์น้อยยังไม่รู้ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน.ไก่อ่อน, ไก่อ่อนสอนขัน (สำ) น. ผู้มีประสบการณ์น้อยยังไม่รู้ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน.
ไก้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-โท ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง กระจง. ในวงเล็บ ดู กระจง เขียนว่า กอ-ไก่-รอ-เรือ-สะ-หระ-อะ-จอ-จาน-งอ-งู.ไก้ (ถิ่น–พายัพ) น. กระจง. (ดู กระจง).
ไก๊ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-ตรี ความหมายที่ เป็นคำนาม หมายถึง ปีกุน. (ไทยเหนือ).ไก๊ ๑ น. ปีกุน. (ไทยเหนือ).
ไก๊ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-ตรี ความหมายที่ ดู ตะเคียนเผือก เขียนว่า ตอ-เต่า-สะ-หระ-อะ-สะ-หระ-เอ-คอ-ควาย-สะ-หระ-อี-ยอ-ยัก-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ผอ-ผึ้ง-สะ-หระ-อือ-ออ-อ่าง-กอ-ไก่.ไก๊ ๒ ดู ตะเคียนเผือก.
ไก๋ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไถลทําเป็นไม่รู้.ไก๋ ๑ (ปาก) ว. ไถลทําเป็นไม่รู้.
ไก๋ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา ความหมายที่ ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Ternstroemia gymnanthera Bedd. ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามป่าโปร่งและป่าเขาสูง ดอกคล้ายสารภีป่า ผลสีแดง เปลือกมีนํ้าเมือกเหนียว ๆ ใช้ผสมปูนโบก, ไก๋แดง ก็เรียก.ไก๋ ๒ (ถิ่น–พายัพ) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางชนิด Ternstroemia gymnanthera Bedd. ในวงศ์ Theaceae ขึ้นตามป่าโปร่งและป่าเขาสูง ดอกคล้ายสารภีป่า ผลสีแดง เปลือกมีนํ้าเมือกเหนียว ๆ ใช้ผสมปูนโบก, ไก๋แดง ก็เรียก.
ไก่กอม เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-กอ-ไก่-ออ-อ่าง-มอ-ม้า ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาถิ่นภาคพายัพ เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดกลาง ๒ ชนิด ในสกุล Ehretia วงศ์ Ehretiaceae คือ ชนิด E. acuminata R. Br. ขอบใบจักถี่ ผลกลมเล็ก กินได้และชนิด E. timorensis Decne. ดอกเล็กมาก สีขาว ออกเป็นช่อแยกแขนง มีกลิ่นหอม.ไก่กอม (ถิ่น–พายัพ) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลาง ๒ ชนิด ในสกุล Ehretia วงศ์ Ehretiaceae คือ ชนิด E. acuminata R. Br. ขอบใบจักถี่ ผลกลมเล็ก กินได้และชนิด E. timorensis Decne. ดอกเล็กมาก สีขาว ออกเป็นช่อแยกแขนง มีกลิ่นหอม.
ไก๋แดง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา-สะ-หระ-แอ-ดอ-เด็ก-งอ-งูดู ไก๋ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-จัด-ตะ-วา ความหมายที่ ๒.ไก๋แดง ดู ไก๋ ๒.
ไก่เตี้ย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-ตอ-เต่า-สะ-หระ-อี-ไม้-โท-ยอ-ยัก เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้เถาชนิด Canavalia maritima (Aubl.) Thouars ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามหาดทรายชายทะเล ดอกสีชมพู ขาว หรือ ม่วง, กําพร้า หรือ ถั่วคร้า ก็เรียก.ไก่เตี้ย น. ชื่อไม้เถาชนิด Canavalia maritima (Aubl.) Thouars ในวงศ์ Leguminosae ขึ้นตามหาดทรายชายทะเล ดอกสีชมพู ขาว หรือ ม่วง, กําพร้า หรือ ถั่วคร้า ก็เรียก.
ไก่นา เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-นอ-หนู-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกคุ่มสีชนิด Coturnix chinensis และนกหลายชนิดในวงศ์ Rallidae เช่น กวัก (Amaurornis phoenicurus) อีลํ้า (Gallinula chloropus) อีโก้ง (Porphyrio porphyrio). ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นภาษาปาก เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง โง่, เซ่อ.ไก่นา น. ชื่อนกคุ่มสีชนิด Coturnix chinensis และนกหลายชนิดในวงศ์ Rallidae เช่น กวัก (Amaurornis phoenicurus) อีลํ้า (Gallinula chloropus) อีโก้ง (Porphyrio porphyrio). (ปาก) ว. โง่, เซ่อ.
ไกพัล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-พอ-พาน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง[ไกพัน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ไกวัล, ชั้นสวรรค์, เช่น ขอพรพระบาทเจ้า ไกพัล ตรีเนตรสังหารสวรรค์ ใฝ่ให้. ในวงเล็บ มาจาก โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์ พระศรีมโหสถ แต่ง ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๔๖๘.ไกพัล [ไกพัน] (กลอน) น. ไกวัล, ชั้นสวรรค์, เช่น ขอพรพระบาทเจ้า ไกพัล ตรีเนตรสังหารสวรรค์ ใฝ่ให้. (เฉลิมพระเกียรติพระนารายณ์).
ไก่ฟ้า เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อนกขนาดกลางในวงศ์ Phasianidae ตัวโตขนาดไก่บ้าน ขาและปากแข็งแรงมาก ตัวผู้มีหางยาว สีสันสวยงามกว่าตัวเมีย บินเก่งแต่ในระยะทางสั้น ๆ ทํารังบนพื้นดิน กินเมล็ดพืช ผลไม้สุก และแมลง มีหลายชนิด เช่น ไก่ฟ้าหลังขาว (Lophura nycthemera) พญาลอ หรือ ไก่ฟ้าพญาลอ (L. diardi).ไก่ฟ้า น. ชื่อนกขนาดกลางในวงศ์ Phasianidae ตัวโตขนาดไก่บ้าน ขาและปากแข็งแรงมาก ตัวผู้มีหางยาว สีสันสวยงามกว่าตัวเมีย บินเก่งแต่ในระยะทางสั้น ๆ ทํารังบนพื้นดิน กินเมล็ดพืช ผลไม้สุก และแมลง มีหลายชนิด เช่น ไก่ฟ้าหลังขาว (Lophura nycthemera) พญาลอ หรือ ไก่ฟ้าพญาลอ (L. diardi).
ไก่ฟ้าพญาลอ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-ฟอ-ฟัน-ไม้-โท-สะ-หระ-อา-พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่างดู พญาลอ เขียนว่า พอ-พาน-ยอ-หยิง-สะ-หระ-อา-ลอ-ลิง-ออ-อ่าง.ไก่ฟ้าพญาลอ ดู พญาลอ.
ไกร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [ไกฺร] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae ลักษณะคล้ายต้นไทร มี ๒ ชนิด คือ ชนิด F. concinna Miq. เปลือกสีเทาค่อนข้างเรียบ ใบเล็ก ช่อดอกรูปคล้ายผล ออกเป็นคู่ตามง่ามใบ ผลสีชมพู มีกระสีจาง ๆ, ไฮฮี ก็เรียก และชนิด F. superba Miq. เปลือกสีเทาเรียบ ใบใหญ่ ช่อดอกคล้ายชนิดแรก ผลสีชมพู, ไทรเลียบ ก็เรียก.ไกร ๑ [ไกฺร] น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae ลักษณะคล้ายต้นไทร มี ๒ ชนิด คือ ชนิด F. concinna Miq. เปลือกสีเทาค่อนข้างเรียบ ใบเล็ก ช่อดอกรูปคล้ายผล ออกเป็นคู่ตามง่ามใบ ผลสีชมพู มีกระสีจาง ๆ, ไฮฮี ก็เรียก และชนิด F. superba Miq. เปลือกสีเทาเรียบ ใบใหญ่ ช่อดอกคล้ายชนิดแรก ผลสีชมพู, ไทรเลียบ ก็เรียก.
ไกร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ ความหมายที่ [ไกฺร] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ยิ่ง เช่น เหนหาญหื่นแหลมหลัก ไกรกว่า ตนนา. ในวงเล็บ มาจาก ลิลิตยวนพ่าย ฉบับโรงพิมพ์ ไท พ.ศ. ๒๔๖๐, ใหญ่, มาก, เกิน; กล้า, เก่ง.ไกร ๒ [ไกฺร] ว. ยิ่ง เช่น เหนหาญหื่นแหลมหลัก ไกรกว่า ตนนา. (ยวนพ่าย), ใหญ่, มาก, เกิน; กล้า, เก่ง.
ไกรพ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-พอ-พาน[–รบ] เป็นคำนาม หมายถึง บัวสาย เช่น ไกรพแกมสโรช. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไกรว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-วอ-แหวน.ไกรพ [–รบ] น. บัวสาย เช่น ไกรพแกมสโรช. (ม. คำหลวง มัทรี). (ส. ไกรว).
ไกรลาส, ไกลาส ไกรลาส เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ ไกลาส เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ [ไกฺรลาด, ไกลาด] เป็นคำนาม หมายถึง ชื่อภูเขาในเทือกเขาหิมาลัย เชื่อว่าเป็นที่สถิตของพระอิศวรในศาสนาพราหมณ์. เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง สีขาวเหมือนเงินยวง. ในวงเล็บ มาจากภาษาสันสกฤต ไกลาส เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อา-สอ-เสือ.ไกรลาส, ไกลาส [ไกฺรลาด, ไกลาด] น. ชื่อภูเขาในเทือกเขาหิมาลัย เชื่อว่าเป็นที่สถิตของพระอิศวรในศาสนาพราหมณ์. ว. สีขาวเหมือนเงินยวง. (ส. ไกลาส).
ไกรศร, ไกรสร ไกรศร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ ไกรสร เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ [ไกฺรสอน] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง สิงโต เช่น เสือคร่งเสือแผ้วเอนกาไลยไกรสรสีหส่งเสียงแขง. ในวงเล็บ มาจาก มหาเวสสันดรชาดก ในวงเล็บ แบบเรียน กัณฑ์มหาพน. (แผลงมาจาก เกสรี).ไกรศร, ไกรสร [ไกฺรสอน] (กลอน) น. สิงโต เช่น เสือคร่งเสือแผ้วเอนกาไลยไกรสรสีหส่งเสียงแขง. (ม. ร่ายยาว มหาพน). (แผลงมาจาก เกสรี).
ไกรศรี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ความหมายที่ [ไกฺรสี] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ผู้ยิ่งด้วยสิริ. (ไกร + ศรี).ไกรศรี ๑ [ไกฺรสี] ว. ผู้ยิ่งด้วยสิริ. (ไกร + ศรี).
ไกรศรี ๒, ไกรสรี ไกรศรี ความหมายที่ ๒ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-สา-ลา-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี ไกรสรี เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-รอ-เรือ-สะ-หระ-อี [ไกฺรสี] ในวงเล็บ เป็นคำที่ใช้เฉพาะในหนังสือ ไม่ใช่คำพูดทั่วไป เป็นคำนาม หมายถึง สิงโต. (แผลงมาจาก เกสรี).ไกรศรี ๒, ไกรสรี [ไกฺรสี] (แบบ) น. สิงโต. (แผลงมาจาก เกสรี).
ไกรสิทธิ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-รอ-เรือ-สอ-เสือ-สะ-หระ-อิ-ทอ-ทะ-หาน-ทอ-ทง-สะ-หระ-อิ[ไกฺรสิด] ในวงเล็บ เป็นคำโบราณ และเป็นคำที่ใช้ในบทร้อยกรอง เป็นคำนาม หมายถึง ราชสีห์ เช่น สูจงนฤมิตรเป็นราชไกรสิทธิ. ในวงเล็บ มาจาก มหาชาติคำหลวง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๐ กัณฑ์มัทรี.ไกรสิทธิ [ไกฺรสิด] (โบ; กลอน) น. ราชสีห์ เช่น สูจงนฤมิตรเป็นราชไกรสิทธิ. (ม. คำหลวง มัทรี).
ไกล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง[ไกฺล] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ห่าง, ยืดยาว, นาน.ไกล [ไกฺล] ว. ห่าง, ยืดยาว, นาน.
ไกลปืนเที่ยง เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ปอ-ปลา-สะ-หระ-อือ-นอ-หนู-สะ-หระ-เอ-ทอ-ทะ-หาน-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก-งอ-งู ในวงเล็บ เป็นคำที่เป็นสำนวน เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ไม่รู้อะไรเพราะอยู่ห่างไกลความเจริญ.ไกลปืนเที่ยง (สำ) ว. ไม่รู้อะไรเพราะอยู่ห่างไกลความเจริญ.
ไกล่ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก[ไกฺล่] เป็นคำกริยา หมายถึง ทา, ไล้.ไกล่ [ไกฺล่] ก. ทา, ไล้.
ไกล่เกลี่ย เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-ไม้-เอก-สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-ลอ-ลิง-สะ-หระ-อี-ไม้-เอก-ยอ-ยัก เป็นคำกริยา หมายถึง พูดจาให้ปรองดองกัน, พูดจาให้ตกลงกัน; ลูบไล้; ทําให้เรียบร้อย, ทําให้มีส่วนเสมอกัน, เกลี่ยไกล่ ก็ว่า.ไกล่เกลี่ย ก. พูดจาให้ปรองดองกัน, พูดจาให้ตกลงกัน; ลูบไล้; ทําให้เรียบร้อย, ทําให้มีส่วนเสมอกัน, เกลี่ยไกล่ ก็ว่า.
ไกว เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-วอ-แหวน[ไกฺว] เป็นคำกริยา หมายถึง ทําสิ่งที่ห้อยอยู่ให้แกว่งไปมา.ไกว [ไกฺว] ก. ทําสิ่งที่ห้อยอยู่ให้แกว่งไปมา.
ไกวัล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง ความหมายที่ [ไกวัน] เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ทั่วไป. ในวงเล็บ มาจากภาษาบาลี และมาจากภาษาสันสกฤต เกวล เขียนว่า สะ-หระ-เอ-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ลอ-ลิง.ไกวัล ๑ [ไกวัน] ว. ทั่วไป. (ป., ส. เกวล).
ไกวัล เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-วอ-แหวน-ไม้-หัน-อา-กาด-ลอ-ลิง ความหมายที่ [ไกวัน] เป็นคำนาม หมายถึง ชั้นสวรรค์ เช่น พิราลัยก็ไคลยังนภมน– ทิรทิพยไกวัล. ในวงเล็บ มาจาก สมุทรโฆษคำฉันท์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พ.ศ. ๒๔๖๘.ไกวัล ๒ [ไกวัน] น. ชั้นสวรรค์ เช่น พิราลัยก็ไคลยังนภมน– ทิรทิพยไกวัล. (สมุทรโฆษ).
ไก่ไห้ เขียนว่า สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-กอ-ไก่-ไม้-เอก-สะ-หระ-ไอ-ไม้-มะ-ลาย-หอ-หีบ-ไม้-โท เป็นคำนาม หมายถึง (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Capparis flavicans Kurz ในวงศ์ Capparidaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณทั่วไป ลําต้นมีหนาม, กะอิด ตะลุ่มอิด งวงช้าง หรือ งัวเลีย ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Opuntia ficusindica (L.) Miller ในวงศ์ Cactaceae กิ่งแบนอวบ สีเขียว ไม่มีหนาม เป็นไม้ต่างประเทศ ปลูกกันเป็นไม้ประดับ, ว่านไก่ไห้ ก็เรียก.ไก่ไห้ น. (๑) ชื่อไม้พุ่มชนิด Capparis flavicans Kurz ในวงศ์ Capparidaceae ขึ้นในป่าเบญจพรรณทั่วไป ลําต้นมีหนาม, กะอิด ตะลุ่มอิด งวงช้าง หรือ งัวเลีย ก็เรียก. (๒) ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Opuntia ficusindica (L.) Miller ในวงศ์ Cactaceae กิ่งแบนอวบ สีเขียว ไม่มีหนาม เป็นไม้ต่างประเทศ ปลูกกันเป็นไม้ประดับ, ว่านไก่ไห้ ก็เรียก.